ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

 ประเภทของภาพกราฟิก   มี 2  แบบ  คือ  

   2 มิติ  และ  3 มิติ 

 ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ 

เป็นภาพที่พบเห็นโดยทั่วไป เช่น ภาพถ่าย รูปวาด ภาพลายเส้น สัญลักษณ์ กราฟ รวมถึงการ์ตูนต่าง ๆ ในโทรทัศน์ ยกตัวอย่างเช่น การ์ตูนเรื่องพิภพยมราช ชินจัง และ โดเรมอน เป็นต้น ซึ่งการ์ตูนจะเป็นภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Animation) โดยจะมีกระบวนการสร้างที่ซับซ้อนกว่า ภาพวาดปกติ 

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

       ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ

  เป็นภาพกราฟิกที่ใช้โปรแกรมสร้างภาพ 3 มิติโดยเฉพาะ เช่น โปรแกรม 3 Ds max โปรแกรม Maya เป็นต้น ซึ่งจะทาให้ได้ภาพมีสีและแสงเงาเหมือนจริง เหมาะกับงานด้านสถาปัตย์และการ ออกแบบต่าง ๆ รวมถึงการสร้างเป็นภาพยนตร์การ์ตูนหรือโฆษณาสินค้าต่าง ๆ เช่น การ์ตูน เรื่อง Nemo The Bug และปังปอนด์แอนิเมชัน เป็นต้น 

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

++ คลิกเพื่อ ดูตัวอย่าง ++

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ชนิดภาพและประเภทไฟล์ในงานกราฟิก

ในการทำงานกราฟิก การทราบชนิดภาพและประเภทไฟล์ในงานกราฟิกเป็นสิ่งสำคัญ เพราะจะช่วยให้เราได้งานและอาร์ตเวิร์คตามที่ต้องการ เพื่อใช้ในงานโฆษณาต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นชนิดภาพ ประเภทไฟล์ ความละเอียดของภาพ โหมดสีในงาน สิ่งเหล่านี้เป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่กราฟิกดีไซน์ต้องมีความรู้

ชนิดภาพกราฟิก Bitmap&Vector

ภาพที่ใช้ในการทำงานกราฟิก จัดอาร์ตเวิร์ค หรือจัดเลย์เอาท์ จะมีอยู่ 2 แบบคือ ภาพแบบ Bitmap และภาพแบบ Vector

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

Bitmap

คือภาพที่เกิดจากจุดสีสี่เหลี่ยมเล็กๆ มีสีสันต่างๆ ที่เรียกว่า จุดพิเซล(pixel) มาเรียงต่อกันจนเกิดเป็นรูปภาพ ตัวอย่างของภาพชนิดนี้ก็คือ รูปภาพที่เราเห็นโดยทั่วไป เช่นภาพถ่าย และภาพที่เราเห็นใน Internet ข้อดีของภาพแบบBitmap คือสามารถเปิดดูได้ง่าย ไม่ต้องใช้โปรแกรมเฉพาะ ข้อเสียคือขยายขนาดใหญ่มากๆ เกินความละเอียดภาพที่กำหนดไว้ไม่ได้เพราะจะทำให้ภาพแตก เห็นเป็นตารางPixel ทันที ดังนั้นหากต้องการใช้เป็นขนาดใหญ่ ต้องกำหนดความละเอียดไว้สูงๆ ตั้งแต่ต้นทาง นั้นก็จะทำให้ขนาดไฟล์ภาพใหญ่ขึ้นตามไปด้วย ไฟล์ตระกูลรูปภาพ เช่น JPG, BMP, TIFF หรือ PNG

Vector

คือภาพที่เกิดจากสูตรคำนวณทางคณิตศาสตร์ ส่วนใหญ่จะเป็นภาพวาดลายเส้น เช่นภาพวาดจากโปรแกรม Illustrator ไฟล์ Vector จะเรียกว่าเป็นไฟล์ดิบ ข้อดีของไฟล์ภาพชนิดนี้คือ สามารถย่อ-ขยาดภาพได้โดยไม่เสียรายละเอียด คือไม่แตกนั่นเอง จนกว่าจะนำไปแปลงเป็นไฟล์ Bitmap เพื่อเปลี่ยนรูปภาพแล้วนำไปใช้งาน ข้อเสียคือ ต้องใช้โปรแกรมเฉพาะในการเปิดไฟล์ เช่นไฟล์ Ai จะต้องเปิดกับโปรแกรม Illustrator เท่านั้น

กำหนดความละเอียดของภาพ (Resolution)

ในส่วนของภาพ Bitmap การกำหนด่าความละเอียดของภาพก็เป็นสิ่งสำคัญ เพราะจะทำให้ชิ้นงานได้ผลลัพธ์ออกมาดี ภาพนำไปใช้งานไม่แตกเบลอ เหมาะสมกับลักษณะของงานที่จะนำไปใช้ โดยแต่ละลักษณะงานมีการกำหนดค่าความละเอียดภาพดังนี้

  • ค่าความละเอียด 72 Pixel/Inch : สำหรับการแสดงบนจอคอมพิวเตอร์ เช่น ภาพโฆษณาบนสื่อโซเซียลมีเดีย ภาพงานบนเว็บไซต์ รูปภาพต่างๆ บนออนไลน์
  • ค่าความละเอียด 150 Pixel/Inch : สำหรับภาพที่จะนำไปพิมพ์บนอุปกรณ์ Printer งานพิมพ์ทั่วไปขนาดเล็กและขนาดกลาง
  • ค่าความละเอียด 300 Pixel/Inch : สำหรับงานพิมพ์ที่เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ขนาดใหญ่ ปกหนังสือ โปสเตอร์ ป้ายโฆษณาคัทเอาท์ งานพิมพ์ Inkjet ขนาดใหญ่ งานพิมพ์ออฟเซ็ตต่างๆ

ประเภทไฟล์ในงานกราฟิก

ไฟล์แต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับงานกราฟิกในรูปแบบที่แตกต่างกันไป ดังนั้นการเลือกบันทึก Save เป็นไฟล์ในชนิดที่เหมาะสม จะทำให้ได้งานที่ต้องการ กระบวนการทำงานที่รวดเร็วขึ้นและเหมาะสม ดังนั้นผู้ใช้งานกราฟิกควรรู้จึกชนิดของไฟล์ และนักออกแบบกราฟิกเลือกใช้ให้เหมาะสม ได้แก่

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ไฟล์ JPEG เป็นไฟล์ภาพที่นิยมใช้งานบนอินเตอร์เน็ต หรือรูปภาพดิจิตอล

ข้อดี : ไฟล์จะถูกบีบอัดจนมีขนาดไม่ใหญ่มาก เปิดได้เร็ว ใช้ในงานพิมพ์ Inkjet ได้
ข้อเสีย : ไม่เหมาะสมกับงานพิมพ์ที่ต้องการคุณภาพสูง

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ไฟล์ BMP เป็นไฟล์ภาพของระบบปฎิบัติการ Windows

ข้อดี : เก็บรายละเอียดของรูปได้มาก เหมาะสำหรับนำไปตกแต่งต่อ
ข้อเสีย : ไฟล์ใหญ่เปิดดูได้ช้าและไม่รองรับโหมดสีสิ่งพิมพ์ CMYK จึงนำไปใช้ในงานสื่อสิ่งพิมพ์ไม่ได้

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ไฟล์ TIFF เป็นไฟล์ภาพที่เก็บรายละเอียดของงานได้ครบถ้วนสมบูรณ์

ข้อดี : สามารถบันทึกเลเยอร์เก็บไว้ใช้ต่อได้ ใช้ได้ทั้ง Windows และ Mac รองรับโหมดสี CMYK
ข้อเสีย : ไฟล์ใหญ่เปิดดูได้ช้า และใช้โปรแกรมเฉพาะในการแก้ไข

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ไฟล์ PNG เป็นไฟล์ภาพที่ถูกบีบอัดมีขนาดเล็กมากๆ

ข้อดี : สามารถบันทึกให้มีพื้นหลังแบบโปร่งใสได้ เหมาะสำหรับงานเว็บไซต์ งานบนอินเตอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์
ข้อเสีย : ไม่เหมาะสมกับงานพิมพ์

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ไฟล์ PSD เป็นไฟล์ที่สร้างจากโปรแกรม Photoshop 

ข้อดี : สามารถบันทึกการแก้ไขต่างๆ และแยกเลเยอร์เอาไว้ สำหรับนำกลับมาแก้ไขตกแต่งต่อไปได้ ส่งโรงพิมพ์ได้
ข้อเสีย : ไฟล์มีขนาดใหญ่มาก

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ไฟล์ AI เป็นไฟล์ภาพ Vector ภาพที่เกิดจากการวาดภาพ สร้างจากโปรแกรม Illustrator

ข้อดี : สามารถส่งไฟล์นี้เข้าโรงพิมพ์ได้ สามารถแก้ไขและตกแต่งต่อไปได้ รองรับโหมดสี CMYK และ RGB
ข้อเสีย : ไม่สามารถเปิดในโปรแกรมทั่วไปได้ เปิดดูได้ในโปรแกรม Illustrator หรือโปรแกรมของ Adobe

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ไฟล์ EPS เป็นไฟล์ภาพที่ถูกแปลงออกมาจากไฟล์ที่ทำงานในโปรแกรม Illustrator

ข้อดี : สามารถส่งไฟล์นี้เข้าโรงพิมพ์ได้ ตัวไฟล์จะดึงรูปภาพที่ใช้ในการทำงานมาฝังไว้ในไฟล์ด้วย รองรับโหมดสี CMYK และ RGB
ข้อเสีย : ไม่สามารถเปิดในโปรแกรมทั่วไปได้ เปิดดูได้ในโปรแกรม Illustrator หรือโปรแกรมของ Adobe

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ไฟล์ PDF เป็นไฟล์ที่มีระบบรักษาความปลอดภัยค่อนข้างดี

ข้อดี : เก็บความละเอียดได้มาก ไฟล์มีขนาดเล็ก รองรับงานพิมพ์งานเอกสารในระดับโรงพิมพ์ สามารถเปิดดูได้ในหลายโปรแกรม และยังทำเป็นไฟล์ E Book หนังสือออนไลน์ได้อีกด้วย
ข้อเสีย : หากมีการแก้ไขงานหรือตกแต่งเพิ่มเติมอาจทำได้ยาก หรือต้องใช้โปรแกรมเฉพาะในการแก้ไข

โหมดสี RGB & CMYK

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

คือรูปแบบการผสมสี เพื่อนำไปใช้กับงานประเภทต่างๆ โดยโหมดสีทั้ง 2 แบบ มีความเหมาะสมกับงานที่แตกต่างกันออกไป

RGBโหมดสีสำหรับแสดงผลบนหน้าจอ เป็นโหมดสีที่เกิดจากการผสมของแม่สีทางแสง 3 สี ได้แก่ สีแดง (Red), สีเขียว (Green) และสีน้ำเงิน (Blue) นำไปใช้ในการแสดงผลบนหน้าจอ เหมาะกับงานอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ งานออนไลน์ และงานมัลติมีเดียทุกชนิด สีโหมดนี้มีความสด และค่าอิ่มตัวสูง ไม่เหมาะสำหรับระบบสื่อสิ่งพิมพ์

CMYK โหมดสีสำหรับงานสิ่งพิมพ์ เป็นโหมดสีที่เกิดจากการผสมกันของแม่สีทางวัตถุ หรือแม่สีที่เป็นหมึกพิมพ์จริงๆ ให้ผลลัพธ์ตรงกับสีธรรมชาติมากที่สุด ได้แก่ สีฟ้า (Cyan), สีบานเย็น (Magenta), สีเหลือง (Yellow) และสีดำ (Black) นำไปใช้ในงานสื่อสิ่งพิมพ์ทุกชนิด

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

ภาพกราฟิกแบ่งออกเป็นกี่ประเภท


ประเภทของรูปภาพแบ่งออกเป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง

รูปแบบชนิดของภาพแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ ภาพแบบ บิตแมป( Bitmap ) หรือ ราสเตอร์( Raster ) คือภาพที่เกิดจากหน่วยภาพเล็กๆมารวมกันจนเป็นภาพใหญ่คล้ายจิ๊กซอร์สามารถดูได้โดยการซูมภาพเข้าไปกล่าวคือภาพเหล่านี้ยิ่งซูม(ขยาย)ยิ่งแตก จนดูไม่รู้เรื่อง เช่นภาพนามสกุล .JPEG, . TIFF,.GIF และ PNG เป็นต้น

ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ แบ่งออกเป็น 2 แบบ มีอะไรบ้าง

ภาพกราฟิก 2 มิติแบบ Raster และ แบบ Vector.

ภาพกราฟิกที่ใช้กับคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

1.1 กราฟิก (Graphics) 1.2 คอมพิวเตอร์กราฟิก (Computer Graphics) มี2 แบบคือ 1.2.1 ภาพกราฟิกแบบ 2 มิติ 1.2.2 ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ

ภาพกราฟิกแบบ 3 มิติ คืออะไร

คอมพิวเตอร์กราฟิกส์สามมิติหรือ เรขภาพคอมพิวเตอร์สามมิติ คืองานกราฟิกส์ที่สร้างขึ้นโดยใช้คอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์เพื่องานคอมพิวเตอร์กราฟิกส์สามมิติ หรือหมายรวมถึงวิทยาการที่เกี่ยวข้อง เช่นคณิตศาสตร์และกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์