Responsiveness” เป็นขั้นใดในการฟังอย่างมีประสิทธิภาพ

          องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนจะต้องเชื่อมโยงและบูรณาการอย่างสมดุล การจัดการความรู้ของกรมการปกครองจากพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 กำหนดให้องค์การรัฐทุกภาคส่วนมีหน้าที่พัฒนาความรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของบุคลากรในสังกัดให้มีประสิทธิภาพ มีการเรียนรู้ร่วมกัน และเพื่อให้เป้าหมายบรรลุผล ควรจัดให้มีกิจกรรมกระบวนการจัดการความรู้ (KM Process) และกิจกรรมกระบวนการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process) ควบคู่กันไป เพื่อให้องค์การเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการเรียนรู้ที่ยั่งยืนต่อไป

����Է���Ҿ�ͧ����������

  • 㹡�кǹ���������è��ջ���Է���Ҿ�ҡ���͹��¢������Ѻ�����Ѻ���ͧ�������觨е�ͧ����ѹ���駡������� ���������Тͧ�������ѧ����Ѻ
  • �¼���Ѻ���Ѻ��ü�ҹ�����Ѻ�ҧ��ҧ��·�� 5 ��ͧ�ҧ ����ջ���Է���Ҿ㹡���Ѻᵡ��ҧ�ѹ�ѧ���
  1. �ҧ���Ѻ�� � � � � � � � �75%
  2. �ҧ�� �Ѻ�� � � � � � � � � 13%
  3. �ҧ��������� �Ѻ�� � �6%
  4. �ҧ��١ �Ѻ�� � � � � � � 3%
  5. �ҧ��� �Ѻ�� � � � � � � � 3%

���ѹ� 6��������������㹡�ÿѧ������¡��� LADDER���Сͺ仴���

  • L : Look at the other person � � � � � ���¶֧���������ʹ㨤������ѧ�ٴ �����ͧ���ʹ�������
  • A : Ask questions � � � � � � � � � � � � � ���¶֧��ö���Ӷ��
  • D : Don't interrupt � � � � � � � � � � � � � ���¶֧ ���Ҿٴ�ʹ�á㹢�з����ٴ�ѧ�ٴ��診
  • D : Don't change the subject/topic � ���¶֧ ��������¹����ͧ�ٴ ��������¹��Ǣ�͡��ʹ���
  • E : �Emotion � � � � � � � � � � � � � � � � � � ���¶֧ ��Ǩ�ͺ��ФǺ�����������������ҧ��ä�ͧ����ͧ
  • R : �Responsiveness � � � � � � � � � � � � ���¶֧ �ѧ���ҧ���ҡ�õͺʹͧ

-������������Ū� ����Է�����������˧



Responsiveness” เป็นขั้นใดในการฟังอย่างมีประสิทธิภาพ

หลักที่ 8 การตอบสนอง (Responsiveness)

           หลักการตอบสนองหมายถึง การให้บริการกับประชาชนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้กับส่วนเสียในระยะเวลาที่กำหนด การสร้างความเชื่อมั่น ความไว้วางใจ สามารถตอบสนองต่อความขัดแย้งหรือความต้องการของผู้รับบริการที่มีความหลากหลายและความแตกต่างกัน

หรือความหมายสั้นๆ ตามที่ ESCAP : T

ESCAP = Economic and Social Commission For Asia and The Paoific

ESCAP  ให้ความหมาย หลักการตอบสนองว่า คือ การตอบสนองความต้องการของประชาชน

การดำเนินแผนงานหรือโดยการภายใต้ธรรมาภิบาลตามหลักการตอบสนอง คือ ต้องสามารถรับทราบ และสามารถแก้ปัญหาของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใต้กรอบเวลาที่สมเหตุสมผล และเป็นไปตามแนวทางที่ตกลงกัน

หลักการตอบสนอง (Responsiveness) 

1. การรับรู้ความคาดหวังหรือความต้องการของประชาชนผู้รับบริการและและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

2. การตอบสนองการให้บริการ และการแก้ไขข้อร้องเรียน

3. การจัดให้มีช่องทางเครือข่ายการให้บริการที่มีความครบถ้วนและมีประสิทธิผล

4. ระบบการจัดการข้อร้องเรียนที่มีประสิทธิผล

- การกำหนดกลยุทธ์และนโยบายของรัฐ นั้นเป็นไปเพื่อเสนอต่อความต้องการของประชาชนและก่อให้เกิดต่อประชาชนด้วย

- สื่อสาธารณะทุกคนมีหน้าที่ติดตาม ตรวจสอบนโยบาย และการดำเนินโครงการต่างๆของรัฐว่าดำเนินไปเพื่อให้เกิดประโยชน์จากประชาชนแค่ไหน อย่างไร

การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น เป็นแนวคิดที่ช่วยในการตอบสนองประชาชนเป็นไปอย่างกว้างขวางและคนอื่น จะต้องเปิดโอกาสให้ประชาชน ติดต่อกับผู้บริหาร หัวหน้างาน ปฏิบัติงานได้เสมอ

และที่สำคัญ ต้องวางแนวความคิดทางการจัดการแบบประชาธิปไตย ที่ให้อธิการและตอบสนองอย่างเสมอภาค ไม่ละทิ้งคนกลุ่มน้อย หรือมีความคิดต่างด้วย

1. การตอบสนองความต้องการของประชาชนในระดับส่วนราชการ

ในระดับส่วนราชการนั้น ต้องกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริการประชาชน จากเครือข่ายสารสนเทศ เพื่ออำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร การรับฟังข้อคิดเห็น และการให้บริการข้อมูล กรณีมีการร้องเรียน การตอบสนองแก้ไขให้ลุล่วง หากได้รับการติดต่อสอบถามหรือจากประชาชน หรือจากส่วนราชการด้วยกันก็ต้องตอบข้อมูลที่ได้กำหนดระยะเวลาของงานที่ได้กำหนดเวลาไว้แล้ว หรือการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับ การปฏิบัติราชการโดยปกติให้ประชาชนได้รับทราบเพื่อสามารถตรวจสอบได้

เป็นหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาที่ต้องตรวจสอบให้ข้าราชการปฏิบัติงานให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ รวมทั้งดำเนินการประเมินผล ตรวจสอบ และติดตามผล

ขั้นตอนการบริหารการแก้ปัญหาข้อร้องเรียน

ส่งข้อร้องเรียนให้หัวหน้างานที่เกี่ยวข้อง

แก้ปัญหา สื่อสารให้ผู้ร้องเรียนเข้าใจ รายงานการแก้ไขปัญหาให้มหาวิทยาลัย

          ด้วยหลักการตอบสนองนี้ หลายประเทศจึงได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ เช่น การพัฒนาระบบ e – citlzen. เพื่อเป็นส่วนกลางในการบริการประชาชนทกเรื่อง Our Population , Our Future ในภาวะวิกฤต เช่น การเกิดน้ำท่วม ไฟไหม้ สึนามิ โรคระบาด ในภาวะวิกฤตนั้นประชาชนต้องพึ่งรัฐ

Government   Office/Local  Government

Certificute Validation Server Staff

                            Authentication                      Corporation

การตอบสนองต่อความต้องการอย่างเร่งด่วนจึงเป็นสิ่งที่สำคัญมากสำหรับประชาชน หลักการตอบสนองนี้ จึงมีความสำคัญและมีผลต่อประชาชนโดยตรง