ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง

˹���á

�ç���¹��¹�Ӽ�� 㹾���ػ����� �

����������ѧ���֡����ʹ�����Ѳ�����

��úѭ ˹��·�� 1 ���ɰ��ʵ�����ͧ�� 1.3 �ѭ�Ҿ�鹰ҹ�ҧ���ɰ��ʵ��       ��÷���Ѿ�ҡ��ըӡѴ�������º�Ѻ������ͧ��âͧ�����������������ҧ���ӡѴ ������Դ�ѭ�Ҿ�鹰ҹ ���ɰ��ʵ�����Ӥѭ��� "�ѭ�ҡ�âҴ�Ź" ��觡������Դ�ѭ�ҡ�èѴ�к���Ե (�ѭ�ҡ�èѴ��÷�Ѿ�ҡ�) �������Ӥѭ�ͧ�ѭ�ҡ�èѴ��÷�Ѿ�ҡ� ��� �м�Ե���� ���ҧ�� ��������� (What, how, for whom)       �ҡ�ѭ�Ҿ�鹰ҹ�ҧ���ɰ�Ԩ��������С�� �������Դ�ѭ�ҵ�ҧ�ա�ҡ����� �ҷ� ��õѴ�Թ㨢ͧ˹��¸�áԨ ���͡��Ե�Թ����͡���ҡ���Թ����鹵�Ҵ ������Ҥ��Թ��ҹ�鹶١ŧ ����������Ե��͹��͹ �Ҩ�Ҵ�ع ����㹢�����ǡѹ��Ե��Թ����ա���ҧ�����Թ价�����Թ��ҢҴ��Ҵ ���Դ�š�з���ͼ������� �������͡��Ե�Թ������Ѻ���ҧ�����������Դ��������繸�����ѧ�� ���͡�ù�෤����� �������ͧ�ѡ��Ҽ�Ե�Թ��� ᷹�ç�ҹ�� ������Դ�ѭ�ҡ����ҧ�ҹ ��á�Ш����������������� ������Դ�ѭ���ѧ��������繵� 1. �м�Ե���� : What ��ü�Ե�Թ���-��ԡ������ 㹻���ҳ����
2. �м�Ե���ҧ�� : How �����Ѿ�ҡ������ҧ�ջ���Է���Ҿ�ҡ����ش
3. �м�Ե������ : For whom �С�Ш���Թ��Һ�ԡ�������� What : �м�Ե�Թ������� ���ͧ�ҡ��Ѿ�ҡ��ըӹǹ�ӡѴ ������������ö��Ե �Թ�����к�ԡ�� �ӹǹ�ҡ� ��ء��Դ ����ʹͧ������ͧ��âͧ����������ѧ�� �֧���繵�ͧ���͡ ��Ե�Թ�����к�ԡ�úҧ������ ��м�Ե����ҳ����� �ҷ� ��Ҩл�١����⾴�ҡ ��л�١���������ŧ ���ͧ�ҡ��鹷���ըӹǹ�ӡѴ How : �м�Ե���ҧ�� �����Ըա�ü�ԵẺ�˹ ��ͧ��Ѩ��¡�ü�Ե���ú�ҧ �ӹǹ����� �֧�з����鹷ع��ü�Ե�������ջ���Է���Ҿ�ҡ �������������٧�ش �ҷ� �л�١���� ��������ͧ�ѡ�㹡�����ҹ ���ͨл�١�����¡�����ç�ҹ���ѡ�� ��Ẻ㴴����س�Ҿ��л���ҳ�ҡ����ش㹾�鹷��ӡѴ For whom :�м�Ե������ ����ͷӡ�ü�Ե�Թ�����к�ԡ���������� �è��繼�������ª�� ��ШШ�˹��¨���ᨡ�Թ�����������������ҧ��        㹻Ѩ�غѹ����ȵ�ҧ� �ջѭ�Ҿ�鹰ҹ�ҧ���ɰ�Ԩ������¤�֧�ѹ ���ͧ�ҡ�������ʹաѹ �����ҧ��Ѿ�ҡ÷����Ҽ�Ե�Թ�����к�ԡ�� �Ѻ������ͧ��ú������ͧ������ �֧���ҧ����Ȩ�����ö��Ե�Թ�����к�ԡ�â�鹾�鹰ҹ�����ҧ��§�� 㹡�ô�ç���Ե��ͻѨ��� 4 ����� ����ͧ������ ������������������ѡ���ä ���������ѧ��ͧ��ä����дǡʺ����觢�� �֧������Դ�ѭ������ �����

ในการดำเนินชีวิตในประจำวันนั้นมีการใช้ชีวิตที่ต้องเจอกับปัญหาต่างๆ  โดยเฉพาะเรื่องความเป็นอยู่พื้นฐานของเรา  อารใช้ปัจจัยสี่ในการใช้ชีวิต  โดยเฉพราะการใช้จ่ายอย่างไรให้เพียงพอและสามารถเกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับสำหรับคนที่ใช้จ่ายอย่างไร  ซึ่งปัญหาเหล่านี้ทางผู้ผลิตจึ้งต้องทราบก่อนที่จะผลิตสินค้าป้อนเข้าสู่ตลาด  ซึ่งทราบกันดีว่าทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างไม่จำกัดอย่างไรจึงทำให้เกิดวิชาศึกษาเศรษฐศาสตร์ขั้นมา  และปัญหาพื้นทางเศษฐกิจนั้น  แบ่งเป็น 2 ด้านคือ ด้านจุลภคและด้านมหาภาค
1. ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค ได้แก่
– จะผลิตอะไร  จะผลิตอะไรบ้างให้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างไม่จำกัรดแต่มีวัตถุดิบที่ใช้ผลิตมีจำกัด
– ผลิตอย่างไร  จะผลิตอย่างไรให้ได้ต้นทุกที่ต่ำที่สุดให้ได้ปริมาณที่มากที่สุด  สินเปลืองค่าใช้จ่ายให้น้อยที่สุด  จะผลิตอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ
– จะผลิตเพื่อใคร เป็นการเลือกลุ่มผู้บริโภคว่าต้องการที่จะผลิตให้กับกลุ่มเป้าหมายประเภทใดมากที่สุด  หรือว่ากลุ่มใดได้ประโยชน์ที่ได้รับสินค้าของเรา จัดสรรอย่างไรให้ถูกต้อง
2. ปัญหาทางเศรษฐศาสตร์มหาภาค ได้แก่
– ปัญหาเรื่องแรงงาน  ที่ต้องแก้ไข  อย่างเช่นอัตราการว่างงาน และเกี่ยวกับทางการเกิด  เงินเฟ้อ อัตราค่าเงินต่าง
– ปัญหาเรื่องการผลิต  การผลิตสินค้าและการควบคุมการผลิตสินค้าให้มีความต้องการของคนในประเทศ
สำหรับปัญหาทางเศรษฐกิจนั้นไม่ว่าจะเป็นระบบใดก็ไม่ก็ล้วนที่ต้องเจอในทุกๆระบบบ
– ทรัพยกรที่มีอยู่มีจำกัด  ทุกประเทศนั้นจะมีทรัพยากรที่จำกัด  ไม่ว่าจะเป็นแรงงานหรือไม่ก็วัตถุดิบ ขึ้นอยู่กับแต่ละประเทศ  ยังรวมไปถึงองค์ความรู้ที่ใช้ในการผลิตสินค้าด้วย
– ความต้องการไม่จำกัด  ด้วยความต้องการของคนไม่มีจำกัด  ดังดั้นทรัพยากรที่มีอยู่จึงไม่เพียงต่อความต้องการ  จึงต้องใช้กลไกลของตลาด

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ คือ ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการที่ทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อใช้ในการผลิตสินค้านั้นมีอยู่อย่างจำกัด ไม่สามารถที่จะตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้ทั้งหมด

ฉะนั้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องหาทางเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งถือว่าได้ว่า เป็นปัญหาทางเศรษฐกิจที่บุคคล กลุ่มบุคคล และรัฐจะต้องหาทางแก้ไข้

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่เกิดจากกรณีที่ทรัพยากรมีอยู่อย่างจำกัด จะเกิดขึ้นเหมือนกันหมด ไม่ว่าจะใช้ระบบเศรษฐกิจแบบใด หรือจะเป็นประเทศใดก็ตาม ซึ่งปัญหาดังกล่าวมีดังนี้

1. ปัญหาว่าจะผลิตอะไร (What to be produced)

ปัญหาแรกของปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจก็คือ ควรผลิตสินค้าและบริการอะไรบ้าง นั้นเพราะไม่สามารถผลิตสินค้าและบริการได้ทุกชนิด เนื่องจากทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด หรือมีความขาดแคลน ดังนั้น สังคมต้องตัดสินใจว่า ควรจะผลิตสินค้าอะไรบ้าง ถึงจะสามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ดีที่สุด

ไม่เพียงเท่านั้น เมื่อตัดสินใจได้ว่าจะผลิตอะไร ก็ต้องตัดสินใจต่อไปด้วยว่า จะผลิตสินค้าและบริการดังกล่าวนั้นในจำนวนเท่าใด เพื่อที่จะสามารถผลิตสินค้าและบริการอื่น ๆ ได้ด้วย ทั้งนี้ จะต้องไม่ลึมคำนึงถึงปริมาณทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด หรือมีความขาดแคลนด้วย

2. ปัญหาว่าผลิตอย่างไร (How to produce)

ในการผลิตสินค้าแต่ละชนิดนั้น อาจมีกรรมวิธีในการผลิตหลากหลายวิธี แต่จะต้องคำนึงว่า วิธีใดที่จะช่วยให้สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการผลิตได้มากที่สุดโดยได้ผลผลิตมากที่สุด ซึ่งเป็นเรื่องทางเทคนิค ทั้งนี้ ก็เพื่อให้ใช้ปัจจัยการผลิตได้อย่างคุ้มค่ามากที่สุด

ที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะ ทรัพยากรหรือปัจจัยในการผลิตนั้น มีอยู่อย่างจำกัด การที่จะนำปัจจัยการผลิตไปผลิตสินค้าอย่างหนึ่งอย่างใด ย่อมทำให้เหลือทรัพยากรไปผลิตอย่างอื่นน้อยลง ดังนั้น จึงทำให้เกิดการเลือกว่า จะใช้วิธีการในการผลิตอย่างไร โดยใช้ทรัพยากรให้น้อยที่สุด

3. ปัญหาว่าจะผลิตเพื่อใคร (For whom)

เป็นปัญหาในเรื่องการพิจารณาว่า จะผลิตสินค้าไปเพื่อใคร หรือให้ใคร หรือควรจะจัดสรรไปให้กับใครบ้าง ใครจะได้รับสินค้ามากน้อยเพียงใด ถึงจะทำให้ก่อเกิดประโยชน์สูงสุดจากการใช้ทรัพยากร

นั้นก็เพราะว่า ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด แต่มนุษย์มีการเพิ่มประชากรขึ้นเรื่อย ๆ การจัดสรรสินค้าทุก ๆ อย่าง ให้แก่คนทุก ๆ คน ย่อมเป็นไปไม่ได้ จึงทำให้เกิดปัญหาการเลือกว่า จะผลิตเพื่อใครและใครควรได้รับหรือไม่ได้รับสินค้าดังกล่าว

จากที่ได้กล่าวมาเกี่ยวกับ “ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ” สาเหตุหลักของการเกิดปัญหาดังกล่าวทั้ง 3 ข้อก็คือ ทรัยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด และจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะเรื่องจำนวนประชากร เป็นประเด็นสำคัญจนถึงขึ้นทำให้เกิดปัญหาขึ้นมาทีเดียว

ที่จำนวนประชากรเป็นปัญหานั้นก็เพราะว่า จำนวนประชากรมีผลต่อความขาดแคลน กล่าวคือ ทรัยากรมีอยู่อย่างจำกัด แต่ประชากรเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งเป็นเรื่องปกติที่จะทำให้เกิดความขาดแคลนได้

นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษ ชื่อ โทมัส โรเบิร์ต มัลทัส (Thomas Robert Malthas) ได้ศึกษาเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับประชากร กล่าวคือ ความสามารถในการผลิตอาหารของมนุษย์มีอัตราก้าวหน้าเลขคณิต (Arithmetic Progression) คือ เพิ่มจาก 1 เป็น 2, 3, 4…. ส่วนประชากรจะเพิ่มขึ้นเป็นอัตราก้าวหน้าเรขาคณิต (Geometric Progression) คือ เพิ่มจาก 1 เป็น 2, 4, 8, 16…

นอกจากการเพิ่มขึ้นของประชากรแล้ว อัตราการเสียชีวิตของประชากรก็มีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ อันเนื่องมาจากความก้าวหน้าด้านสาธารณสุข ทำให้ประชากรมีอายุยาวนานขึ้น

ด้วยการเพิ่มขึ้นของประชากร บวกกับการเสียชีวิตที่น้อยลง ทำให้จำนวนประชากรที่มีชีวิตมีจำนวนมากขึ้น ทำให้ความต้องการในการบริโภคเพิ่มขึ้น แต่ทรัพยากรยังคงมีอยู่อย่างจำกัด จึงทำให้เกิดปัญหาความขาดแคลน และด้วยเหตนี้เอง จึงทำให้เกิดปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ว่า จะผลิตอะไร จะผลิตอย่างไร และจะผลิตเพื่อใคร

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจมีอะไรบ้าง

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (Basic Economics Problems) ✓ จะผลิตอะไร (What to produce) ✓ จะผลิตอย่างไร (How to produce) ✓ จะผลิตเพื่อใคร (Produce for whom) จัดสรรทรัพยากรเพื่อผลิต สินค้าและบริการให้ได้รับความพอใจสูงสุด ความต้องการมีไม่จ่ากัด ทรัพยากรมีจ่ากัด

ปัญหาทางเศรษฐกิจมีกี่ประเภทอะไรบ้าง

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ มีอยู่ 3 ประเภท 1. ผลิตอะไร ผู้ผลิตต้องเลือกว่าจะผลิตสินค้าและบริการอะไรบ้าง จะผลิตจำนวนเท่าไรควรจะผลิต อะไรก่อนหลัง เพื่อสนองตอบต่อความต้องการของผู้บริโภคให้มากที่สุด 2. ผลิตอย่างไร ผู้ผลิตต้องเลือกวิธีการผลิตสินค้าและบริการให้มีต้นทุนการผลิตต่ำสุด

หาพื้นฐานทางเศรษฐกิจมีอะไรบ้าง

ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ คือ ปัญหาที่เกิดจากการที่ทรัพยากรมีอยู่อย่างจำกัด ในขณะที่ต้องผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการที่มีอยู่ไม่จำกัดของมนุษย์ ทำให้ทุกประเทศต้องพบกับปัญหาทางเศรษฐศาสตร์ (Economics Problem) 3 ข้อ คือ What to Produce, How to Produce, และ For Whom to Produce.

พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์ของแต่ละประเทศมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร

ในปัจจุบันประเทศต่างๆ มีปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่คล้ายคลึงกัน เนื่องจากความไม่พอดีกัน ระหว่างทรัพยากรที่นำมาผลิตสินค้าและบริการ กับความต้องการบริโภคของมนุษย์ ถึงแม้บางประเทศจะสามารถผลิตสินค้าและบริการขั้นพื้นฐานได้อย่างเพียงพอ ในการดำรงชีวิตคือปัจจัย 4 อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค แต่มนุษย์ยังต้องการ ...