ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่

ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่

ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่

ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่

ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสำคัญและจำเป็นต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิต เพราะสามารถอำนวยประโยชน์ในทุกๆด้าน อาทิ เป็นที่อยู่อาศัย ใช้เป็นเครื่องนุ่งห่ม ใช้ประกอบอาหารและใช้เป็นยารักษาโรค ปัญหาสภาพแวดล้อม  เช่น มลพิษทางอากาศ มลพิษทางน้ำและขยะมูลฝอย เป็นสิ่งที่มีผลกระทบโดยตรงต่อคุณภาพชีวิตของมนุษย์

ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่

ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่
สิ่งแวดล้อม ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 และพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์ได้ทำขึ้น

ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่
สิ่งแวดล้อม ตามความหมายในทางวิชาการ หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ล้อมรอบตัวมนุษย์ มีทั้งสิ่งที่มีชีวิตและสิ่งที่ไม่มีชีวิต ทั้งสิ่งที่เป็นรูปธรรมและสิ่งที่เป็นนามธรรม   มีทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น  มีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกัน เป็นปัจจัยในการเกื้อกูลซึ่งกันและกัน  ผลกระทบจากปัจจัยหนึ่งมีส่วนเสริมสร้างหรือทำลายปัจจัยอื่นอย่างหลีกเลี่ยงมิได้  เป็นวงจรหรือวัฏจักรที่เกี่ยวเนื่องกันทั้งระบบ

ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่

สิ่งแวดล้อม แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

  1. สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ  เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า อากาศ ดิน น้ำ มนุษย์ สิ่งเหล่านี้ต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมอื่นประกอบ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทย่อย ได้แก่สิ่งที่มีชีวิต หรือเรียกว่าสิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมีคุณสมบัติเฉพาะตัวของสิ่งที่มีชีวิต เช่น พืช สัตว์ มนุษย์ และสิ่งที่ไม่มีชีวิต หรือ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ อาจจะมองเห็นหรือมอง ไม่เห็น เช่น แร่ธาตุ อากาศ เสียง
  2. สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น เป็นสิ่งที่ได้จากทรัพยากรดั้งเดิม แล้วมนุษย์เป็นผู้ดัดแปลงเช่น ถนน บ้านเมือง ซึ่งเป็นสิ่งแวดล้อมเป็นนามธรรม (Abstract หรือ Social Environment) เช่น วัฒนธรรม ประเพณี การเมือง ศาสนา กฎหมาย เป็นต้น

ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่
สิ่งแวดล้อม มีคุณสมบัติเฉพาะตัวในแต่ละประเภท สิ่งแวดล้อมนั้น ๆ อยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมอื่น ๆมีความเกี่ยวเนื่องและสัมพันธ์ต่อกันเป็นลูกโซ่ เมื่อทำลายสิ่งแวดล้อมหนึ่งย่อมส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอื่นๆ เนื่องจากสิ่งแวดล้อมจะมีลักษณะที่ทนทานต่อการถูกกระทบแตกต่างกัน

ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่
ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่

ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่

https://www.im2market.com/2015/12/23/2250

ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่
 

   
ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่
 

                   ลักษณะทางกายภาพของสิ่งแวดล้อมรอบตัว ลักษณะทางภายภาพ หมายถึง ลักษณะทางธรรมชาติที่เป็นส่วนประกอบของเปลือกโลก ที่เป็นองค์ประกอบทางภูมิศาสตร์ เช่น ขนาด ที่ตั้ง ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ พืชพรรณธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ


ที่มารูปภาพ : https://wiki.stjohn.ac.th/groups/poly_ordinarycourse1/wiki/1fa7a/

          1. ที่ตั้ง คือ การบอกตำแหน่งสถานที่ต่าง ๆ บนผิวโลก ซึ่งมีลักษณะการบอกเป็น 2 แบบ ดังนี้
                    1) ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เป็นการบอกตำแหน่งของสถานที่เป็นพิกัด เช่น
                              - หมู่บ้าน ก ตั้งอยู่ที่พิกัด ละติจูด 16 องศาเหนือ ลองติจูด 102 องศาตะวันออก
                    2) ที่ตั้งสัมพันธ์ เป็นการบอกตำแหน่งของสถานที่แวดล้อมด้วยสิ่งใดบ้าง เช่น ที่ตั้งของจังหวัดอ่างทอง
                              ทิศเหนือ จด จ. สุพรรณบุรี สิงห์บุรี และลพบุรี
                              ทิศใต้ จด จ.พระนครศรีอยุธยา
                              ทิศตะวันออก จด จ. พระนครศรีอยุธยา
                              ทิศตะวันตก จด จ. สุพรรณบุรี

          2. รูปร่าง คือ ลักษณะรูปร่างของจังหวัด ภาค ประเทศ หรือสิ่งต่าง ๆ ว่าคล้ายกับอะไร เช่น ประเทศมีรูปร่างคล้ายขวาน ประเทศอิตาลีมี รูปร่างคล้ายรองเท้าบูท

          3. ขนาด เป็นการเปรียบเทียบพื้นที่ระหว่างจังหวัด ประเทศ เช่น
                              จ. แพร่ มีพื้นที่ 6,538.59 ตารางกิโลเมตร
                              จ. พะเยา มีพื้นที่ 6,335 ตารางกิโลเมตร

          4. ลักษณะภูมิประเทศ คือ พื้นผิวที่เป็นที่สูง ที่ต่ำ ที่ราบ หุบเขา ซึ่งเป็นลักษณะทางธรรมชาติที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
                    ประเทศไทยมีลักษณะภูมิประเทศแบ่งเป็น 6 ภาค ดังนี้
                              - เขตภูเขาและที่ราบระหว่างภูเขาภาคเหนือ
                              - เขตที่ราบลุ่มภาคกลาง
                              - เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่งภาคตะวันออก
                              - เขตที่ราบสูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                              - เขตภูเขาสูงภาคตะวันตก
                              - เขตภูเขาและที่ราบชายฝั่งคาบสมุทรภาคใต้

          5. ลักษณะภูมิอากาศ คือ ลักษณะอากาศของท้องถิ่นหรือของประเทศใดประเทศหนึ่งที่เกิดขึ้นประจำเป็นเวลานาน ทั้งนี้ลักษณะภูมิอากาศ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น ที่ตั้ง ภูมิประเทศ อุณหภูมิ ลมประจำ และปริมาณน้ำฝน

          6. พืชพรรณธรรมชาติ คือ ลักษณะของชนิดและพรรณไม้ประจำถิ่นชนิดต่าง ๆ ที่ขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะภูมิอากาศ ได้แก่ ป่าไม้ และทุ่งหญ้า
                   
ป่าไม้ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
                              ป่าไม้ผลัดใบ เป็นป่าที่ต้นไม้มีใบเขียวตลอดปี มีกระจายอยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของประเทศ และป่าไม้ผลัดใบเป็นป่าที่ต้นไม้จะทิ้งใบ พร้อมกันในช่วงฤดูแล้ง เนื่องจากพื้นดินขาดน้ำ สภาพอากาศแห้งแล้งและจะผลิใบใหม่ในฤดูฝน ป่าประเภทนี้พบมากในบริเวณที่ราบและเชิงเขา
                              ทุ่งหญ้า เป็นไม้ชั้นล่างที่ขึ้นอยู่ในเขตป่าไม้ที่ถูกทิ้งร้าง เช่น หญ้าแฝก หญ้าเพ็ก หญ้าคา

ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่

ที่มารูปภาพ : http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Nan_z_doi_phuka_2006_1003.jpg

ที่มาข้อมูล : http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/1929-00/

ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่
ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่

   
ทรัพยากรธรรมชาติทางกายภาพได้แก่