คําขึ้นต้น เรียน ใช้กับใคร

มนุษย์ติดโซเชียล พร้อมพาส่องหนุ่มหล่อสาวสวยมากความสามารถ ชอบอัปเดตเทรนด์ของโลก มีอะไรปังๆ ดังๆ ก็ไม่พลาดเอามาเล่าให้เพื่อนๆ ได้อ่านกัน

รายการโหนกระแส เป็นที่พูดถึงอยู่หลายประเด็นเมื่อวานนี้ หนึ่งในนั้นคือ นายสนธิญา มักจะพูดคำว่า "กราบเรียน" อยู่บ่อยครั้ง จน หนุ่ม กรรชัย ต้องเอ่ยปากว่า "กราบเรียนจนผมจะเป็นพระอยู่แล้ว"

����Ѻ����þ����� ���ҹ �� ��м� �ԩѹ� �����ǡѺ�����Ѻ����ԡ��ʧ�� ͹�� ����� �Ͼ�ϔ ���������º��˹�������˹ѧ����Ҫ���

������ҧ��ŧ����

�����¹��ǹŧ���¤���繻���¤���� ��������������Ӥѭ�������ǹ����ա �����ҷ���������������ǹ������ ��ǹŧ���¤���繡����ػ ����� ���͢ͺ�س������ó� ��駹�� �е�ͧ�ç�Ѻ �����ͧ� �ѧ������ҧ

ว่าก็ว่า เราก็พบเห็นและได้ยินคำว่า “กราบเรียน” อยู่เนื่องๆ ไม่ว่าจะเป็นการประชุม พิธีการเปิดงาน หรือการกล่าวปราศรัยรณรงค์หาเสียงของนักการเมือง ซึ่งผู้กล่าวอาจมองว่าเป็นเรื่องของการให้เกียรติแก่คนที่กล่าวถึง หรืออาจเป็นเพราะพูดชินจนติดปาก

เมื่อไม่กี่วันคำว่า “กราบเรียน” ได้ถูกหยิบยกมาพูดคุยจนเป็นกระแสทางโลกโซเซียล อันเนื่องจากรายการดังรายการหนึ่งของโทรทัศน์ช่องหนึ่งเชิญนักการเมืองท่านหนึ่งมาพูดคุย และท่านนั้นพูดคำว่า “กราบเรียน” “กราบเรียนในเบื้องต้น”  “กราบเรียนอีกครั้งหนึ่ง” บ่อยมากระหว่างการสนทนากัน

ซึ่งหากมองในมิติของการพูดคุยสนทนาทั้งทางการ กึ่งทางการ หรือไม่เป็นทางการ ก็คงไม่ผิดอะไรมาก การสมควรหรือไม่สมควร ถูกหรือไม่ถูก ก็ขึ้นกับเหตุผลและมุมมอง

แต่ถ้าหากเป็นราชการ “กราบเรียน” มีแนวปฏิบัติ โอกาสการใช้ ใช้กับใครบ้าง เป็นเรื่องที่ควรนำเล่าในโอกาสนี้น่าจะเกิดความสนใจและจดจำมากขึ้น

ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแก้ไขเพิ่มเติม “กราบเรียน” เป็นคำขึ้นต้นของหนังสือราชการ และคำที่ใช้ในการจ่าหน้าซองหนังสือราชการ โดยได้กำหนดไว้ที่ภาคผนวก 2 คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายในหนังสือราชการ และคำที่ใช้ในการจ่าหน้าซอง เช่น

เคยไหมคะ? ทุกครั้งที่ต้องเขียนอีเมล จะเจอกับปัญหาไม่รู้จะเขียนยังไงดี ซึ่งสามารถดูประโยคที่ใช้เขียนอีเมลได้ที่นี่ หรือ องค์ประกอบในการเขียนอีเมลที่ต้องรู้ได้ที่นี่ 

และอีกปัญหาที่พบบ่อยคือ การเลือกคำขึ้นต้นหรือลงท้ายประโยคไม่ถูก บางท่านอาจจะเลือกใส่คำที่ตัวเองคุ้นชิน และใช้เป็นประจำลงท้ายอีเมลอยู่เสมอ อย่างเช่นคำว่า Best regards แปลว่า ด้วยความเคารพ ซึ่งเป็นคำลงท้ายที่ค่อนข้างเป็นทางการมาก ๆ 

ถ้าหากใช้ Best regards ลงท้ายอีเมลที่เป็นทางการหรืองานธุรกิจ ก็ถือว่าโอเคเลยค่ะ แต่ในทางกลับกัน ถ้าลงท้ายในอีเมลไม่เป็นทางการ หรือส่งหาคนสนิท ก็จะดูแปลกและไม่เข้ากับสถานการณ์นั่นเองค่ะ

นอกจากคำลงท้ายประโยคที่ต้องใส่ใจแล้ว คำขึ้นต้นก็ละเลยไม่ได้เช่นเดียวกัน เพราะต้องเลือกให้เข้ากับคำลงท้าย และเข้ากับสถานการณ์ด้วยค่ะ เช่น

E-mail ทางการ

Dear Sir or Madam,
Best regards,

Dear Mr Smith,
Best Regards,

E-mail ไม่เป็นทางการ

Dear John,
Take care,

Hi Dan,
Love,

วันนี้ Globish จึงได้รวบรวมมาทั้งคำขึ้นต้นและคำลงท้าย E-mail มาให้ทุกท่านเลือกใช้ได้อย่างเหมาะสมค่ะ แต่ก่อนอื่นเลย เราไปแยกประเภทของอีเมลกันก่อน ว่าอันไหนเป็นอีเมลทางการและอีเมลไม่เป็นทางการค่ะ

E-mail ทางการ (Formal E-mail)

คือ อีเมลที่เราต้องการส่งให้คนที่เราไม่สนิท ไม่รู้จัก อย่างเช่น หัวหน้าหรือเป็นลูกค้าเรานั่นเองค่ะ ยกตัวอย่างเช่น

An email to a customer (อีเมลหาลูกค้า)

A job application (อีเมลสมัครงาน)

An email to your manager (อีเมลหาผู้จัดการ/หัวหน้า)

A complaint to a shop (อีเมลร้องเรียน)

An email from one company to another company (อีเมลติดต่อระหว่างบริษัท)

E-mail ไม่เป็นทางการ (Informal E-mail)

คือ อีเมลที่เราส่งให้คนสนิท หรือคนที่รู้จักกันระดับหนึ่ง เช่น เพื่อนสนิทหรือเพื่อนในที่ทำงาน ยกตัวอย่างเช่น

A birthday greeting to a colleague (อีเมลอวยพรวันเกิด)

A social invitation to a friend at your workplace (อีเมลเชิญไปงานเลี้ยง)

A congratulations email (อีเมลแสดงความยินดี)

คำขึ้นต้นและใช้ลงท้าย E-mail ทางการ (Formal E-mail)

คำขึ้นต้น

Dear Sir or Madam (ใช้กับบริษัท)
Dear Sir (ใช้กับผู้ชายที่ไม่รู้จักชื่อ)
Dear Madam (ใช้กับผู้หญิงที่ไม่รู้จักชื่อ)
Dear Mr Smith (ใช้กับผู้ชายที่อยู่ในสถานะทั้งแต่งงานและยังไม่ได้แต่งงาน)
Dear Ms Smith (ใช้กับผู้หญิงที่อยู่ในสถานะทั้งแต่งงานและยังไม่ได้แต่งงาน)
Dear Mrs Smith (ใช้กับผู้หญิงที่อยู่ในสถานะแต่งงานแล้ว)
Dear Miss Smith (ใช้กับผู้หญิงที่อยู่ในสถานะยังไม่ได้แต่งงาน)

คำลงท้าย

Best
Best regards
Best wishes
Yours sincerely
Yours faithfully
Sincerely
Sincerely yours
Kind regards
Thank you
Warm wishes
Warm regards
With gratitude
Many thanks
Respectfully

คำที่คนส่วนใหญ่มักเลือกใช้ลงท้ายอีเมลคือคำว่า Best regards แปลว่า ด้วยความเคารพ แต่ถ้าใช้บ่อย ๆ อาจจะดูน่าเบื่อ และจำเจ ถ้าหากใครถนัดใช้ Best regards อยู่แล้ว อาจลองเปลี่ยนไปใช้คำอื่นดูบ้าง ก็เป็นความคิดที่ดี และได้เพิ่มคลังคำศัพท์ด้วยค่ะ 

ตัวอย่างการขึ้นต้นและลงท้าย E-mail ทางการ

1. Dear Mr Jang,

Please can you tell me what your bank charges for money transfers? I would like to transfer to Japan.

Best regards,

Jane Kim

2. Dear Mrs Liang

Thank you for your enquiry. I am attaching a suggested itinerary for a two-week holiday in Vietnam.

Kind regards,

Jim Smith

3. Dear Sir or Madam

We sent the above order for orange juice to you on 5 October, but we have still not had a delivery. Please can you tell us when you can deliver the juice?

Yours faithfully,

Kim Choi

4. Dear Jane Kim,

We sell three kinds of water heaters. The prices are 56,000 Baht (150 litres), 61,250 Baht (200 litres) and 66,500 Baht (250 litres). I enclose some brochures. 

I look forward to receiving your order.

Best regards,

Nutrada Suksun

Sales Department

คำขึ้นต้นและใช้ลงท้าย E-mail ไม่เป็นทางการ (Informal E-mail)

คำขึ้นต้น

Dear Jane
Hi Jane
Hi there Jane
Hello Jane
Hey Jane
Morning Jane
Afternoon Jane
Evening Jane
Hello again Jane
Hi everyone (สำหรับส่งอีเมลหาคนหลายคนในครั้งเดียว)

คำลงท้าย

Best wishes
Cheers
Peace
Thanks a bunch
Thanks
Chat soon
Yours truly
Love
All the best
Lots of Love
God Bless
Blessing
Take care

ตัวอย่างการขึ้นต้นและลงท้าย E-mail ทางการ

1. Dear Pim,

Thank you for your call today. I am sorry that I was not in the office when you rang, but here is the information that you wanted. The address of our branch in Singapore is 54 Liu Fang Road, Jurong Town, Singapore 2262. The manager is Mr S. Rushford.

Please feel free to contact me if you need any information about other branches.

Take care, 

John

2. Dear Jane,

How are you? Hope you are doing well. I am also good here.

I am writing this letter to invite you for my birthday party which will be celebrated on 30th October 2021. The party will be held in my house. The theme of the party is The Great Gatsby. It will begin at 6 PM in the evening.

We have not seen each other for a long time. So, I will be really happy if you can attend my party. Waiting to meet you soon.

Lots of Love,

Penny

ข้อระวังที่ไม่ควรพลาด

1) Mr / Mrs / Ms ใช้กับนามสกุลเท่านั้น เช่น

ลูกค้าชื่อ Jennifer Jang

❌ Dear Mrs Jennifer, 

✅ Dear Mrs Jang,

2) ถ้าไม่แน่ใจว่าควรใช้คำนำหน้าชื่ออันไหน ให้ใช้ชื่อ นามสกุลแทน เช่น

Dear Jennifer Jang,

3) ใช้ Ms. เรียกคนที่คุณไม่แน่ใจว่าเขาต้องการให้ใช้คำนำหน้าชื่อ Miss หรือ Mrs. 

4) อย่าลืมใส่ (,) ทุกครั้ง ทั้งคำขึ้นต้นและคำลงท้าย เช่น 

Dear Sir or Madam,

Dear Mr Smith,

Your faithfully,

Best regards,

Hi Jane,

Take care,

สรุปคำขึ้นต้นและคำลงท้าย Email

คําขึ้นต้น เรียน ใช้กับใคร

อย่าลืมนำคำขึ้นต้นและคำลงท้ายเหล่าน้ีไปใช้ให้เข้ากับสถานการณ์นะคะ เพราะการใช้ภาษาอังกฤษอย่างถูกต้องจะทำให้คุณดูเป็นมืออาชีพค่ะ

ขอบคุณข้อมูลจาก:

เว็ปไซต์ Indeed Career Guide

เว็ปไซต์ AplusTopper

เรียนภาษาอังกฤษเพิ่มความโปร พูดโฟลว์ได้อย่างมั่นใจ ได้ที่ Globish คอร์สเรียนภาษาอังกฤษที่ดีที่สุดสำหรับวัยทำงาน พิสูจน์แล้วจากผู้เรียนกว่า 10,000 คน

คำว่ากราบเรียนใช้กับบุคคลใดบ้าง

คำขึ้นต้น คำลงท้าย จดหมายราชการ หนังสือถึง ประธานองคมนตรี นายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา ประธานศาลฎีกา และรัฐบุรุษ ให้ขึ้นต้นด้วย กราบเรียน ลงท้ายด้วย ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง หนังสือถึง บุคคลธรรมดา ให้ขึ้นต้นด้วย เรียน ลงท้ายด้วย ขอแสดงความนับถือ หนังสือถึงพระภิกษุ ผู้รับหนังสือ

หนังสือราชการถึงพระสงฆ์ใช้คําขึ้นต้นอย่างไร

ขอนมัสการด้วยความเคารพ อย่างยิ่ง ขอนมัสการด้วยความเคารพ อย่างสูง ขอนมัสการด้วยความเคารพ ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง ขอแสดงความนับถือ ทูล ( ระบุพระนาม ) ทูล ( ระบุพระนาม )

คําขึ้นต้นและลงท้ายข้อใดถูกต้องเมื่อต้องเขียนจดหมาย เรียนเชิญพระสงฆ์มาเป็นวิทยากร

พระสงฆ์ คำขึ้นต้น นมัสการ คำลงท้าย นมัสการด้วยความเคารพอย่างสูง

กราบเรียนกับเรียนใช้ต่างกันอย่างไร

(๑) คำขึ้นต้น ให้กล่าวตำแหน่งของประธานในพิธีคนเดียวเท่านั้น โดยทั่วไป จะใช้คำขึ้นต้นว่า “เรียน” ตามด้วยตำแหน่งของประธานในพิธี เช่น เรียน อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ และในภาษาเขียน จะไม่ใช่คำว่า ท่านอธิการบดี... ซึ่งเป็นภาษาพูด ยกเว้น ๑๔ ตำแหน่งต่อไปนี้จะใช้คำขึ้นต้นว่า “กราบเรียน” คือ ประธานองคมนตรี ...