โครงงานเรื่อง วุ้น สมุนไพร

Facebook

邮箱或手机号 密码

忘记帐户?

注册

无法处理你的请求

此请求遇到了问题。我们会尽快将它修复。

  • 返回首页

  • 中文(简体)
  • English (US)
  • 日本語
  • 한국어
  • Français (France)
  • Bahasa Indonesia
  • Polski
  • Español
  • Português (Brasil)
  • Deutsch
  • Italiano

  • 注册
  • 登录
  • Messenger
  • Facebook Lite
  • Watch
  • 地点
  • 游戏
  • Marketplace
  • Meta Pay
  • Oculus
  • Portal
  • Instagram
  • Bulletin
  • 本地
  • 筹款活动
  • 服务
  • 选民信息中心
  • 小组
  • 关于
  • 创建广告
  • 创建公共主页
  • 开发者
  • 招聘信息
  • 隐私权政策
  • Cookie
  • Ad Choices
  • 条款
  • 帮助中心
  • 联系人上传和非用户
  • 设置
  • 动态记录

Meta © 2022

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

ข้อมูลของบทความนี้จะเกี่ยวกับโครง งาน วิทยาศาสตร์ เรื่อง วุ้น สมุนไพร หากคุณกำลังมองหาโครง งาน วิทยาศาสตร์ เรื่อง วุ้น สมุนไพรมาถอดรหัสหัวข้อโครง งาน วิทยาศาสตร์ เรื่อง วุ้น สมุนไพรกับSelf Directed CEในโพสต์โครงงานวุ้นสมุนไพรสีจากธรรมชาตินี้.

  • สรุปเอกสารที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับโครง งาน วิทยาศาสตร์ เรื่อง วุ้น สมุนไพรในโครงงานวุ้นสมุนไพรสีจากธรรมชาติที่สมบูรณ์ที่สุด
  • ข้อมูลบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อโครง งาน วิทยาศาสตร์ เรื่อง วุ้น สมุนไพร
  • ภาพถ่ายบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหมวดหมู่ของโครง งาน วิทยาศาสตร์ เรื่อง วุ้น สมุนไพร
  • ข้อเสนอแนะบางประการเกี่ยวกับโครง งาน วิทยาศาสตร์ เรื่อง วุ้น สมุนไพร

สรุปเอกสารที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับโครง งาน วิทยาศาสตร์ เรื่อง วุ้น สมุนไพรในโครงงานวุ้นสมุนไพรสีจากธรรมชาติที่สมบูรณ์ที่สุด

ชมวิดีโอด้านล่างเลย

ที่เว็บไซต์SelfDirectedCEคุณสามารถอัปเดตความรู้ของคุณนอกเหนือจากโครง งาน วิทยาศาสตร์ เรื่อง วุ้น สมุนไพรเพื่อความรู้ที่เป็นประโยชน์มากขึ้นสำหรับคุณ ที่เว็บไซต์Self Directed CE เราอัปเดตข่าวสารใหม่และแม่นยำสำหรับผู้ใช้เสมอ, ด้วยความหวังว่าจะมอบเนื้อหาที่ละเอียดที่สุดให้กับผู้ใช้ ช่วยให้คุณได้รับข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตได้อย่างรวดเร็ว.

ข้อมูลบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อโครง งาน วิทยาศาสตร์ เรื่อง วุ้น สมุนไพร

โรงเรียนบ้านคลองยายใต้

ภาพถ่ายบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหมวดหมู่ของโครง งาน วิทยาศาสตร์ เรื่อง วุ้น สมุนไพร

โครงงานเรื่อง วุ้น สมุนไพร
โครงงานวุ้นสมุนไพรสีจากธรรมชาติ

นอกจากการหาข้อมูลเกี่ยวกับบทความนี้ โครงงานวุ้นสมุนไพรสีจากธรรมชาติ คุณสามารถดูบทความเพิ่มเติมด้านล่าง

ดูเพิ่มเติมที่นี่

ข้อเสนอแนะบางประการเกี่ยวกับโครง งาน วิทยาศาสตร์ เรื่อง วุ้น สมุนไพร

#โครงงานวนสมนไพรสจากธรรมชาต.

[vid_tags].

โครงงานวุ้นสมุนไพรสีจากธรรมชาติ.

โครง งาน วิทยาศาสตร์ เรื่อง วุ้น สมุนไพร.

เราหวังว่าเนื้อหาบางส่วนที่เราให้ไว้จะเป็นประโยชน์กับคุณ ขอบคุณมากสำหรับการติดตามเนื้อหาโครง งาน วิทยาศาสตร์ เรื่อง วุ้น สมุนไพรของเรา

David Darwin

David Darwin is currently admin and author of Selfdirectedce. Topics on our site include education, teaching courses, learning resources and other relevant information. Hope you can find useful lessons for yourself on our website.

โครงงานอาชีพ

เรื่อง  วุ้น


จัดทำโดย

นายเกรียงไกร    เรืองรูจี

เสนอ

อาจารย์อนุสรณ์    ฤกษ์บางพลัด

รายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์  CAI  ช่วยสอน

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5/4

ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2557

บทคัดย่อ

        โครงงานการทำวุ้นนี้ ได้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาถึงวิธีการทำขนมวุ้น เป็นการศึกษาเชิงปฏิบัติ ทำให้สามารถทำได้จริง ซึ่งได้นำเสนอวิธีการทำขนมวุ้นในแบบต่างๆ ซึ่งคณะผู้จัดทำหวังว่าคงเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจไม่มากก็น้อย

1

บทที่1

บทนำ


ทีมาและความสำคัญ
มีคนนิยมทำวุ้นหลายรสขึ้นมาแปลกใหม่พวกเราจึงคิดค้น IS เกี่ยวกับเรื่องวุ้นว่ามีรสไหนบ้าง มาจากทีไหน ใครคนคิดค้น ทำอย่างไรให้อร่อย เพื่อจะสามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ และสามารถทำเป็นอาชีพเสริมได้

วัตถุประสงค์ในการทำโครงงาน
เพื่อศึกษาวิธีการทำขนมวุ้น
เพื่อปฏิบัติจริงในการทำขนมวุ้น

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1 ทำให้ทราบวิธีการทำขนมวุ้นในแบบต่าง ๆ

2 ทำให้สามารถทำขนมวุ้นรับประทานเองได้

3 สามารถนำไปทำเป็นอาชีพเสริมได้

ขอบเขตการศึกษา
ศึกษาจากเว็บไซต์และสอบถามบุคคลที่รู้เกี่ยวกับการทำวุ้น

2

บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง


วุ้น (agar–agar) เป็นสารประกอบของน้ำตาลหลายโมเลกุล (polysaccharide) 2 กลุ่มคือ เอกาโรส (agarose) และเอกาโรเพกติน (agaropectin) ซึ่งสกัดได้จากสาหร่ายทะเลให้วุ้น (agarophytes) เป็นสาหร่ายสีแดงในดิวิชั่นโรโดไฟต้า (Division Rhodophyta) สาหร่ายสกุลที่นิยมใช้เป็นหลักในการสกัดวุ้นในเชิงอุตสาหกรรม ได้แก่ Gelidium. Gracilaria และ Pterocladia โดยใช้สกุล Ceramium, Campylae-phora และ Ahnfeltia เป็นตัวเสริมนอกจากสาหร่ายในสกุลดังกล่าวแล้ว ยังมีอีกหลายสกุลที่มีความสำคัญในเชิงอุตสาหกรรม เนื่องจากมีการกระจายอยู่ตามชายฝั่งทะเลของประเทศต่างๆ ในเขตศูนย์สูตร และเขตอบอุ่น ซึ่งได้แก่ สาหร่ายในสกุล Gelidiella, Acanthopeltis, Chondrus, Hypnea, Gracilariopsis, Gigartina, Suluria,Phyllophora, Furcellaria และ Eucheuma
สาหร่ายให้วุ้นเหล่านี้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ตามความสามารถในการแข็งตัวของวุ้น (setting power) คือ
1. เจลิเดียม (Gelidium type)
เป็นสาหร่ายชนิดที่ให้วุ้น ซึ่งสามารถแข็งตัวได้ดี แม้จะใช้วุ้นในปริมาณต่ำ
2. กราซิลลาเรีย ฮิบเนีย (Glacilaria, Hypnea type)
เป็นสาหร่ายที่ให้วุ้น ซึ่งจะแข็งตัวได้เมื่อใช้ในปริมาณค่อนข้างสูงหรือต้อง เติมสารอิเล็กทรอไลต์
3. คอนดรัส (Chondrus type)
เป็นสาหร่ายที่ให้วุ้นซึ่งจะแข็งตัวได้ เมื่อใช้ในปริมาณความเข้มข้นสูงเท่านั้น
สาหร่ายให้วุ้น ที่มาจากแหล่งต่างกันจะให้วุ้นในปริมาณและคุณภาพที่ต่างกันไป สำหรับมาตรฐานของสาหร่ายให้วุ้น จะกำหนด จากองค์ประกอบต่างๆ ของสาหร่าย ได้แก่สี ความแห้ง ความแข็งของวุ้น และปริมาณวุ้นที่ได้ รวมทั้ง
ความบริสุทธิ์ของสาหร่าย และปริมาณสิ่งเจือปน
3.อื่นๆ คุณภาพของวุ้นจะขึ้นอยู่กับชนิดและแหล่งที่มาของสาหร่าย สภาพแวดล้อม
ของทะเล รวมทั้งกรรมวิธี การสกัด อันได้แก่ การกำจัดสิ่งเจือปนก่อนสกัดอุณหภูมิ ความดัน ความเป็นกรด ด่าง และระยะเวลาที่ใช้ในการสกัด
ประโยชน์ของวุ้น นอกจากจะใช้เป็นอาหารแล้ว การที่วุ้นมีคุณสมบัติพิเศษคือสามารถแข็งตัวได้ เมื่อใช้ในระดับความเข้มข้นเพียง ร้อยละ 0.5 ทำให้มีการนำวุ้นไปใช้ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมอาหาร โดยเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์นม ขนมปัง และอาหารกระป๋อง เพื่อให้อาหารมีความเหนียวข้นน่ารับประทานและในอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น เครื่องสำอาง เครื่องหนัง และสิ่งทอ นอกจากนี้ยังใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ และวิทยาศาสตร์โดยใช้ในการเพาะเลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์ใช้เป็นส่วนประกอบของยาระบายใช้เป็นทันตวัสดุ และใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เป็นต้น
วุ้นสกัดได้จากสาหร่ายทะเลสีแดง สกุลกราซิลาเรีย มีชื่อที่ชาวบ้านเรียกทั่วไปหลายชื่อ คือ สาหร่ายผมนาง สาหร่ายวุ้นและสาหร่ายเขากวาง พบทั่วไปแทบทุกจังหวัดตามชายฝั่งทะเลหรือบริเวณเกาะที่มีคลื่นลมสงบ
วิธีการผลิตวุ้นค่อนข้างซับช้อน คือ จะต้องนำสาหร่ายแห้งมาขจัดวัสดุเจือปนโดยล้างด้วยน้ำแล้วนำไปตากแห้ง ทำซ้ำอย่างนี้หลาย ๆ ครั้ง จากนั้นนำไปต้มจนสาหร่ายนิ่ม นำไปบดจนเป็นเนื้อเดียวกัน แล้วนำไปต้มต่อโดยเติมสารต่าง ๆ เพื่อปรับระดับความเป็นกรดด่างและช่วยในการกรอง เมื่อส่วนผสมต่าง ๆ เป็นเนื้อเดียวกันแล้ว ก็นำไปกรอง ทิ้งวุ้นให้แข็งตัวจากนั้นจึงนำไปแช่เย็นเพื่อทำให้น้ำแยกตัวออกจากวุ้น เมื่อได้เวลาตามกำหนดจึงนำวุ้นแช่แข็งออกมาปล่อยให้น้ำแข็งละลายล้างวุ้นด้วยน้ำเย็น ทิ้งให้สะเด็ดน้ำแล้วจึงผ่านไปยังขั้นตอนการอบแห้งและบดเป็นผงต่อไป เมื่อเราจะทำวุ้นกิน ก็นำวุ้นผงสำเร็จรูปต้มใส่น้ำ น้ำตาลแล้วทิ้งไว้ให้วุ้นแข็งตัว
อาจมีคนสงสัยต่ออีกว่า แล้ววุ้นเส้นล่ะทำมาจากอะไร ?คำตอบคือ วุ้นเส้นทำมาจากถั่วเขียว การผลิตวุ้นเส้นในประเทศไทยเริ่มมีขึ้นเมื่อ ๔๐ ปีที่แล้วนี่เอง เดิมทีเรายังผลิตวุ้นเส้นได้คุณภาพไม่ดีนัก ต้องส่งเข้ามาจากจีน จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๒๐ วุ้นเส้นที่ผลิตในประเทศจึงเริ่มมีคุณภาพดีขึ้น

บทที 3
วิธีการดำเนินงาน

การดำเนินงานของคณะผู้จัดทำได้ดำเนินงานตามขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้
1. ร่วมกลุ่มกันทำโครงงาน
2. วางแผนการทำงาน
3. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับการทำโครงงาน
4. ดำเนินงานตามเป้าหมาย
5. รวบรวมข้อมูลที่ได้
6. นำเสนอผลงาน

ขั้นตอนการทำวุ้น

 1.การก่อไฟ2.เครียมน้ำ3.รอน้ำดือด4.ผสมวุ้น5.เทน้ำตาลลงหม้อุ6.ละลายน้ำตาล7.เทผงวุ้นลงหม้อรอประมาณ25นาที่8.เตรียมน้ำกระทิ9.เทน้ำกะทิลงในหม้อที่มี่ต้มวุ้นไว้10.เทลงให้ทั่ว11.เทลงใสภาชนะตามใจชอบ12.ทิ้งไว้ประมาณ30นาที่

บทที่4
            ผลการดำเนินงาน

อุปกรณ์
1.หม้อเคลือบขนาดพอเหมาะกับปริมาณ 1 ใบ
2.ทัพพี
3.ถาด
4.Dropper
5.พิมพ์วุ้นตามแบบที่เราต้องการ
6.ถ้วยตวงน้ำ/ถ้วยตวงเทวุ้นส่วนประกอบในการทำวุ้น
1.น้ำเปล่า 2500 ml.
2.ผงวุ้น25กรัม 1 ซอง
3.กลิ่นผสมขนมตามชอบ
4.สีผสมอาหารตามชอบ
5.น้ำตาล 0.5 กก.

บทที่ 5

สรุปผลและอภิปรายผลงาน

สรุป

การทำโครงงานวุ้นครั้งนี้ทำให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันสืบค้นหาข้อมูลและปฏิบัติเป็นรูปเล่มโครงงานและทำเป็นของหวานเพื่อให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ และนอกจากนี้ยังเป็นการศึกษาวิธีการทำ และลงมือปฏิบัติได้ด้วยตนเอง

อภิปราย

1.สามารถนำเอาโครงงานมาเป็นแบบอย่างในการศึกษาข้อมูลในการทำครั้งต่อไป

2.ใช้ประโยชน์จากรูปเล่มโครงงานไปศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม

3.นำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

4.ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ให้กับตนเองและครอบครัว

ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน

ในการทำโครงงานเรื่องวุ้นในครั้งนี้ ทำให้ได้รู้และศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มาประยุกต์ใช้และได้รับประโยชน์ ดังนี้

1.รู้และนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกวิธี

2.ได้ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆและนำมาจัดทำเป็นรูปเล่มโครงงาน เพื่อการศึกษาต่อไป

3.นำไปประกอบการเรียนรู้ในวิชาที่เกี่ยวข้อง

4.ได้เรียนรู้และฝึกทักษะการทำวุ้น

ข้อเสนอแนะ

เคล็ดลับความอร่อย

เมื่อวุ้นแข็งตัวแล้วควรนำไปแช่ในตู้เย็นก่อนนำมารับประทาน

 โครงงานอาชีพ

เรื่อง  วุ้น

จัดทำโดย

นายเกรียงไกร    เรืองรูจี

เสนอ

อาจารย์อนุสรณ์    ฤกษ์บางพลัด

รายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์  CAI  ช่วยสอน

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5/4

ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา2557

บทคัดย่อ

        โครงงานการทำวุ้นนี้ ได้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาถึงวิธีการทำขนมวุ้น เป็นการศึกษาเชิงปฏิบัติ ทำให้สามารถทำได้จริง ซึ่งได้นำเสนอวิธีการทำขนมวุ้นในแบบต่างๆ ซึ่งคณะผู้จัดทำหวังว่าคงเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจไม่มากก็น้อย

1

บทที่1

บทนำ


ทีมาและความสำคัญ
มีคนนิยมทำวุ้นหลายรสขึ้นมาแปลกใหม่พวกเราจึงคิดค้น IS เกี่ยวกับเรื่องวุ้นว่ามีรสไหนบ้าง มาจากทีไหน ใครคนคิดค้น ทำอย่างไรให้อร่อย เพื่อจะสามารถนำมาใช้ในชีวิตประจำวันได้ และสามารถทำเป็นอาชีพเสริมได้

วัตถุประสงค์ในการทำโครงงาน
เพื่อศึกษาวิธีการทำขนมวุ้น
เพื่อปฏิบัติจริงในการทำขนมวุ้น

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1 ทำให้ทราบวิธีการทำขนมวุ้นในแบบต่าง ๆ

2 ทำให้สามารถทำขนมวุ้นรับประทานเองได้

3 สามารถนำไปทำเป็นอาชีพเสริมได้

ขอบเขตการศึกษา
ศึกษาจากเว็บไซต์และสอบถามบุคคลที่รู้เกี่ยวกับการทำวุ้น

2

บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง


วุ้น (agar–agar) เป็นสารประกอบของน้ำตาลหลายโมเลกุล (polysaccharide) 2 กลุ่มคือ เอกาโรส (agarose) และเอกาโรเพกติน (agaropectin) ซึ่งสกัดได้จากสาหร่ายทะเลให้วุ้น (agarophytes) เป็นสาหร่ายสีแดงในดิวิชั่นโรโดไฟต้า (Division Rhodophyta) สาหร่ายสกุลที่นิยมใช้เป็นหลักในการสกัดวุ้นในเชิงอุตสาหกรรม ได้แก่ Gelidium. Gracilaria และ Pterocladia โดยใช้สกุล Ceramium, Campylae-phora และ Ahnfeltia เป็นตัวเสริมนอกจากสาหร่ายในสกุลดังกล่าวแล้ว ยังมีอีกหลายสกุลที่มีความสำคัญในเชิงอุตสาหกรรม เนื่องจากมีการกระจายอยู่ตามชายฝั่งทะเลของประเทศต่างๆ ในเขตศูนย์สูตร และเขตอบอุ่น ซึ่งได้แก่ สาหร่ายในสกุล Gelidiella, Acanthopeltis, Chondrus, Hypnea, Gracilariopsis, Gigartina, Suluria,Phyllophora, Furcellaria และ Eucheuma
สาหร่ายให้วุ้นเหล่านี้แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ตามความสามารถในการแข็งตัวของวุ้น (setting power) คือ
1. เจลิเดียม (Gelidium type)
เป็นสาหร่ายชนิดที่ให้วุ้น ซึ่งสามารถแข็งตัวได้ดี แม้จะใช้วุ้นในปริมาณต่ำ
2. กราซิลลาเรีย ฮิบเนีย (Glacilaria, Hypnea type)
เป็นสาหร่ายที่ให้วุ้น ซึ่งจะแข็งตัวได้เมื่อใช้ในปริมาณค่อนข้างสูงหรือต้อง เติมสารอิเล็กทรอไลต์
3. คอนดรัส (Chondrus type)
เป็นสาหร่ายที่ให้วุ้นซึ่งจะแข็งตัวได้ เมื่อใช้ในปริมาณความเข้มข้นสูงเท่านั้น
สาหร่ายให้วุ้น ที่มาจากแหล่งต่างกันจะให้วุ้นในปริมาณและคุณภาพที่ต่างกันไป สำหรับมาตรฐานของสาหร่ายให้วุ้น จะกำหนด จากองค์ประกอบต่างๆ ของสาหร่าย ได้แก่สี ความแห้ง ความแข็งของวุ้น และปริมาณวุ้นที่ได้ รวมทั้ง
ความบริสุทธิ์ของสาหร่าย และปริมาณสิ่งเจือปน
3.อื่นๆ คุณภาพของวุ้นจะขึ้นอยู่กับชนิดและแหล่งที่มาของสาหร่าย สภาพแวดล้อม
ของทะเล รวมทั้งกรรมวิธี การสกัด อันได้แก่ การกำจัดสิ่งเจือปนก่อนสกัดอุณหภูมิ ความดัน ความเป็นกรด ด่าง และระยะเวลาที่ใช้ในการสกัด
ประโยชน์ของวุ้น นอกจากจะใช้เป็นอาหารแล้ว การที่วุ้นมีคุณสมบัติพิเศษคือสามารถแข็งตัวได้ เมื่อใช้ในระดับความเข้มข้นเพียง ร้อยละ 0.5 ทำให้มีการนำวุ้นไปใช้ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรมอาหาร โดยเป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์นม ขนมปัง และอาหารกระป๋อง เพื่อให้อาหารมีความเหนียวข้นน่ารับประทานและในอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น เครื่องสำอาง เครื่องหนัง และสิ่งทอ นอกจากนี้ยังใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ และวิทยาศาสตร์โดยใช้ในการเพาะเลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์ใช้เป็นส่วนประกอบของยาระบายใช้เป็นทันตวัสดุ และใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เป็นต้น
วุ้นสกัดได้จากสาหร่ายทะเลสีแดง สกุลกราซิลาเรีย มีชื่อที่ชาวบ้านเรียกทั่วไปหลายชื่อ คือ สาหร่ายผมนาง สาหร่ายวุ้นและสาหร่ายเขากวาง พบทั่วไปแทบทุกจังหวัดตามชายฝั่งทะเลหรือบริเวณเกาะที่มีคลื่นลมสงบ
วิธีการผลิตวุ้นค่อนข้างซับช้อน คือ จะต้องนำสาหร่ายแห้งมาขจัดวัสดุเจือปนโดยล้างด้วยน้ำแล้วนำไปตากแห้ง ทำซ้ำอย่างนี้หลาย ๆ ครั้ง จากนั้นนำไปต้มจนสาหร่ายนิ่ม นำไปบดจนเป็นเนื้อเดียวกัน แล้วนำไปต้มต่อโดยเติมสารต่าง ๆ เพื่อปรับระดับความเป็นกรดด่างและช่วยในการกรอง เมื่อส่วนผสมต่าง ๆ เป็นเนื้อเดียวกันแล้ว ก็นำไปกรอง ทิ้งวุ้นให้แข็งตัวจากนั้นจึงนำไปแช่เย็นเพื่อทำให้น้ำแยกตัวออกจากวุ้น เมื่อได้เวลาตามกำหนดจึงนำวุ้นแช่แข็งออกมาปล่อยให้น้ำแข็งละลายล้างวุ้นด้วยน้ำเย็น ทิ้งให้สะเด็ดน้ำแล้วจึงผ่านไปยังขั้นตอนการอบแห้งและบดเป็นผงต่อไป เมื่อเราจะทำวุ้นกิน ก็นำวุ้นผงสำเร็จรูปต้มใส่น้ำ น้ำตาลแล้วทิ้งไว้ให้วุ้นแข็งตัว
อาจมีคนสงสัยต่ออีกว่า แล้ววุ้นเส้นล่ะทำมาจากอะไร ?คำตอบคือ วุ้นเส้นทำมาจากถั่วเขียว การผลิตวุ้นเส้นในประเทศไทยเริ่มมีขึ้นเมื่อ ๔๐ ปีที่แล้วนี่เอง เดิมทีเรายังผลิตวุ้นเส้นได้คุณภาพไม่ดีนัก ต้องส่งเข้ามาจากจีน จนกระทั่งปี พ.ศ. ๒๕๒๐ วุ้นเส้นที่ผลิตในประเทศจึงเริ่มมีคุณภาพดีขึ้น

บทที 3
วิธีการดำเนินงาน

การดำเนินงานของคณะผู้จัดทำได้ดำเนินงานตามขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้
1. ร่วมกลุ่มกันทำโครงงาน
2. วางแผนการทำงาน
3. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับการทำโครงงาน
4. ดำเนินงานตามเป้าหมาย
5. รวบรวมข้อมูลที่ได้
6. นำเสนอผลงาน

ขั้นตอนการทำวุ้น

 1.การก่อไฟ2.เครียมน้ำ3.รอน้ำดือด4.ผสมวุ้น5.เทน้ำตาลลงหม้อุ6.ละลายน้ำตาล7.เทผงวุ้นลงหม้อรอประมาณ25นาที่8.เตรียมน้ำกระทิ9.เทน้ำกะทิลงในหม้อที่มี่ต้มวุ้นไว้10.เทลงให้ทั่ว11.เทลงใสภาชนะตามใจชอบ12.ทิ้งไว้ประมาณ30นาที่

บทที่4
            ผลการดำเนินงาน

อุปกรณ์
1.หม้อเคลือบขนาดพอเหมาะกับปริมาณ 1 ใบ
2.ทัพพี
3.ถาด
4.Dropper
5.พิมพ์วุ้นตามแบบที่เราต้องการ
6.ถ้วยตวงน้ำ/ถ้วยตวงเทวุ้นส่วนประกอบในการทำวุ้น
1.น้ำเปล่า 2500 ml.
2.ผงวุ้น25กรัม 1 ซอง
3.กลิ่นผสมขนมตามชอบ
4.สีผสมอาหารตามชอบ
5.น้ำตาล 0.5 กก.

บทที่ 5

สรุปผลและอภิปรายผลงาน

สรุป

การทำโครงงานวุ้นครั้งนี้ทำให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันสืบค้นหาข้อมูลและปฏิบัติเป็นรูปเล่มโครงงานและทำเป็นของหวานเพื่อให้สำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ และนอกจากนี้ยังเป็นการศึกษาวิธีการทำ และลงมือปฏิบัติได้ด้วยตนเอง

อภิปราย

1.สามารถนำเอาโครงงานมาเป็นแบบอย่างในการศึกษาข้อมูลในการทำครั้งต่อไป

2.ใช้ประโยชน์จากรูปเล่มโครงงานไปศึกษาข้อมูลเพิ่มเติม

3.นำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

4.ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ให้กับตนเองและครอบครัว

ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน

ในการทำโครงงานเรื่องวุ้นในครั้งนี้ ทำให้ได้รู้และศึกษาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มาประยุกต์ใช้และได้รับประโยชน์ ดังนี้

1.รู้และนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกวิธี

2. ได้ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งต่างๆและนำมาจัดทำเป็นรูปเล่มโครงงาน เพื่อการศึกษาต่อไป

3.นำไปประกอบการเรียนรู้ในวิชาที่เกี่ยวข้อง

4.ได้เรียนรู้และฝึกทักษะการทำวุ้น

ข้อเสนอแนะ

เคล็ดลับความอร่อย

เมื่อวุ้นแข็งตัวแล้วควรนำไปแช่ในตู้เย็นก่อนนำมารับประทาน

ภาคผนวก

ภาคผนวก