การละเล่น ประเภทร้องโต้ตอบกันระหว่าง ชาย หญิง ด้วยการด้น กลอนสด จากข้อความ หมาย ถึง ข้อใด

1. การแสดงพื้นเมืองมีพื้นฐานมาจากการ

  1 ระบำ                                             2 มหรสพ

  3 การละเล่นพื้นบ้าน                   4 บัลเล่ต์

2. เพลงอีแซวเป็นเพลงพื้นเมืองของภาคใด

  1 ภาคเหนือ                                       ภาคกลาง

  3 ภาคอีสาน                                       ภาคใต้

3. “มาเถิดแม่นุชน้อง พี่จะเป็นฆ้องให้น้องเป็นปี่ ต้อยตะริดติ๊ดตอด น้ำแห้งน้ำหยอดที่ตรงลิ้นปี่จากข้อความเป็นเนื้อร้องของการแสดงพื้นเมืองภาคใด

 1ภาคเหนือ                                       2ภาคกลาง

 3 ภาคอีสาน                                     4 ภาคใต้

4. ข้อใดคือลักษณะของการแสดงพื้นเมือง

  1 เน้นความประณีตวิจิตรบรรจง

 2  มีรูปแบบการแสดงที่เป็นแบบแผน

  3 สอดแทรกวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่น

 4  ถูกทุกข้อ

5. การแสดงพื้นเมืองข้อใดนำเครื่องมือเครื่องใช้ในการทำมาหากินมาประกอบการแสดง

  1 เซิ้งกระโป๋

 2  เซิ้งตังหวาย

  3 เซิ้งกระหยัง

 4  เซิ้งแพรวากาฬสินธุ์

6. การแสดงนาฏศิลป์ไทยมีความสัมพันธ์กับภูมิปัญญาท้องถิ่นข้อใด

  1 วรรณคดีไทย

 2  ศาสนาและความเชื่อ

  3 ประเพณีและวัฒนธรรม

  4ถูกทุกข้อ

7. การแสดงข้อใดที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา

 1  ระบำไตรรัตน์

 2  ระบำนพรัตน์

 3  ระบำสวัสดิรักษา

4   ระบำศรีวิชัย

8. การแสดงพื้นเมืองชุดใดที่ใช้กะลามะพร้าวประกอบการแสดง

  1 เซิ้งกระติบ                                2  เซิ้งกระโป๋

3   เซิ้งกระหยัง                             4 เซิ้งแหย่ไข่มดแดง

9. “การละเล่นประเภทร้องโต้ตอบกันระหว่างชายหญิง ด้วยการด้นกลอนสดจากข้อความหมายถึงข้อใด

  1 เพลงไทยเดิม                            2   เพลงปฏิพากย์

  3 เพลงหน้าพาทย์                      4  เพลงไทยสากล

10. " การแสดงต้อนรับแขกต่างเมือง หรือในเทศกาลสงกรานต์ " ของภาคเหนือนิยมใช้ชุดการแสดงใด

A.รำกลองยาว                              B.    รำโนรา

C.ฟ้อน                                         D.      เซิ้ง

11. " ศิลปะการแสดงที่แสดงถึงความสนุกสนาน ร่าเริง " เป็นลักษณะการแสดงของภาคใด

A.ภาคเหนือ                                 B.      ภาคกลาง

C.ภาคอีสาน                                 D.     ภาคใต้

12. ปัจจัยใดบ้างที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการแสดงของนาฏศิลป์พื้นเมือง ?

ก.สภาพทางภูมิศาสตร์ นาฏศิลป์พื้นบ้าน วัฒนธรรม

ข.สภาพทางภูมิศาสตร์ เครื่องแต่งกาย ศิลปะท้องถิ่น ดนตรี

ค.สภาพทางภูมิศาสตร์ ประเพณี ความเชื่อ ศาสนาและค่านิยม

ง.สภาพทางภูมิศาสตร์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล

13. การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมืองชุดใดที่เน้นลีลาการเล่นเท้า ?

ก.สีนวล

ข.ตารีกีปัส

ค.ฟ้อนสาวไหม

ง.ลาวดวงเดือน

14. นาฏศิลป์พื้นเมืองพัฒนามาจากการแสดงประเภทใด ?

ก.การละเล่น

ข.การแสดงพื้นเมือง

ค.การเล่นเพลงพื้นบ้าน

ง.การร้องรำทำเพลง

15. การแสดงประเภทใดที่สอดแทรกวิถีชีวิตชาวบ้านในท้องถิ่น ?

ก.โขน

ข.ละครรำ

ค.ระบำ รำ ฟ้อน

ง.การแสดงพื้นเมือง

16. การแสดงพื้นเมืองของภาคอีสานเกิดขึ้นจากอะไร

 ก.  กิจวัตรประจำวันหรือประจำฤดูกาล

  ข. ฐานะทางเศรษฐกิจ

 ค.  ความอุดมสมบูรณ์

 ง.  รักความสนุกสนาน

17. ลักษณะการแสดงซึ่งเป็นลีลาเฉพาะของอีสานคือข้อใด

  ก. ลีลาและจังหวะในการก้าวเท้า

  ข. ลีลาและจังหวะในการใช้มือ

  ค. ลีลาและจังหวะในการใช้แขน

 ง.  ลีลาและจังหวะในการใช้ขา

18 ข้อใดเป็นการแสดงที่ไม่จัดอยู่ในพวกเดียวกัน

  ก. เซิงสวิง

 ข.  เซิงกะลา

  ค. เซิงกระติบข้าว

 ง.  รำเพลิน

19 การละครและการฟ้อนรําของไทยได้รับแบบแผนมาจากชาติใด

 ก . จีน                      ข . เขมร

 ค . ลาว                    ง. อินเดีย

20 ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกบนาฎศิลป์พื้นเมือง

 ก . สะท้อนวัฒนธรรมท้องถิ่น

 ข . ไม่มุ่งเน้นแบบแผนที่ประณีต

 ค. ไม่สามารถปรับเปลี่ยนท่ารําได้

 ง . ไม่มีข้อใดถูก

21 ระบําพื้นเมืองภาคใต้ที่เด็ดขาดคมชัดได้รับอิทธิพลจากข้อใด

 ก . ดนตรีที่ชัดเจนรวดเร็ว                             ข. วัฒนธรรมผสมระหว่างไทยและมลายู

 ค . ภาษาพูดที่รวดเร็ว                                 ง. ดินแดนชายทะเลแสดงออกถึงคลื่นพายุ

22 รําลาวกระทบไม้ดัดแปลงการแสดงเต้นสากมาจากภาคใด

ก.ภาคเหนือ                                                ข.ภาคอีสาน

ค.ภาคกลาง                                                ง.ภาคใต้

23 ข้อใดเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบการรำตารีกีปัส

  ก. ร่ม                                                         ข.พัด

   ค.หมวก                                                     ง.เทียน

24 รำวงมาตรฐานเป็นการละเล่นที่พัฒนามาจากอะไร

  ก.โขน

  ข. ฟ้อนเงี้ยว

  ค. รำโทน

  ง.รำมโนราห์

...

การละเล่นประเภทโต้ตอบกันระหว่าง ชาย

เพลงปฏิพากย์ คือ เพลงพื้นบ้านซึ่งชาย-หญิงใช้ร้องตอบโต้กัน ส่วนใหญ่จะเป็นการร้องโต้ตอบกันในเชิงเกี้ยวพาราสี โดยเพลงปฏิพากย์ถือว่าเป็นหนึ่งในวิธีการแสดงออก และโต้ตอบกฏเกณฑ์ทางสังคมที่เคร่งครัดโดยเฉพาะเรื่องเพศ รวมถึงข้อปฏิบัติอื่นๆ ในสังคมไทย

การละเล่นและการแสดงพื้นบ้านมีอะไรบ้าง

การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ ได้แก่ ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บหรือฟ้อนเมือง ฟ้อนลาวแพน ฟ้อนรัก ฟ้อนเงี้ยว ฟ้อนดวงเดือน ฟ้อนดวงดอกไม้ ฟ้อนดวงเดือน ฟ้อนมาลัย ฟ้อนไต ฟ้อนดาบ ฟ้อนโยคีถวายไฟ ระบำชาวเขา รำกลองสะบัดไช เพลงพื้นเมืองภาคเหนือ เช่น เพลงซอ เพลงชาวเหนือ เพลงดวงดอกไม้

การแสดงชุดใดที่นิยมเล่นในฤดูน้ำหลาก

การแสดงชุดใดที่นิยมเล่นในฤดูน้ำหลาก เพลงเรือ เพลงอีแซว เพลงหมอลำ เพลงพวงมาลัย

ข้อใดคือวัฒนธรรมด้านศิลปะการแสดงของคนภาคกลาง

ภาคกลางเป็นที่รวมของศิลปวัฒนธรรม การแสดงจึงมีการถ่ายทอดสืบต่อกันและพัฒนาดัดแปลงขึ้นเรื่อยๆ และออกมาในรูปแบบของ ขนบธรรมเนียมประเพณี และการประกอบอาชีพ เช่น เต้นกำรำเคียว เพลงเกี่ยวข้าว เพลงเรือ เพลงฉ่อย เพลงอีแซว ลิเก ลำตัด กลองยาว เถิดเทิง เป็นต้น บางอย่างกลายเป็นการแสดงนาฏศิลป์แบบฉบับไปก็มี เช่น รำวง และเนื่องจากเป็น ...