การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์(projectile motion) เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยมีแนวการเคลื่อนที่เป็นแนวโค้ง

ตัวอย่าง : การเคลื่อนที่ของลูกธนู กระสุนปืนใหญ่ การเคลื่อนที่ของลูกเทนนิส การเคลื่อนที่ของลูกบอลที่ถูกเตะโด่งลักษณะทั่วไปของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์แนวการเคลื่อนที่เป็นวิถีโค้งพาราโบลา

การกระจัด มี 2 แนว เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน และเป็นอิสระต่อกัน ได้แก่ การกระจัดในแนวราบ 

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
 และการกระจัดในแนวดิ่ง
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัดในแนวราบและการกระจัดในแนวดิ่ง เป็นดังนี้

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

2.1 การกระจัดในแนวราบ เกิดจากการเคลื่อนที่ภายใต้ความเร็วคงที่ ดังนั้นเมื่อคิดในช่วงเวลาที่เท่าๆกัน จะมีการกระจัดเท่ากันเสมอ
2.2 การกระจัดในแนวดิ่ง เกิดจากการเคลื่อนที่ภายใต้ความเร่งคงที่ ดังนั้นเมื่อคิดในช่วงเวลาที่เท่าๆกัน จะมีการกระจัดเปลี่ยนไปเสมอความเร็ว มี 2 แนว เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน และเป็นอิสระต่อกัน ได้แก่ ความเร็วในแนวราบซึ่งมีค่าคงที่  และความเร็วในแนวดิ่งซึ่งมีค่าเปลี่ยนแปลง

ความเร่ง โพรเจกไทล์ขณะอยู่กลางอากาศ (ไม่คิดแรงต้านของอากาศ) แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุก็คือน้ำหนักของวัตถุเอง ดังนั้น จากกฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

นั่นคือ โพรเจกไทล์จะมีความเร่งคงที่ในแนวดิ่ง เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก เหมือนกับวัตถุที่ตกแบบเสรี ณ จุดสูงสุด ความเร็ว = 0
โปรเจกไทล์จะมีความเร็วเท่ากับความเร็วต้นในแนวแกน x เมื่อพิจารณาเวลาในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จะพบว่าเวลาของการเคลื่อนที่ในแนวราบและแนวดิ่งเท่ากัน

เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ จากจุดเริ่มต้นถึงจุดสูงสุดของแนวการเคลื่อนที่ เท่ากับเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่จากจุดสูงสุดถึงตำแหน่งระดับเดียวกับการเคลื่อนที่

เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ อาจจำแนกโพรเจกไทล์เป็น 3 แบบ คือ1. โพรเจกไทล์ที่มีความเร็วเริ่มต้นในแนวราบ (ไม่เป็นศูนย์) และความเร็วต้นในแนวดิ่งเป็นศูนย์ เช่น ก้อนหินที่ถูกปาไปในแนวขนานกับพื้น ลูกปิงปองที่กลิ้งตกจากโต๊ะ 2. โพรเจกไทล์ที่มีความเร็วต้นในแนวราบและความเร็วต้นในแนวดิ่งไม่เป็นศูนย์ โดยมีความเร็วต้นทำมุมกับแนวราบในทิศขึ้นหรือทิศลงก็ได้ เช่น ลูกขนไก่ที่ถูกตีขึ้นไปในอากาศ หรือลูกเหล็กที่ถูกปาลงจากบันไดชั้นบน 3. โพรเจกไทล์ที่มีความเร็วต้นในแนวราบและความเร็วต้นในแนวดิ่งไม่เป็นศูนย์เหมือนแบบที่ 2 แต่ตำแหน่งเริ่มต้นและตำแหน่งสุดท้ายอยู่ในระดับเดียวกัน เช่น ลูกบอลที่ถูกเตะขึ้นจากพื้นจะเคลื่อนที่ไปตกลงที่พื้นซึ่งอยู่ในระดับเดียวกัน

แนวพร้อมกัน คือ แนวระดับ และแนวดิ่ง ซึ่งพบว่า ความเร็วในแนวระดับ ไม่มีผลต่อการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง โดยจากการทดลองปล่อยวัตถุให้ตกอย่างอิสระ พร้อมกับวัตถุที่ถูกดีดออกไปในแนวระดับ พบว่า เมื่อใช้แรงมากวัตถุที่ถูกดีดจะตกไกล แต่ตกถึงพื้นพร้อมกับวัตถุที่ตกในแนวดิ่ง แสดงว่า การเคลื่อนที่ในแนวระดับไม่มีผลต่อการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง ดังนั้นเราจึงแยกพิจารณาการเคลื่อนที่ออกเป็น แนว คือ ในแนวดิ่ง และในแนวระดับ

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
        การเคลื่อนที่ในแนวระดับ
    พิจารณาการเคลื่อนที่ของวัตถุในอากาศ ขณะที่วัตถุลอยในอากาศ มีแรงกระทำต่อวัตถุเพียงแรงเดียว คือ แรงดึงดูดของโลก  
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
(ไม่คิดแรงต้านอากาศ) ในทิศเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก หรือในแนวดิ่ง ดังนั้น ในแนวระดับจึงไม่มีแรงกระทำต่อวัตถุ หรือแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุในแนวระดับเป็นศูนย์ 
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    จากกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน เราพบว่า เมื่อไม่มีแรงลัพธ์มากระทำต่อวัตถุ วัตถุจะรักษาสภาพการเคลื่อนที่ให้คงที่ ผลคือ วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ 

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    ดังนั้น การเคลื่อนที่ในแนวระดับของการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ สามารถหาการกระจัดในแนวระดับได้ตามสมการ

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

เมื่อ Sx =  การกระจัดในแนวระดับ  ( m )

    Ux =  ความเร็วในแนวระดับ  (m/s)

   t   =  ช่วงเวลาของการเคลื่อนที (s)

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
 

        การเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
            เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง พบว่า วัตถุมีแรงกระทำในแนวดิ่ง คือ แรงโน้มถ่วงของโลก

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
ดังนั้น วัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งด้วยความเร่ง ay ซึ่งมีค่าเท่ากับ
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
ความเร่งเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก

            ดังนั้น การเคลื่อนที่ของวัตถุแบบโปรเจกไทล์ในแนวดิ่ง เหมือนวัตถุที่ตกอย่างอิสระทุกประการ ซึ่งสมการการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวดิ่ง คือ

            ความเร็ว   

                     

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

                     

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

            การกระจัด

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

                    

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

              โดยที่           

                    

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
        สรุปการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์
1. วัตถุเคลื่อนที่อย่างอิสระ มีแรงดึงดูดของโลก 
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
 กระทำเพียงแรงเดียว

2. วัตถุต้องมีความเร็วต้นในแนวระดับ 

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
ส่วนในแนวดิ่ง
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
 จะมีหรือไม่ก็ได้ โดย ความเร็วในแนวระดับคงที่เสมอ

3. เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ในแนวระดับ เท่ากับ ในแนวดิ่ง

4. การพิจารณาปริมาณในแนวดิ่ง ปริมาณที่มีทิศตรงข้ามกับความเร็วต้น

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
 ให้มีเครื่องหมายติดลบ เช่น การขว้างวัตถุขึ้นในแนวดิ่ง พบว่า
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
   เป็นต้น

5. การคำนวณปริมาณต่างในการเคลื่อนที่ ใช้สมการการเคลื่อนที่เหมือนการเคลื่อนที่ในแนวตรง แต่แยกพิจารณาในแนวดิ่ง (ความเร็วคงที่) และในแนวระดับ (การตกอย่างอิสระ)

การเคลื่อนที่แบบวงกลม

    วัตถุที่เคลื่อนที่เป็นวงกลม บนระนาบใดๆ อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่งของวัตถุจะคงที่หรือไม่ก็ได้ แต่ความเร็วของวัตถุไม่คงที่แน่นอน เนื่องจากว่ามีการเปลี่ยนทิศาทางของการเคลื่อนที่ ตลอดเวลา ซึ่งเมื่อวัตถุที่มีการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่แสดงว่า วัตถุนี้ต้องมีองค์ประกอบของแรงมากระทำในทิศทางที่ตั้งฉากกับเส้นทางการเคลื่อนที่ด้วย และกรณีที่การเคลื่อนที่มีอัตราเร็วไม่คงที่ แสดงว่าต้องมีองค์ประกอบของแรงในทิศทางที่ขนานกับแนวการเคลื่อนที่ด้วย พิจารณา รูป

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
    การเคลื่อนที่แบบวงกลมจัดเป็นหนึ่งในการเคลื่อนที่แบบ มิติ ในการเคลื่อนที่เป็นวงกลมที่จะทำการศึกษานั้น ความเร็วของวัตถุที่เคลื่อนที่เป็นวงกลมจะมีค่าคงที่หรือเท่ากันตลอดการเคลื่อนที่เรียกการเคลื่อนที่วงกลมแบบนี้ว่า การเคลื่อนที่เป็นวงกลมสม่ำเสมอ (Uniform Circular Motion)

     การเคลื่อนที่เป็นวงกลม ลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุจะมี  แรงกระทำตั้งฉากกับเวกเตอร์ความเร็วเสมอตลอดการเคลื่อนที่ วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ในแนววงกลม แต่ยังคงมีความเร่งเกิดขึ้น ซึ่งความเร่งจะขึ้นกับการเปลี่ยนเวกเตอร์ความเร็ว ซึ่งเวกเตอร์ความเร็วจะมีทิศสัมผัสกับเส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุและมีทิศตั้งฉากกับแนวรัศมีวงกลม เรียกความเร่งชนิดนี้ว่า ความเร่งแนวสัมผัสวงกลม ( aT)  

    เวกเตอร์ความเร่งในการเคลื่อนที่แบบวงกลมจะมีทิศตั้งฉากกับเส้นทางการเคลื่อนที่ของวัตถุและมีทิศพุ่งเข้าสู่จุดศูนย์กลางวงกลมเสมอ เราเรียกความเร่งนี้ว่า ความเร่งสู่ศูนย์กลาง  (ac )


การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด


    คาบ (T)  คือ เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ หรือ วินาทีต่อรอบ (s)

    ความถี่  (f) คือ จำนวนรอบที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา หรือ รอบต่อวินาที  (Hz)

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    เมื่อวัตถุเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงที่ คาบ และความถี่จะมีค่าคงที่ โดยคาบและความถี่สัมพันธ์กันโดย

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

        อัตราเร็วเชิงเส้น (v)   คือ ระยะทางตามแนวเส้นรอบวงของวงกลมที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ( m/s)

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

        ความเร่งสู่ศูนย์กลาง  วัตถุที่เคลื่อนที่ เป็นวงกลมจะเกิดความเร่ง 2 แนว คือ ความเร็วแนวเส้นสัมผัสวงกลม และความเร่งแนวรัศมีหรือความเร่งสู่ศูนย์กลาง

        ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่ เช่น วงกลมในแนวระนาบจะเกิดความเร่งสู่ศูนย์กลางเพียงแนวเดียว

       

        การที่วัตถุมีอัตราเร็วเท่าเดิม แต่ทิศทางเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ย่อมหมายความว่า ต้องมีความเร็วอื่นมาเกี่ยวข้องด้วย ความเร็วที่มาเกี่ยวข้องนี้จะพิสูจน์ได้ว่า มีทิศทางเข้าสู่จุดศูนย์กลางของการเคลื่อนที่ และความเร็วนี้เมื่อเทียบกับเวลาจะเป็นความเร่งซึ่งมีค่า

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

        การหาแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบวงกลม 

            จากกฎการเคลื่อนที่ ข้อที่สองของนิวตัน และการเคลื่อนที่แบบวงกลม แรงลัพธ์ที่มากระทำต่อวัตถุกับความเร่งของวัตถุจะมีทิศทางเดียวกัน คือทิศพุ่งเข้าหาจุดศูนย์กลาง ซึ่งเขียนเป็นสมการได้ว่า

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

        อัตราเร็วเชิงมุม (Angular speed)       

           อัตราเร็วของวัตถุที่ เคลื่อนที่แบบวงกลมที่กล่าวมาแล้วนั้นคือความยาวของเส้นโค้งที่วัตถุเคลื่อน ที่ได้ในเวลา 1 วินาที ซึ่งเราอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อัตราเร็วเชิงเส้น (v)

           แต่ในที่นี้ยังมีอัตราเร็วอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งเป็นการบอกอัตราการเปลี่ยนแปลงของมุมที่จุดศูนย์กลาง เนื่องจากการกวาดไปของรัศมี ใน 1 วินาที เรียกว่า อัตราเร็วเชิงมุม (w) อ่านว่า โอเมก้า

           นิยามอัตราเชิงมุม (w) คือ มุมที่รัศมีกวาดไปได้ใน วินาทีมีหน่วยเป็น เรเดียน/วินาที

    การบอกมุมนอกจากจะมีหน่วยเป็นองศาแล้ว ยังอาจใช้หน่วยเป็นเรเดียน (radian) โดยมีนิยามว่า มุม 1 เรเดียน มีค่าเท่ากับมุมที่จุดศุนย์กลางของวงกลม ซึ่งมีเส้นโค้งรองรับมุมยาวเท่ากับรัศมี หรือกล่าวได้ว่ามุมในหน่วยเรเดียน คือ อัตราส่วนระหว่างส่วนเส้นโค้งที่รองรับมุมกับรัศมีของวงกลม

           ถ้า คือ ความยาวองส่วนโค้งที่รองรับมุม

           r   คือ รัศมีของส่วนโค้ง

          q  คือ มุมที่จุดศูนย์กลางเป็นเรเดียน

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

        ความสัมพันธ์ระหว่างมุมในหน่วยองศากับเรเดียน

           เมื่อพิจารณาวงกลม พบว่ามุมรอบจุดศูนย์กลางของวงกลมเท่ากับ 360 องศา โดยส่วนโค้งที่รองรับมุมก็คือเส้นรอบวงนั้นเอง

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    ดังนั้น สรุปได้ว่า มุม 360 องศา เทียบเท่ากับมุม 2p เรเดียน เมื่อพิจารณาวัตถุเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงที่ครบ รอบพอดี

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วเชิงเส้น (v) และอัตราเร็วเชิงมุม (w)

        การเคลื่อนที่ในแนวราบ

            ตัวอย่างการเกิดการเคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวราบ

            เชือกเบายาว ปลายข้างหนึ่งติดวัตถุมวล อีกปลายตรึงแน่นแกว่งให้วัตถุเคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวราบ รัศมี ด้วยอัตราเร็วคงที่ และเชื่อกทำมุม กับแนวระดับดังรูป

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    ขณะมวล เคลื่อนที่เป็นวงกลมในแนวราบ ได้รับแรงกระทำ 2 แรงคือ แรงตึงเชือกและน้ำหนังของวัตถุเมื่อแตกแรงต่าง ๆ แล้วจะได้

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    พิจารณาลูกกลมโลหะ ซึ่งเคลื่อนที่ตามรางเรียบรูปวงกลมในแนวดิ่ง   โดยเคลื่อนที่รอบด้านในของวงกลม เส้นทางการเคลื่อนที่ของ   ลูกกลมโลหะจะเป็นแนววงกลมในระนาบดิ่ง ทุก ๆ ตำแหน่งที่ลูกกลมโหละจะต้องมีแรงสู่ศูนย์กลาง เพื่อเปลี่ยนทิศทางความเร็วของลูกกลมโลหะ   ให้เคลื่อนที่เป็นวงกลม แรงสู่ศูนย์กลางนี้เกิดจากรางออกแรงดันลูกกลมโลหะ ซึ่งเป็นแรงปฏิกิริยาของรางที่โต้ตอบกับแรงที่ลูกกลมโลหะ ออกแรงดันราง และแรงสู่ศูนย์กลางบางช่วงจะมาจากแรงโน้มถ่วงที่กระทำต่อลูกกลมโลหะ

    ในกรณีลูกกลมโลหะมวล อยู่ ณ ตำแหน่งล่างสุดของรางที่มีรัศมีความโค้ง r  ให้แรงที่รางดันลูกกลมโลหะในแนวตั้งฉากกับผิวของรางเท่ากับ และแรงที่โลกดึงดูดลูกกลม คือ mg แรงลัพธ์ของแรงทั้งสองคือ แรงสู่ศูนย์กลาง

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    ถ้าลูกกลมอยู่ ณ ตำแหน่งสูงสุด จะได้

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

 

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

การเคลื่อนที่บนทางโค้ง      

          ขณะรถเลี้ยวโค้ง บนถนนโค้งราบ ซึ่งมีแนวทางการเคลื่อนที่ เป็นส่วนโค้งของวงกลมดังรูป ดังนั้นต้องมีแรงสู่ศูนย์กลางกระทำต่อวัตถุ

         เมื่อพิจารณาแรงกระทำต่อรถในแนวระดับพบว่าขณะรถเลี้ยว พยายามไถลออกจากโค้ง จึงมีแรงเสียดทาน ที่พื้นกระทำต่อล้อรถในทิศทาง พุ่งเข้าในแนวผ่านศูนย์กลางความโค้ง

        ดังนั้น แรงเสียดทาน = แรงสู่ศูนย์กลาง

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    ถ้ารถเลี้ยวด้วยอัตราเร็วสูงสุดได้ปลอดภัย

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    การหามุมเอียงของรถจักรยานยนต์ขณะเลี้ยว

          ขณะเลี้ยวรถแรงกระทำต่อ รถมี mg, N และ ซึ่งแรง และ รวมกันได้ เป็นแรงลัพธ์ R C.M. จะก่อให้เกิดโมเมนต์ ทำให้รถคว่ำขณะเลี้ยวดังรูป ถ้าไม่ต้องการให้รถคว่ำต้องเอียงรถ ให้จุดศูนย์กลางของมวล ผ่านแนวแรง ขณะเลี้ยว รถจึงเลี้ยวได้โดยปลอดภัยไม่พลิกคว่ำดังรูป

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

 

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    รูปแสดงแรงกระทำต่อรถจักรยานยนต์ขณะเลี้ยวบนถนนโค้งราบ  ถ้าเลี้ยวรถรถด้วยอัตราเร็วสูงสุด พบว่า

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    ไม่ว่ารถจักรยานยนต์เลี้ยวโค้งแล้วเอียงรถ หรือ รถจักรยานยนต์ เลี้ยวโค้งบนพื้นเอียงลื่น มุม ที่เกิดจากการเอียงของทั้งสองกรณีคือมุมเดียวกัน ใช้สูตรเดียวกันคือ

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย

        การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย(Simple Harmonic Motion : SHM) เป็นการเคลื่อนที่แบบเป็นคาบอย่างหนึ่ง คือ เคลื่อนที่กลับไปมาซ้ำทางเดิมโดยผ่านตำแหน่งสมดุล และมีคาบของการเคลื่อนที่คงตัว เช่น การเคลื่อนที่ของวัตถุติดปลายสปริง เป็นต้น

        ความถี่ (f) คือ จำนวนรอบของการเคลื่อนที่ใน 1 วินาที หน่วยเป็น เฮิรตซ์ (Hz)

        คาบ (T) คือ เวลในการเคลื่อนที่ครบ รอบ หน่วยเป็นวินาที (s)

    ความถี่และคาบมีความสัมพันธ์กันตามสมการ  

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    การกระจัด ในรูปฟังก์ชั่นของเวลา ของ SHM เขียนได้เป็น

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

 

    

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

เป็นการกระจัดสูงสุดหรือแอมพิจูด 

   

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

เป็นความถี่เชิงมุมมีค่าเท่ากับ      

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

หรือ  

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

  

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
   เป็นค่าคงตัวทางเฟสหมายถึงเฟสเริ่มต้น

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    จากรูป หากอนุภาคเริ่มเคลื่อนที่จากตำแหน่งสมดุล ( x = 0) ซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับกราฟของ

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

    จะได้สมการการเคลื่อนที่แบบ SHM รูปทั่วไปเป็น 

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด
 

    ลักษณะสำคัญประการหนึ่งของการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง่ายคือ การมีความเร่งแปรผันตรง กับการ กระจัด  แต่มีทิศตรงกันข้าม โดยทิศของความเร่งจะเป็นทิศเดียวกับเรง และแรงจะต้องเป็นแรงเข้าหาจุดสมดุลในณะที่การกระจัดมีทิศออกไปจากจุดสมดุล ดังสมการ

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ จุดสูงสุด

วัตถุติดปลายสปริง

    เมื่อทดลองวัตถุติดปลายสปริงเราจะพบว่าวัตถุมีการเคลื่อนที่ผ่านตำแหน่งสมดุลไปมา ถือเป็น การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายประเภทหนึ่งดังรูป

ที่จุดสูงสุดของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เป็นอย่างไร

จุดที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นไปได้เป็นระยะสูงที่สุดก่อนที่จะตกกลับลงมา เรียกว่า จุดสูงสุดของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ณ จุดนี้ องค์ประกอบของความเร็วในแนวดิ่ง นั้นคือ เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ไปถึงจุดสูงสุด จากการกระจัดที่สูงที่สุดของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์

มุมใดยิงได้ไกลสุด

ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เราพบว่ามุมที่ทำให้วัตถุตกในระยะไกลที่สุด มีค่าเท่ากับ 45 องศา ด้วยเหตุดังนี้ จากสมการ เนื่องจากวัตถุตกถึงพื้นแล้วทำให้การกระจัดในแนวดิ่ง จะได้

ทำไมมุม 45 องศา ถึงไปได้ไกลที่สุด

มุมที่ทำให้จรวดเคลื่อนที่ได้ไกลที่สุดคือ มุม 45 องศา โดยตามหลักการเคลื่อนที่วิถีโค้ง ( Projectile Motion ) มุมยิง 45 องศาจะได้ระยะไกลสุด จากการทดลองจะพบว่าปริมาณน้ำมีผลต่อการเคลื่อนที่ของจรวด เมื่อควบคุมแรงดันอากาศคงที่คือ 7 kg/cm3 จะพบว่าปริมาณน้ำน้อยหรือมากกว่า 600 cm3 จะเคลื่อนที่ได้ไม่ไกลและเมื่อความดันบรรยากาศจะ ...

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ มีอะไรบ้าง

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ เป็นการเคลื่อนที่ของวัตถุในอากาศที่มีแนวการเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้งถ้าไม่คิดแรงต้านของอากาศจะเป็นเส้นโค้งพาราโบลา เช่น การทุ่มน้ำหนัก การพุ่งแหลน การเคลื่อนที่ของสัมภาระที่ถูกปล่อยจากเครื่องบินที่กำลังบินตามแนวระดับอยู่ในอากาศ เป็นต้น