พอ ลิ โพ รพิ ลี น โครงสร้าง

พลาสติก โพลีโพรพิลีน Polypropylene หรือ PP  คืออะไร ใช้กับอาหารได้หรือไม่  โพลีโพรพิลีนPolypropylene  (PP) คือ หนึ่งในเม็ดพลาสติกคุณภาพที่นำมาใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ต่างๆ ได้อย่างปลอดภัย ถือว่าเป็นพลาสติกที่มีความหนาแน่นต่ำมาก เพียงแค่ 0.90-0.91 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตรเท่านั้น เมื่อนำมาหลอมในอุณหภูมิ 160-170 องศาเซลเซียส ก็จะสามารถขึ้นรูปเป็นแบบต่างๆ ได้ตามที่ต้องการ แต่ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดคือการทำเป็นบรรจุภัณฑ์สำหรับใส่อาหาร เพราะเป็นเม็ดพลาสติกที่ได้มีการยอมรับว่าเป็น Food Grade ที่มีความปลอดภัย ซึ่งความเด่นของโพลีโพรพิลีน (PP) คือ

1.ขึ้นรูปได้ง่าย ไม่ยุ่งยาก และให้รูปลักษณ์ตรงตามแบบที่ต้องการเสมอ

2.ขึ้นชื่อเรื่องความแข็งแรงทนทาน เวลาขนย้ายไม่ต้องกังวลว่าบรรจุภัณฑ์จากโพลีโพรพิลีน (PP)  จะหักงอง่ายจนเกินไป

3.ทนทานต่อความร้อน เพราะมีจุดหลอมเหลวที่ 160-170 องศา และสามารถทนทานต่อสารเคมีหรือตัวทำละลายได้ดี

4.เนื้อพลาสติกมีความ โปร่ง และเบา แต่ก็มีความแข็งแรงไม่แพ้พลาสติกชนิด HDPE

5.ช่วยป้องกันความชื้นไม่ให้ทะลุผ่านบรรจุภัณฑ์จนเข้าไปถึงอาหารได้

6.ถึงความชื้นจะเข้าไม่ถึงแต่อากาศก็สามารถผ่านได้แบบต่ำๆ แต่ไม่ทำให้เกิดปัญหากับอาหารที่บรรจุอยู่ภายในแน่นอน

7.ถึงจะไม่หลอมละลายง่าย ทนทานต่อความร้อนได้ดี แต่ก็มีข้อเสียตรงที่ไม่ทนต่อความเย็นมากนัก

การใช้โพลีโพรพิลีน (PP) กับบรรจุภัณฑ์อาหารจะเน้นไปที่การผลิตเป็นถุงใสทนความร้อนหรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่า “ถุงร้อน” และผลิตเป็นรูปแบบแก้วกาแฟร้อน, บรรจุภัณฑ์อาหารแปรรูป, บรรจุภัณฑ์เข้าไมโครเวฟได้, จาน ชาม หรือถ้วยพลาสติกที่มีคุณภาพและให้ความปลอดภัยในการใช้งาน นอกจากนี้ยังสามารถใช้งานในบรรจุภัณฑ์แบบถ้วยโจ๊กและถ้วยบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปลายน่ารักๆ ได้อีกด้วย คุณสมบัติที่มีต่อบรรจุภัณฑ์อาหารที่ทำให้ผู้ใช้งานสามารถไว้วางใจได้ คือ

  • นำเข้าไมโครเวฟเพื่ออุ่นอาหารภายในบรรจุภัณฑ์แบบโพลีโพรพิลีน(PP) ได้ทันที เพิ่มความสะดวก ใช้งานง่ายไม่ยุ่งยาก และมีความปลอดภัย เพราะทนทานต่อสารเคมีสูง
  • ทนต่อความร้อนของน้ำร้อนหรือการเข้าอบได้สูงถึง 100-121 องศาเซลเซียส จึงใช้งานได้อย่างมั่นใจ
  • จาน, ชาม หรือถ้วยที่ผลิตจากโพลีโพรพิลีน (PP) ไม่ก่อให้เกิดอันตราย ไม่เสียหายง่าย จึงสามารถที่จะใส่ข้าวสวยหรือแกงร้อนๆ ได้อย่างปลอดภัย
  • ถุงใสทนความร้อนหรือที่เรียกกันว่าถุงร้อน สามารถใช้งานได้ดี ไม่มีรั่ว ไม่มีแตก และทำให้มองเห็นของที่อยู่ด้านในได้อย่างชัดเจน จึงนิยมนำมาใส่แกงและขนมเพื่อขายตามตลาด
  • มั่นใจในความปลอดภัยและความสะอาดได้ตั้งแต่ขั้นตอนการผลิต เพราะมีการฆ่าเชื้อด้วยรีทอร์ท (retort) ก่อนการนำไปขึ้นรูป เพราะโพลีโพรพิลีน(PP) มักถูกนำมาผลิต flexible packaging จึงต้องผ่านขั้นตอนการผลิตที่ได้มาตรฐานเท่านั้น
  • ถึงจะมีข้อดีจำนวนมากแต่ก็มีข้จำกัดในการใช้งาน คือ ไม่ทนทานต่อความเย็นจึงไม่เหมาะกับการผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์อาหารแช่แข็งและไม่ควรนำไปเป็นวัสดุเพื่อการเชื่อมตามข้อต่อต่างๆ เพราะทำให้ติดกันได้ยาก

โพลีโพรพิลีน(PP) เป็นหนึ่งในกลุ่มของเทอร์โมพลาสติก มีคุณสมบัติที่โดดเด่นหลากหลายด้าน ขึ้นรูปได้ง่าย จึงถูกนำมาใช้กับผลิตภัณฑ์หรือบรรจุภัณฑ์ภายในครัวเรือนเสมอ เป็นวัสดุโครงสร้างกึ่งผลึกที่นำไปประยุกต์ใช้กับงานต่างๆ ได้ดี มีความหลากหลายสูง ไม่ว่าจะเป็นบรรจุภัณฑ์อาหารหรือขวดใส่สารเคมีจึงสามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัย เมื่อนำมาขึ้นรูปแล้วจะไม่แตกหักหรือเสียหายได้ง่ายโดยเฉพาะจากความร้อน แต่ถ้าตกลงมาจากที่สูงมากๆ ก็อาจทำให้แตกได้ มาพร้อมคุณสมบัติต้านทานไฟฟ้าได้ดี ใช้งานได้อย่างไม่ต้องกังวลเพราะไม่เป็นตัวกลางนำไฟฟ้า และอีกหนึ่งความน่าสนใจของของโพลีโพรพิลีน(PP) คือขึ้นรูปและตกแต่งให้ออกมาเป็นรูปทรงที่ต้องการได้อย่างง่ายดาย ไม่ว่าจะขึ้นรูปจากความร้อนหรือจากสุญญากาศ ก็สามารถที่จะเชื่อมต่อและตกแต่งให้ออกมาได้อย่างโดดเด่น ที่สำคัญคือการเป็นพลาสติกที่สามารถนำกลับมาใช้ซ้ำได้หรือที่เราเรียกกันว่าพลาสติกแบบรีไซเคิล

เพียงแค่นำโพลีโพรพิลีน(PP) กลับมาสู่จุดหลอมเหลวก็สามารถเข้าสู่ขั้นตอนการผลิตและกระบวนการขึ้นรูปใหม่ได้โดยที่คุณสมบัติทั้งหมดที่กล่าวมายังคงอยู่เหมือนเดิม ไม่สูญเสียไปเลยแม้แต่น้อย ด้วยความน่าสนใจและคุณสมบัติที่คุ้มค่าต่อการใช้งาน ทำให้โพลีโพรพิลีน(PP) กลายเป็นพลาสติกที่ได้รับความนิยมในตลาดบรรจุภัณฑ์อย่างมาก ช่วยทำให้ผู้ประกอบการได้ประหยัดต้นทุนมากขึ้น โดยที่ผู้บริโภคเองก็สามารถซื้อไปใช้งานได้อย่างปลอดภัย ถือว่าเป็นพลาสติกที่มีคุณค่าทางเศรษฐศาสตร์ เพราะสามารถทำขึ้นรูปด้วยตัวโพลีโพรพิลีน(PP) เองก็ได้ประโยชน์ หรือจะนำไปผสมผสานกับวัสดุอื่นก็ให้การใช้งานที่ดีเยี่ยมไม่แพ้กัน ทั้งยังสามารถนำกลับมาใช้ซ้ำและรีไซเคิลได้อย่างปลอดภัยอีกด้วย และนอกจากการเป็นบรรจุภัณฑ์แล้ว โพลีโพรพิลีน(PP) ยังสามารถนำมาทำเป็นพลาสติกแบบลูกฟูกที่ให้ประโยชน์ด้านการขนส่งสินค้าที่มีความละเอียดอ่อนสูงโดยเฉพาะผักและผลไม้ เพราะสามารถปกป้องสินค้าไม่ให้ช้ำระหว่างการขนส่งและป้องกันเรื่องฝุ่นละอองได้ดีเลยทีเดียว

คุณสมบัติที่โดดเด่นของโพลีโพรพิลีน(PP) ทั้งหมดนี้ยังไม่ใช่จุดสิ้นสุด เพราะในอนาคตอาจจะมีการนำเม็ดพลาสติกชนิดนี้ไปทำประโยชน์ได้อย่างหลากหลายมากกว่าเดิม อาจมีการพัฒนาวิธีการใช้งาน, การขึ้นรูป หรือการผลิตให้มีคุณค่ามากกว่าที่เราเห็นอยู่ในปัจจุบัน โพลีโพรพิลีน(PP) จึงถือว่าเป็นพลาสติกทางเลือกที่ไม่ควรมองข้ามและอาจทำให้กิจการของคุณในอนาคตไปได้สวยหรือทำให้ต้นทุนไม่สูงมากพร้อมช่วยส่งเสริมการขายที่ดีกว่าเดิมอีกด้วย

Previous

โพลีเอทิลีน Polyethylene หรือ PE คือพลาส...

Next

พลาสติกชนิดโพลีสไตรีน หรือ PS ใช้สำหรับผ...

พอลิโพรพีลีน (อังกฤษ:polypropylene, ย่อ PP) หรือ พอลิโพรพีน (polypropene) เป็นพอลิเมอร์เทอร์โมพลาสติกในกลุ่มพอลิโอลีฟิน พอลิโพรพีลีนมีคุณสมบัติคล้ายพอลิเอทีลีน เป็นสารไม่มีขั้ว ทนต่อไขมันและตัวทำละลายอินทรีย์เกือบทั้งหมด มีจุดหลอมเหลวประมาณ 130–171 °ซ และจุดวาบไฟที่อุณหภูมิสูงกว่า 300 °ซ เจ. พอล โฮแกนและรอเบิร์ต แบงส์ค้นพบกระบวนการเตรียมพอลิโพรพีลีนในปีค.ศ. 1951 ขณะที่กระบวนการปรับแต่งโครงสร้างพอลิโพรพีลีนถูกค้นพบครั้งแรกโดยจูลีโย นัตตา นักเคมีชาวอิตาลีในปีค.ศ. 1954 ทำให้เขาและคาร์ล ซีกเลอร์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีในปีค.ศ. 1963

พอลิโพรพีลีนเตรียมได้จากปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันแบบลูกโซ่ของโพรพีน การผลิตพอลิโพรพีลีนในเชิงอุตสาหกรรมแบ่งได้เป็น 3 แบบคือ แบบแก๊สที่ใช้การผ่านแก๊สโพรพีนเข้าไปในเครื่องปฏิกรณ์ที่มีตัวเร่งปฏิกิริยาจนได้พอลิเมอร์เป็นชิ้น ๆ, แบบบัลค์ที่ใช้โพรพีนในรูปของเหลวทำปฏิกิริยากับอีทีนในเครื่องปฏิกรณ์แบบวน และแบบสเลอรีที่ใช้แอลเคนที่มีคาร์บอน 4–6 อะตอมทำปฏิกิริยากับแก๊สโพรพีน การจัดเรียงของหมู่เมทิลในโครงสร้างมีผลอย่างมากต่อคุณสมบัติของพอลิโพรพีลีน โดยการจัดเรียงนี้สามารถกำหนดได้จากตัวเร่งปฏิกิริยาซีกเลอร์–นัตตา โครงสร้างผลึกของพอลิโพรพีลีนสามารถแบ่งได้เป็น 3 แบบคือ isotactic polypropylene (iPP) ซึ่งแยกย่อยเป็นแอลฟา บีตาและแกมมา มีจุดหลอมเหลวราว 170–220 °ซ, syndiotactic polypropylene (sPP) ที่มีจุดหลอมเหลว 161–186 °ซ เตรียมได้จากตัวเร่งปฏิกิริยาเมทัลโลซีนเท่านั้น และ atactic polypropylene (aPP) ที่ไม่มีผลึกในโครงสร้าง ทำให้มีจุดหลอมเหลวต่ำกว่า 2 แบบแรกและมีรูปแบบคล้ายยางที่อุณหภูมิห้อง โดยทั่วไปพอลิโพรพิลีนมีความยืดหยุ่นทนทานและทนต่อความล้า มีความหนาแน่นระหว่าง 0.895–0.92 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (g/cm3) ทำให้พอลิโพรพิลีนเป็นพลาสติกโภคภัณฑ์ที่มีความหนาแน่นต่ำที่สุด พอลิโพรพีลีนมีค่ามอดุลัสของยังประมาณ 1300–1800 นิวตันต่อตารางมิลลิเมตร (N/mm2) และมีความแข็งแรงแรงดึงสูงสุดราว 19.7–80 เมกะปาสกาล (MPa) ผ้าทำจากพอลิโพรพิลีนไม่ไวไฟ แต่เมื่อติดไฟแล้วจะหลอมติดผิวหนังผู้สวมใส่ได้

พอลิโพรพีลีนเป็นพลาสติกที่แปรใช้ใหม่ได้ เนื่องจากมีคุณสมบัติน้ำหนักเบา มีความยืดหยุ่นสูงและไม่ดูดซึมน้ำ พอลิโพรพีลีนจึงถูกนำไปใช้ประโยชน์หลายอย่าง เช่น ของเล่น เสื้อผ้า บรรจุภัณฑ์ อุปกรณ์ทางการแพทย์ และชิ้นส่วนรถยนต์ บางครั้งใช้แทนพอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) เป็นฉนวนในสายไฟฟ้าในพื้นที่ปิด เนื่องจากพอลิโพรพีลีนก่อควันและแก๊สพิษน้อยกว่าเมื่ออยู่ในอุณหภูมิสูง คณะทำงานด้านสิ่งแวดล้อมระบุว่าพอลิโพรพีลีนมีอันตรายระดับต่ำถึงกลาง ขณะที่มาตรฐานว่าด้วยการจำแนกสารเรซินจัดให้พอลิโพรพีลีนเป็นหมายเลข 5 บนสัญลักษณ์จำแนกเรซิน และยอมรับโดยทั่วไปว่าปลอดภัย

  1. (PDF). LG Chem. June 10, 2010. สืบค้นเมื่อOctober 24, 2020.
  2. Stinson, Stephen (1987). "Discoverers of Polypropylene Share Prize". Chemical & Engineering News. 65 (10): 30. doi:.
  3. . Britannica. สืบค้นเมื่อOctober 24, 2020.
  4. Jones, A. Turner; Aizlewood, Jean M; Beckett, D. R (1964). "Crystalline forms of isotactic polypropylene". Die Makromolekulare Chemie. 75 (1): 134–58. doi:.
  5. Samuels, Robert J (1975). "Quantitative structural characterization of the melting behavior of isotactic polypropylene". Journal of Polymer Science: Polymer Physics Edition. 13 (7): 1417–46. Bibcode:. doi:.
  6. Derosa, C; Auriemma, F (2006). "Structure and physical properties of syndiotactic polypropylene: A highly crystalline thermoplastic elastomer". Progress in Polymer Science. 31 (2): 145–237. doi:.
  7. Wolfgang, Kaiser (2007). Kunststoffchemie für Ingenieure: von der Synthese bis zur Anwendung [Plastics chemistry for engineers: from synthesis to application] (ภาษาเยอรมัน) (2nd ed.). München: Hanser. p. 251. ISBN 978-3-446-41325-2. OCLC .
  8. Maier, Clive; Calafut, Teresa (1998). . William Andrew. p. 14. ISBN 978-1-884207-58-7.
  9. . access.gpo.gov
  10. Johnson, Todd (January 17, 2019). . ThoughtCo. สืบค้นเมื่อOctober 24, 2020.
  11. . Business Wire. January 9, 2017. สืบค้นเมื่อOctober 24, 2020.
  12. . Cosmeticdatabase.com. Retrieved on 2012-05-31.
  13. 2010-07-22 at the Wayback Machine., Waste Online
  14. . Healthline. September 23, 2020. สืบค้นเมื่อOctober 24, 2020.

พอ ลิ โพ รพิ ลี น โครงสร้าง

พอล, โพรพ, polymer, ภาษาอ, เฝ, าด, แก, ไข, งกฤษ, polypropylene, หร, พอล, โพรพ, polypropene, เป, นพอล, เมอร, เทอร, โมพลาสต, กในกล, มพอล, โอล, ณสมบ, คล, ายพอล, เอท, เป, นสารไม, ทนต, อไขม, นและต, วทำละลายอ, นทร, เก, อบท, งหมด, ดหลอมเหลวประมาณ, และจ, ดวาบไฟท, ณหภ,. phxliophrphilin polymer phasaxun efadu aekikh phxliophrphilin xngkvs polypropylene yx PP hrux phxliophrphin polypropene epnphxliemxrethxromphlastikinklumphxlioxlifin phxliophrphilinmikhunsmbtikhlayphxliexthilin epnsarimmikhw thntxikhmnaelatwthalalayxinthriyekuxbthnghmd micudhlxmehlwpraman 130 171 s aelacudwabifthixunhphumisungkwa 300 s 1 ec phxl ohaeknaelarxebirt aebngskhnphbkrabwnkaretriymphxliophrphilininpikh s 1951 2 khnathikrabwnkarprbaetngokhrngsrangphxliophrphilinthukkhnphbkhrngaerkodyculioy ntta nkekhmichawxitaliinpikh s 1954 thaihekhaaelakharl sikelxridrbrangwloneblsakhaekhmiinpikh s 1963 3 phxliophrphilinchuxtam IUPAC Poly 1 methylethylene chuxxun Polypropylene Polypropene Polipropene 25 USAN Propene polymers Propylene polymers 1 Propene Ch2 Ch Ch3 nelkhthaebiynelkhthaebiyn CAS 9003 07 0 CAS ChemSpider ID Nonekhunsmbtisutrekhmi C3H6 nkhwamhnaaenn 0 855 g cm3 amorphous 0 946 g cm3 crystallinecudhlxmehlw 130 171 C 266 340 F 403 444 K hakmiidrabuepnxun khxmulkhangtnnikhuxkhxmulsar n phawamatrthanthi 25 C 100 kPasthaniyxy ekhmi phxliophrphilinetriymidcakptikiriyaphxliemxireschnaebblukoskhxngophrphin karphlitphxliophrphilininechingxutsahkrrmaebngidepn 3 aebbkhux aebbaeksthiichkarphanaeksophrphinekhaipinekhruxngptikrnthimitwerngptikiriyacnidphxliemxrepnchin aebbblkhthiichophrphininrupkhxngehlwthaptikiriyakbxithininekhruxngptikrnaebbwn aelaaebbselxrithiichaexlekhnthimikharbxn 4 6 xatxmthaptikiriyakbaeksophrphin karcderiyngkhxnghmuemthilinokhrngsrangmiphlxyangmaktxkhunsmbtikhxngphxliophrphilin odykarcderiyngnisamarthkahndidcaktwerngptikiriyasikelxr ntta okhrngsrangphlukkhxngphxliophrphilinsamarthaebngidepn 3 aebbkhux isotactic polypropylene iPP sungaeykyxyepnaexlfa bitaaelaaekmma 4 micudhlxmehlwraw 170 220 s 5 syndiotactic polypropylene sPP thimicudhlxmehlw 161 186 s etriymidcaktwerngptikiriyaemthlolsinethann 6 aela atactic polypropylene aPP thiimmiphlukinokhrngsrang thaihmicudhlxmehlwtakwa 2 aebbaerkaelamirupaebbkhlayyangthixunhphumihxng 7 odythwipphxliophrphilinmikhwamyudhyunthnthanaelathntxkhwamla 8 mikhwamhnaaennrahwang 0 895 0 92 krmtxlukbaskesntiemtr g cm3 thaihphxliophrphilinepnphlastikophkhphnththimikhwamhnaaenntathisud phxliophrphilinmikhamxdulskhxngyngpraman 1300 1800 niwtntxtarangmilliemtr N mm2 aelamikhwamaekhngaerngaerngdungsungsudraw 19 7 80 emkapaskal MPa phathacakphxliophrphilinimiwif aetemuxtidifaelwcahlxmtidphiwhnngphuswmisid 9 phxliophrphilinepnphlastikthiaeprichihmid enuxngcakmikhunsmbtinahnkeba mikhwamyudhyunsungaelaimdudsumna phxliophrphilincungthuknaipichpraoychnhlayxyang echn khxngeln esuxpha brrcuphnth xupkrnthangkaraephthy aelachinswnrthynt 10 bangkhrngichaethnphxliiwnilkhlxird PVC epnchnwninsayiffainphunthipid enuxngcakphxliophrphilinkxkhwnaelaaeksphisnxykwaemuxxyuinxunhphumisung 11 khnathangandansingaewdlxmrabuwaphxliophrphilinmixntrayradbtathungklang 12 khnathimatrthanwadwykarcaaenksarersincdihphxliophrphilinepnhmayelkh 5 bnsylksncaaenkersin 13 aelayxmrbodythwipwaplxdphy 14 khxmmxns miphaphaelasuxekiywkb phxliophrphilinxangxing aekikh Polypropylene Material Safety Data Sheet PDF LG Chem June 10 2010 subkhnemux October 24 2020 Stinson Stephen 1987 Discoverers of Polypropylene Share Prize Chemical amp Engineering News 65 10 30 doi 10 1021 cen v065n010 p030 Polypropylene Britannica subkhnemux October 24 2020 Jones A Turner Aizlewood Jean M Beckett D R 1964 Crystalline forms of isotactic polypropylene Die Makromolekulare Chemie 75 1 134 58 doi 10 1002 macp 1964 020750113 Samuels Robert J 1975 Quantitative structural characterization of the melting behavior of isotactic polypropylene Journal of Polymer Science Polymer Physics Edition 13 7 1417 46 Bibcode 1975JPoSB 13 1417S doi 10 1002 pol 1975 180130713 Derosa C Auriemma F 2006 Structure and physical properties of syndiotactic polypropylene A highly crystalline thermoplastic elastomer Progress in Polymer Science 31 2 145 237 doi 10 1016 j progpolymsci 2005 11 002 Wolfgang Kaiser 2007 Kunststoffchemie fur Ingenieure von der Synthese bis zur Anwendung Plastics chemistry for engineers from synthesis to application phasaeyxrmn 2nd ed Munchen Hanser p 251 ISBN 978 3 446 41325 2 OCLC 213395068 Maier Clive Calafut Teresa 1998 Polypropylene the definitive user s guide and databook William Andrew p 14 ISBN 978 1 884207 58 7 USAF Flying Magazine Safety Nov 2002 access gpo gov Johnson Todd January 17 2019 Learn the Basics of the Plastic Resin Polypropylene ThoughtCo subkhnemux October 24 2020 Global Low Smoke Halogen Free Cable Materials Market Research Report 2016 Research and Markets Business Wire January 9 2017 subkhnemux October 24 2020 POLYPROPYLENE Skin Deep Cosmetics Database Environmental Working Group Cosmeticdatabase com Retrieved on 2012 05 31 Plastics recycling information sheet Archived 2010 07 22 at the Wayback Machine Waste Online Is Polypropylene Safe and BPA Free Healthline September 23 2020 subkhnemux October 24 2020 bthkhwamekiywkbekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy ekhmiekhathungcak https th wikipedia org w index php title phxliophrphilin amp oldid 9111162, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม