องค์การสันนิบาตชาติ หน้าที่

วันที่นำเข้าข้อมูล 1 ก.ย. 2562

วันที่ปรับปรุงข้อมูล 14 พ.ย. 2565

| 23,690 view

  • หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 : การประชุมสันติภาพ ณ กรุงปารีส (The Paris Peace Conference) เห็นชอบให้มีการจัดตั้งสันนิบาตชาติ
  • 28 มิถุนายน 2462 (ค.ศ. 1919) : สันนิบาตชาติ (The League of Nations : LN)
  • สมาชิกก่อตั้ง : 42 ประเทศ
  • สำนักงานใหญ่ : นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
  • จุดมุ่งหมาย : ป้องกันสงครามและความขัดแย้งในอนาคต
  • 24 ตุลาคม 2488 (ค.ศ.1945) : สหประชาชาติ (United Nations : UN)
  • ประเทศร่วมก่อตั้ง 51 ประเทศ
  • ประเทศร่วมก่อตั้ง 51 ประเทศ
  • กฎบัตรสหประชาชาติ (UN Charter)
    • มีเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และหลักการ ตลอดจนกระบวนการดำเนินงานและบริหารงานต่างๆ ขององค์การสหประชาชาติ ถือเป็นตราสารก่อตั้งที่สถาปนาองค์การให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ
  • มีผลบังคับใช้หลังจากที่ประเทศจีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และประเทศอื่นๆ จำนวน 46 ประเทศ ให้สัตยาบัน
  • การประชุมสมัชชาฯ ครั้งแรก : กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร (10 ม.ค. 2489)
  • สำนักงานใหญ่ : นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกาศ
  • สมาชิก : 193 ประเทศ (ประเทศสมาชิกล่าสุด คือ สาธารณรัฐเซาท์ซูดาน – 9 ก.ค. 2554)

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
  2. เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างประชาชาติทั้งหลาย โดยเคารพหลักการแห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเอง
  3. เพื่อให้บรรลุถึงความร่วมมือระหว่างประเทศในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมหรือมนุษยธรรม และการส่งเสริม/สนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพสำหรับทุกคน โดยไม่เลือกปฏิบัติในเรื่องเชื้อชาติ เพศ ภาษาหรือศาสนา
  4. เพื่อเป็นศูนย์กลางสำหรับประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งหลายให้กลมกลืนกัน

PREAMBLE

“WE THE PEOPLES OF THE UNITED NATIONS DETERMINED … to save succeeding generations from the scourge of war, which twice in our lifetime has brought untold sorrow to mankind”

หลักการสำคัญของสหประชาชาติ

  1. หลักความเสมอภาคในอธิปไตย: ทุกรัฐมีความเสมอภาคกันในอำนาจอธิปไตย ประเทศสมาชิกสหประชาชาติจึงมีสิทธีเสียงเท่าเทียมกันไม่ว่าจะเป็นประเทศใหญ่หรือเล็ก
  2. หลักความมั่นคงร่วมกัน: ประเทศสมาชิกต้องรวมกำลังกันเพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงร่วมกัน โดยต้องยอมรับและปฏิบัติตามข้อผูกพันตามกฎบัตร โดยเฉพาะคำวินิจฉัยของคณะมนตรีความมั่นคงระหว่างประเทศ
  3. หลักเอกภาพระหว่างมหาอำนาจ: กฎบัตรให้ความรับผิดชอบพิเศษแก่มหาอำนาจ 5 ประเทศเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงระหว่างประเทศ และให้สิทธิยับยั้ง (Veto)
  4. หลักการไม่ใช้กำลังและการระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี: เพื่อจำกัดความขัดแย้งทั้งหลายให้อยู่ในขอบเขต ไม่กระทบสันติภาพโดยส่วนรวม
  5. หลักความเป็นสากลขององค์กร: เปิดกว้างแก่รัฐที่รักสันติทั้งปวง และให้ประเทศที่ไม่ได้เป็นสมาชิกพึงปฏิบัติตามหลักการของสหประชาชาติเท่าที่จำเป็นแก่การรักษาสันติภาพ
  6. หลักการเคารพเขตอำนาจศาลภายใน: ไม่มีข้อความใดในกฎบัตรที่ให้อำนาจแก่สหประชาชาติเข้าแทรกแซงกิจการที่อยู่ในเขตอำนาจภายในของรัฐ

วันสันนิบาตชาติ ตรงกับวันที่ 10 มกราคมของทุกปี เป็นวันก่อตั้งองค์การระหว่างรัฐบาลทั่วโลกแห่งแรก เพื่อปกป้องสันติภาพของโลก

รู้หรือไม่ ทุกวันที่ 10 มกราคมเป็นวันสันนิบาตชาติ ซึ่งก่อตั้งขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1920 ภายหลังจากการประชุมสันติภาพปารีส ซึ่งสงครามโลกครั้งที่หนึ่งได้ยุติลง โดยมีประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน (Woodrow Wilson) ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาเป็นผู้เสนอ ซึ่งเป็นองค์การที่แก้ปัญหากรณีพิพาทระหว่างประเทศด้วยสันติวิธีและดำรงสันติภาพอันถาวร

เป้าหมายหลักขององค์กรสันนิบาตชาติ คืออะไร

เป้าหมายหลักขององค์กรสันนิบาตชาติ คือ การป้องกันไม่ให้เกิดสงครามผ่านทางการรักษาความปลอดภัยโดยรวม การลดอาวุธและยุติข้อพิพาทระหว่างประเทศผ่านทางการเจรจาและอนุญาโตตุลาการ และสนธิสัญญาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สหภาพแรงงาน การปฏิบัติตัวต่อประชากรชาวพื้นเมือง การค้าขายมนุษย์และยาเสพติดที่ผิดกฎหมาย การค้าขายอาวุธปืน สุขภาพทั่วโลก เชลยสงคราม และการปกป้องชนกลุ่มน้อยในยุโรป

โดยกติกาสัญญาของสันนิบาตชาติได้ถูกลงนามเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ซึ่งเป็นส่วนที่หนึ่งของสนธิสัญญาแวร์ซาย และมีผลบังคับใช้ร่วมกับสนธิสัญญาอื่น ๆ เมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1920 ซึ่งการประชุมครั้งแรกของสมัชชาสันนิบาตได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1920

ขณะที่ประเทศที่เป็นฝ่ายชนะในสงครามโลกครั้งที่ 1 ทุกประเทศได้ลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพ เป็นสมาชิกขององค์การสันนิบาตชาติโดยอัตโนมัติ โดยประเทศที่แพ้สงครามสามารถเข้าร่วมได้ แต่ต้องปฏิบัติตามสนธิสัญญาสันติภาพให้เรียบร้อยเสียก่อน ส่วนประเทศอื่น ๆ หากต้องการเข้าเป็นสมาชิกต้องได้รับความเห็นชอบจากการออกเสียง 2 ใน 3 ของประเทศสมาชิก แต่สหรัฐอเมริกาแม้จะเป็นผู้ริเริ่มแต่ก็ไม่ได้เป็นสมาชิก เนื่องจากสภาคองเกรสไม่ยอมให้สัตยาบัน โดยอ้างว่าต้องปฏิบัติตามวาทะมอนโร ซึ่งมีนโยบายไม่ยุ่งเกี่ยวและแทรกแซงทางการเมืองของประเทศฝั่งยุโรป

วัตถุประสงค์ขององค์การสันนิบาตชาติ มีอะไรบ้าง

วัตถุประสงค์ที่สำคัญที่สุดขององค์การสันนิบาตชาติคือการดำรงสันติภาพและป้องกันสงครามในอนาคต โดยมีหลักการในความร่วมมือกัน ดังนี้

1. ร่วมมือกันรักษาความปลอดภัยและความมั่นคงระหว่างประเทศ

2. เป็นองค์การกลางในการตัดสินชี้ขาดกรณีพิพาทระหว่างประเทศ

3. ร่วมมือกันดำเนินการลดกำลังอาวุธยุทโธปกรณ์

4. ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อเปิดสัมพันธ์ทางการทูต

ผลงานขององค์การสันนิบาตชาติ มีอะไรบ้าง

องค์การสันนิบาตชาติได้มีคำตัดสินมอบหมู่เกาะอาลันด์อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยของฟินแลนด์ แต่ต้องเป็นดินแดนปลอดทหารและมีสถานภาพกึ่งทางการ หลังจากที่เมื่อปี ค.ศ.1917 สวีเดนและฟินแลนด์แย่งกันครอบครอง หมู่เกาะอาลันด์ (Aland Islands) โดย สวีเดนถือโอกาสนำกำลังทหารบุกยึด แต่ถูกกองทัพเยอรมันที่สนับสนุนฟินแลนด์ขับไล่เสียก่อน

ที่มาข้อมูล : https://socialsw110.weebly.com/

ที่มาภาพ : AFP

  • เกาะติดข่าวที่นี่
  • Website : www.tnnthailand.com
  • Facebook : TNNONLINE
  • Facebook Live : TNN LIVE
  • Twitter : TNNONLINE
  • Line : @TNNONLINE
  • Youtube official : TNNONLINE
  • Instagram : TNN_ONLINE
  • Tiktok : @TNNONLINE

วัตถุประสงค์ที่สำคัญที่สุดของสันนิบาตชาติ คืออะไร

วัตถุประสงค์ที่สำคัญที่สุดขององค์การสันนิบาตชาติคือการดำรงสันติภาพและป้องกันสงครามในอนาคต โดยมีหลักการในความร่วมมือกัน ดังนี้ 1. ร่วมมือกันรักษาความปลอดภัยและความมั่นคงระหว่างประเทศ 2. เป็นองค์การกลางในการตัดสินชี้ขาดกรณีพิพาทระหว่างประเทศ 3. ร่วมมือกันดำเนินการลดกำลังอาวุธยุทโธปกรณ์

องค์การสันนิบาตชาติก่อตั้งเมือใด

10 มกราคม 2463สันนิบาตชาติ / ก่อตั้งnull

การดำเนินงานขององค์การสันนิบาตชาติจะมีองค์กรต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่รับผิดชอบทั้งหมดกี่องค์กร

องค์กรที่สำคัญมี 3 องค์กรคือ: สมัชชา (Assembly) เป็นที่ประชุมใหญ่ขององค์การ ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทั้งหมด มีหน้าที่พิจารณาปัญหาต่าง ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อสันติภาพของโลก

องค์การสหประชาชาติมีวัตถุประสงค์หลักอะไรบ้าง

วัตถุประสงค์ เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างประชาชาติทั้งหลาย โดยเคารพหลักการแห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเอง