สถาบันการเงินที่แบ่งตามหน้าที่ในการดำเนินการมีกี่ประเภท

5     การมีคุณธรรม นักเรียนจะต้องเป็นผู้มีคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต ต่อตนเองและผู้อื่นไม่สนับสนุนหรือส่งเสริมผู้ที่ประพฤติมิชอบ  มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความสามัคคี  ให้ความร่วมมือทำกิจกรรมของโรงเรียนและชุมชนและเข้าร่วมเป็นสมาชิกของกลุ่มต่าง  ๆที่ชุมชนจัดขึ้นเพื่อฝึก  เรียนรู้  การทำงาน   ความรับผิดชอบ  ความซื่อสัตย์  ความโปร่งใสและความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 

             ในสภาพแรงงานบรรดาลูกจ้างจะรวมกันโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้เกิดกำลังเป็นปึกแผ่น เพื่อต่อรองกับนายจ้างในเรื่องผลประโยชน์ของการทำงานหรือสวัสดิการของลูกจ้าง บางครั้งอาจใช้วิธีการรุนแรงเพื่อบังคับให้นายจ้างปฏิบัติตามที่ลูกจ้างเรียกร้อง สำหรับการร่วมมือกันแบบสหกรณ์นั้นสมาชิกจะร่วมมือกันจัดการประกอบการขึ้น แล้วสมาชิกก็อาศัยบริการนั้นให้เป็นประโยชน์แก่อาชีพหรือการครองชีพของสมาชิกร่วมกัน การทำงานของสหกรณ์เป็นวิธีการที่ไม่ก่อความเดือดร้อนหรือเรียกร้องให้ใครช่วยแต่จะติดต่อกับบุคคลภายนอกเกี่ยวกับธุรกิจซื้อขายตามปกติ

1สถาบันการเงินแบ่งตามลักษณะของกิจการ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. สถาบันการเงินที่ประกอบกิจการธนาคาร หมายถึง สถาบันการเงินที่ดำเนินงานรับฝากเงินที่สามารถไถ่ถอนคืนได้ และให้กู้ยืม เป็นช่องทางการเชื่อมโยงระหว่างผู้ออมกับผู้ต้องการเงินทุน ได้แก่ ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ 2. สถาบันการเงินที่ไม่ได้ประกอบกิจการธนาคาร


สถาบันการเงินที่แบ่งตามหน้าที่ในการดำเนินการมีกี่ประเภท

คุณครู Qanda -

1. ธนาคาร 1.1 ธนาคารกลาง หมายถึง สถาบันทางการเงินของรัฐซึ่งมีอำนาจหน้าที่ควบคุมปริมาณเงินและเครดิตของประเทศ ให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าและเสถียรภาพต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ แต่ต้องอยู่ภายใต้นโยบายของรัฐบาล ไม่ได้แสวงหาผลกำไรเป็นผลตอบแทนเหมือนกับธนาคารพาณิชย์ ได้แก่ ธนาคารแห่งประเทศไทย 1.2 ธนาคารพาณิชย์ หมายถึง ธนาคารที่ประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ต้องจ่ายเงินคืนเมื่อต้องทวงถาม หรือเมื่อสิ้นระยะเวลาที่กำหนดไว้ รวมทั้งให้กู้ยืมหรือสินเชื่อแก่ประชาชน ให้บริการซื้อขายตั๋วแลกเงิน หรือซื้อขายเงินตราต่างประเทศ 1.3 ธนาคารที่มีวัตถุประสงค์เป็นพิเศษ ได้แก่ 1) ธนาคารออมสิน เป็นธนาคารของรัฐบาล มีหน้าที่รับฝากเงินจากประชาชนทั่วไป โดยเฉพาะผู้มีเงินออมรายย่อย ออกพันธบัตร สลากออมสิน รับฝากเงินในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อสงเคราะห์ชีวิตและการศึกษาโดยเฉพาะเยาวชนของชาติ และกิจกรรมอื่น ๆ เช่น ปล่อยเงินกู้ให้ผู้มีรายได้น้อยในวงเงินต่ำ คนทั่วไปจึงเรียกว่า ธนาคารคนจน 2) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ เป็นธนาคารของรัฐบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความอนุเคราะห์แก่ประชาชนเกี่ยวกับการกู้ยืม เพื่อนำไปซื้อที่ดินหรืออาคารสิ่งปลูกสร้าง หรือซ่อมแซมต่อเติม ไถ่ถอนการจำนองที่ดินและอาคาร หรือเพื่อการลงทุนในกิจการการเคหะ พร้อมกับรับฝากเงินของประชาชนทั่วไปด้วย 3) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สังกัดกระทรวงการคลัง ตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินแก่เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรือสหกรณ์การเกษตร ในรูปของการกู้ยืมเงินในอัตราดอกเบี้ยต่ำ เพื่อนำไปลงทุนด้านการเกษตร 2. สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร 2.1 บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์จำกัด 2.2 บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 2.3 บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม 2.4 บริษัทเครดิตฟองซิเอร์ 2.5 บริษัทประกันภัยและบริษัทประกันชีวิต 2.6 สหกรณ์ออมทรัพย์ 2.7 โรงรับจำนำ

​​​​​​​หมายถึง สถาบันการเงินของรัฐที่มีกฎหมายเฉพาะจัดตั้งขึ้น เพื่อดำเนินการตามนโยบายของรัฐในการพัฒนาส่งเสริมเศรษฐกิจ และสนับสนุนการลงทุนต่าง ๆ โดยอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลังซึ่งได้มอบหมายให้ ธปท. ทำหน้าที่ตรวจสอบผลการดำเนินงานและความเสี่ยง และรายงานผลการตรวจสอบไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

SFIs แบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่

1. สถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ทำหน้าที่เป็นธนาคารที่ให้บริการทางการเงินทั้งด้านเงินฝากและให้สินเชื่อ ซึ่งปัจจุบันมี 4 แห่ง คือ

สถาบันการเงินที่แบ่งตามหน้าที่ในการดำเนินการมีกี่ประเภท
 

1.1 ธนาคารออมสิน (Government Savings Bank)


เป็นรัฐวิสาหกิจที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชกำหนดบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2540 มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย โดยนำหลักการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (Securitization) มาใช้เพื่อระดมทุนสำหรับการขยายสินเชื่อที่อยู่อาศัยให้เพียงพอ รวมทั้งช่วยแก้ปัญหาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของประเทศ ​(ศึกษารายละ​เอีย​ดเพิ่มเติม)   ​​

    สถาบันการเงินสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท  ได้แก่  ธนาคาร  และสถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร

     1.  ธนาคาร
          1.1  ธนาคารกลาง  หมายถึง  สถาบันทางการเงินของรัฐซึ่งมีอำนาจหน้าที่ควบคุมปริมาณเงินและเครดิตของประเทศ  ให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าและเสถียรภาพต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ  แต่ต้องอยู่ภายใต้นโยบายของรัฐบาล  ไม่ได้แสวงหาผลกำไรเป็นผลตอบแทนเหมือนกับธนาคารพาณิชย์  ได้แก่  ธนาคารแห่งประเทศไทย
          1.2  ธนาคารพาณิชย์  หมายถึง  ธนาคารที่ประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ต้องจ่ายเงินคืนเมื่อต้องทวงถาม  หรือเมื่อสิ้นระยะเวลาที่กำหนดไว้  รวมทั้งให้กู้ยืมหรือสินเชื่อแก่ประชาชน  ให้บริการซื้อขายตั๋วแลกเงิน  หรือซื้อขายเงินตราต่างประเทศ
          1.3  ธนาคารที่มีวัตถุประสงค์เป็นพิเศษ  ได้แก่
               1)  ธนาคารออมสิน  เป็นธนาคารของรัฐบาล  มีหน้าที่รับฝากเงินจากประชาชนทั่วไป  โดยเฉพาะผู้มีเงินออมรายย่อย  ออกพันธบัตร  สลากออมสิน  รับฝากเงินในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อสงเคราะห์ชีวิตและการศึกษาโดยเฉพาะเยาวชนของชาติ  และกิจกรรมอื่น ๆ เช่น  ปล่อยเงินกู้ให้ผู้มีรายได้น้อยในวงเงินต่ำ  คนทั่วไปจึงเรียกว่า  ธนาคารคนจน
               2)  ธนาคารอาคารสงเคราะห์  เป็นธนาคารของรัฐบาล  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความอนุเคราะห์แก่ประชาชนเกี่ยวกับการกู้ยืม  เพื่อนำไปซื้อที่ดินหรืออาคารสิ่งปลูกสร้าง  หรือซ่อมแซมต่อเติม  ไถ่ถอนการจำนองที่ดินและอาคาร  หรือเพื่อการลงทุนในกิจการการเคหะ  พร้อมกับรับฝากเงินของประชาชนทั่วไปด้วย
               3)  ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)  สังกัดกระทรวงการคลัง  ตั้งขึ้นเพื่อช่วยเหลือด้านการเงินแก่เกษตรกร  กลุ่มเกษตรกร  หรือสหกรณ์การเกษตร  ในรูปของการกู้ยืมเงินในอัตราดอกเบี้ยต่ำ  เพื่อนำไปลงทุนด้านการเกษตร

     2.  สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร
          2.1  บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์จำกัด  มีวัตถุประสงค์คล้ายกับธนาคารพาณิชย์มากที่สุด  คือ  ระดมาเงินออมโดยออกตราสารเครดิตหรือตั๋วแลกเงินเพื่อเป็นหลักฐานในการกู้เงินจากประชาชน
          2.2  บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่กิจการอุตสาหกรรมเอกชน
          2.3  บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่อุตสาหกรรมขนาดย่อมและอุตสาหกรรมครัวเรือน
          2.4  บริษัทเครดิตฟองซิเอร์  มีวัตถุประสงค์ในการกู้ยืมเงินเพื่อการซื้อที่ดิน  สร้างบ้านหรือผ่อนส่ง
          2.5  บริษัทประกันภัยและบริษัทประกันชีวิต  เป็นสถาบันทางการเงินที่ช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้ผ่อนหนักเป็นเบาได้  สถาบันนี้ไม่ค่อยประสบผลสำเร็จเพราะขาดการประชาสัมพันธ์  และประชาชนไม่เห็นผลประโยชน์ที่พึงได้รับจากการนำเงินไปลงทุน  ทำให้หลายบริษัทล้มเหลวและในที่สุดขาดความมั่นคงให้กับผู้ประกันภัย
          2.6  สหกรณ์ออมทรัพย์  เป็นสถาบันการเงินที่ประชาชนเริ่มเห็นคุณค่าและเห็นประโยชน์ของการร่วมมือเพื่อช่วยเหลือชุมชน  หรือกลุ่มบุคคลที่มีความคิดในแนวเดียวกัน  จัดทำขึ้นเพื่อออมทรัพย์และจัดทำหน่วยธุรกิจของกลุ่มตนเอง  หรือชุมชน
          2.7  โรงรับจำนำ  เป็นสถาบันการเงินขนาดย่อม  มี 3 ประเภท  คือ  โรงรับจำนำเอกชน  โรงรับจำนำของกรมประชาสงคราะห์  โรงรับจำนำของเทศบาล  ซึ่งได้ให้บริการกู้ยืมเงินแก่บุคคลทั่วไป  โดยรับจำนำสิ่งของเครื่องใช้ต่าง ๆ

ที่มา : http://together1711.wordpress.com/ประเภทของสถาบันการเงิน/

         http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/1918-00/

สถาบันการเงินที่แบ่งตามลักษณะของกิจการมีกี่ประเภท

สถาบันการเงินแบ่งตามลักษณะของกิจการ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1. สถาบันการเงินประเภทธนาคาร หมายถึง สถาบันการเงินด าเนินงานรับฝาก เงินที่สามารถไถ่ถอนคืนได้ และให้กู้ยืม เป็นช่องทางการเชื่อมโยงระหว่างผู้ออมกับผู้ ต้องการเงินทุน ได้แก่ ธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารพาณิชย์ ธนาคารที่มีวัตถุประสงค์ เฉพาะ

สถาบันการเงินมี2ประเภทมีอะไรบ้าง

1. ธนาคารกลาง (Central Bank) 2. ธนาคารพาณิชย์ (Commercial Bank)

สถาบันทางการเงินที่สําคัญของไทย มีอะไรบ้าง

SFIs แบ่งออกเป็น 2 ประเภทได้แก่.
1. สถาบันการเงินเฉพาะกิจที่ทำหน้าที่เป็นธนาคารที่ให้บริการทางการเงินทั้งด้านเงินฝากและให้สินเชื่อ ซึ่งปัจจุบันมี 4 แห่ง คือ.
1.1 ธนาคารออมสิน (Government Savings Bank) ... .
1.3 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (Government Housing Bank) ... .
1.4 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย (Islamic Bank of Thailand).

ธนาคารแบ่งออกเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง

ธนาคารแบ่งออกเป็น กี่ประเภทประเภท ๑. ธนาคารแห่งประเทศไทย ๒. ธนาคารพาณิชย์ ๓. ธนาคารที่มีวัตถุประสงค์พิเศษ