เงินเข้าบัญชี เกิน 2 ล้าน แต่ ไม่ถึง 400 ครั้ง

เงินเข้าบัญชี เกิน 2 ล้าน แต่ ไม่ถึง 400 ครั้ง

22 กันยายน 2564

สรรพากร เริ่มแล้ว ตรวจสอบเงินเข้าบัญชี บุคคล เงินเข้า 3,000 ครั้งขึ้นไป เงินเข้า 400 ครั้ง และยอดรวม 2 ล้านบาทขึ้นไป กฎหมายประกาศ 21 มี.ค. 62 ส่งข้อมูล 31 มี.ค. 63

ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ

ผู้ที่ทำการส่งข้อมูล

– ธนาคาร

– สถาบันการเงิน

– Payment gateway

ข้อมูลที่ถูกส่ง จะส่งเป็นรายปี ภายในเดือนมีนาคมของทุกปี (เริ่ม มีนาคม 2563 โดยใช้ข้อมูลของปี 2562)

หลักเกณฑ์การส่งข้อมูล

– เงินเข้า (ฝาก/รับโอนเงิน) 3,000 ครั้งขึ้นไป

– เงินเข้า 400 ครั้ง และยอดเงินรวมกันตั้งแต่ 2 ล้านบาท ขึ้นไป

– ทุกบัญชีของ 1 ธนาคาร (แยกข้อมูลตามธนาคาร)

– ไม่ใช่ทุกบัญชี ทุกธนาคารรวมกัน

– บัญชีที่เปิดเป็นชื่อร่วมกัน จะถูกนำมารวมด้วย

– เงินเข้ารวมถึง ดอกเบี้ย เงินปันผล การโอนเงินระหว่างบัญชี



Advertising

ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ

ยอดเงินทั้งหมด ไม่ได้หมายความว่า เป็นรายได้ทั้งหมดของปีนั้น แล้วจะต้องนำไปคำนวนในการเสียภาษี กรมสรรพากร จะนำข้อมูลไปประมวลผลรวมกันกับภาษีเงินได้ ที่มีการยื่นเป็นปกติ ทางที่ดีควรแยกบัญชีส่วนตัวกับบัญชีธุรกิจ

เงินเข้าบัญชี เกิน 2 ล้าน แต่ ไม่ถึง 400 ครั้ง

เงินเข้าบัญชี เกิน 2 ล้าน แต่ ไม่ถึง 400 ครั้ง

เงินเข้าบัญชี เกิน 2 ล้าน แต่ ไม่ถึง 400 ครั้ง

เงินเข้าบัญชี เกิน 2 ล้าน แต่ ไม่ถึง 400 ครั้ง

โดย : กองบรรณาธิการ ธรรมนิติ

Tag

เงินเข้าห้ามเกินกี่ครั้ง

กฎหมายภาษีอีเพย์เมนต์ เริ่มบังคับใช้แล้ว มีผลให้สถาบันทางการเงินต้องรายงานข้อมูลบุคคลที่มีธุรกรรมเฉพาะให้แก่กรมสรรพากร โดยบัญชีจะต้องมีเงื่อนไขคือ มียอดฝากหรือโอนเงินเข้าทุกบัญชี 3,000 ครั้งต่อปีขึ้นไป หรือมียอดฝากหรือโอนเงินทุกบัญชีตั้งแต่ 400 ครั้งต่อปี และมียอดเงินรวมตั้งแต่ 2,000,000 บาทต่อปีขึ้นไป

สรรพากร รู้ได้ ยัง ไง เงินเข้าบัญชี ไหน

1.มีเงินเข้าบัญชี 3,000 ครั้งต่อปี โดยไม่ดูจำนวนเงินว่าแต่ละครั้งจะมีมูลค่าเท่าไร 2.มีเงินเข้าบัญชีรวมกันตั้งแต่ 400 ครั้งต่อปี และมีจำนวนเงินที่เข้าบัญชีรวมเกิน 2 ล้านบาทต่อปี โดยต้องเข้าเงื่อนไขทั้ง 2 อย่าง จึงจะถูกส่งข้อมูลธุรกรรมให้กับสรรพากร

โอนเงินเข้าบัญชี ได้กี่ครั้ง

ความเคลื่อนไหวทางบัญชีที่เข้าข่ายว่าเป็นธุรกรรมพิเศษและธนาคารต้องส่งข้อมูลให้กรมสรรพากร มี 2 กรณี คือ 1. ทำธุรกรรมฝากหรือรับโอนเงินทุกบัญชีเกิน 3,000 ครั้งต่อปีต่อธนาคาร 2. ทำธุรกรรมฝากหรือรับโอนเงินทุกบัญชีเกิน 400 ครั้งต่อปีต่อธนาคารและมียอดเงินรวมตั้งแต่ 2,000,000 บาทขึ้นไป

มีคนโอนเงินให้ต้องเสียภาษีไหม

หลายคนก็คงคุ้นเคยกับการได้รับเงินและการให้เงินกับพ่อแม่ ญาติพี่น้อง หรือแม้แต่เพื่อนสุดที่รักอยู่แล้ว แต่ทราบหรือไม่ว่า "การให้โดยเสน่หา" เหล่านี้ ต้องเสียภาษีด้วย ซึ่งจัดเป็น “ภาษีการรับให้