สารเสพติดมี กี่ ประเภท อะไร บาง

หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุชนิดใดๆ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่าจะโดยรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใดๆ แล้วทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำคัญ เช่น ต้องเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเป็นลำดับ มีอาการถอนยาเมื่อขาดยา มีความต้องการเสพทั้งทางร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงตลอดเวลา  และสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง  ซึ่งรวมถึงพืชหรือส่วนของพืชที่เป็นหรือให้ผลผลิตเป็นยาเสพติดให้โทษ   หรืออาจใช้ผลิต เป็นยาเสพติดให้โทษ และสารเคมีที่ีใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษด้วย 
แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ
ยาเสพติดให้โทษในประเภทที่ 1 ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง เช่น เฮโรอีน
ยาเสพติดให้โทษในประเภทที่ 2 ยาเสพติดให้โทษทั่วไป เช่น มอร์ฟีน โคคาอีน โคเดอีน ฝิ่นยา  ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต นำเข้า หรือส่งออกยาเสพติดให้โทษในประเภท 2 ในกรณีที่มีไว้จำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองต้องได้รับอนุญาต
ยาเสพติดให้โทษในประเภทที่ 3 ยาเสพติดให้โทษที่มีลักษณะเป็นตำรับยา และมียาเสพติดให้โทษในประเภท2ผสมอยู่ด้วย ตามหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต จำหน่าย นำเข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 3 เว้นแต่ได้​รับอนุญาต  ทั้งนี้ ไม่ใช้บังคับกับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผู้ประกอบการโรคศิลปะแผนปัจจุบันชั้นหนึ่ง  สาขาทันตกรรม จำหน่ายให้แก่คนไข้ของตน หรือผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์ชั้นหนึ่ง จำหน่ายใช้กับสัตว์ที่ตนบำบัดหรือป้องกันโรค 
ยาเสพติดให้โทษในประเภทที่ 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 หรือประเภท 2 เช่น Acetic Anhydride ใช้ในการลักลอบผลิตเฮโรอีน , Anthranilic acid  เป็นต้น

สารเสพติด หมายถึง สารหรือยาที่อาจเป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ หรือจากการสังเคราะห์ ซึ่งเมื่อเสพเข้าสู่ร่างกายไม่ว่าจะโดย การกิน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประการใดๆ แล้วจะทำให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจในลักษณะสำคัญ เช่น ต้องเพิ่มขนาดการเสพขึ้นเรื่อยๆ, มีอาการอยากยาเมื่อขาดยา, มีความต้องการเสพทั้งร่างกายและจิตใจอย่างรุนแรงและต่อเนื่อง ส่งผลต่อสุขภาพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลง

สารเสพติดมี กี่ ประเภท อะไร บาง

การแบ่งประเภทของสารเสพติด แบ่งได้ 4 วิธี คือ

1. แบ่งตามแหล่งกำเนิด
2. แบ่งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522
3. แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
4. แบ่งตามองค์การอนามัยโลก

กฎหมายประเทศไทยยึดการกำหนดโทษตาม พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 โดยแบ่งสารเสพติดให้โทษ เป็น 5 ประเภท ดังนี้

- ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 ได้แก่ เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตามีน หรือยาบ้า ยาอีหรือยาเลิฟ

- ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทนี้สามารถนำมาใช้เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ได้ แต่ต้องใช้ภายใต้การควบคุมของแพทย์ และใช้เฉพาะกรณีที่จำเป็นเท่านั้น ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน โคเคน หรือโคคาอีน โคเคอีน และเมทาโดน

- ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 3 ยาเสพติดประเภทนี้เป็นยาเสพติดให้โทษที่มียาเสพติดประเภทที่ 2 ผสมอยู่ด้วย มีประโยชน์ทางการแพทย์ การนำไปใช้เพื่อจุดประสงค์อื่น หรือเพื่อเสพติด จะมีบทลงโทษกำกับไว้ ยาเสพติดประเภทนี้ ได้แก่ ยาแก้ไอ ที่มีตัวยาโคเคอีน ยาแก้ท้องเสีย ที่มีฝิ่นผสมอยู่ด้วย ยาฉีดระงับปวดต่างๆ เช่น มอร์ฟีน เพทิดีน ซึ่งสกัดมาจากฝิ่น

- ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 4 คือสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 หรือประเภทที่ 2 ยาเสพติดประเภทนี้ไม่มีการนำมาใช้ประโยชน์ในการบำบัดโรคแต่อย่างใด และมีบทลงโทษกำกับไว้ด้วย ได้แก่ น้ำยาอะเซติคแอนไฮไดรย์ และอะเซติลคลอไรด์ ซึ่งใช้ในการเปลี่ยนมอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน สารคลอซูโดอีเฟดรีน สามารถใช้ในการผลิตยาบ้าได้ และวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทอีก 12 ชนิด ที่สามารถนำมาผลิตยาอีและยาบ้าได้

- ยาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 เป็นยาเสพติดให้โทษที่มิได้เข้าข่ายอยู่ในยาเสพติดประเภทที่ 1 ถึง 4 ได้แก่ ทุกส่วนของพืชกัญชา ทุกส่วนของพืช กระท่อม เห็ดขี้ควาย เป็นต้น

ส่วนการแบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่

1. ยาเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน สารระเหย และยากล่อมประสาท
2. ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน กระท่อม และโคคาอีน
3. ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มพี และ เห็ดขี้ควาย
4. ยาเสพติดประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน กล่าวคือ อาจกดกระตุ้น หรือหลอนประสาทได้พร้อมๆ กัน ตัวอย่างเช่น กัญชา

สารเสพติดอยู่ในร่างกายได้กี่วัน

สารเสพติดมี กี่ ประเภท อะไร บาง

ขั้นตอนตรวจสอบสารเสพติดในร่างกายของผู้เสพประจำ และผู้เสพไม่ประจำ ตรวจจากปัสสาวะ และมีโอกาสพบตกค้างอยู่ในร่างกาย ดังนี้

1. แอมเฟตามีน พบอยู่ในร่างกาย 1-3 วัน
2. เมทแอมเฟตามีน พบอยู่ในร่างกาย 1-3 วัน
3. ยาอี พบอยู่ในร่างกาย 1-3 วัน
4. กัญชา พบอยู่ในร่างกาย 2-5 วัน
5. โคเคน พบอยู่ในร่างกาย 12-48 ชั่วโมง
6. มอร์ฟีน พบอยู่ในร่างกาย 12-48 ชั่วโมง
7. โคเคอีน พบอยู่ในร่างกาย 1-3 วัน
8. เบนโซไดอาซิปินส์ พบอยู่ในร่างกาย 2-5 วัน

1. แอมเฟตามีน พบอยู่ในร่างกาย 2-6 วัน
2. เมทแอมเฟตามีน พบอยู่ในร่างกาย 2-6 วัน
3. ยาอี พบอยู่ในร่างกาย 2-6 วัน
4. กัญชา พบอยู่ในร่างกาย 4-14 วัน
5. โคเคน พบอยู่ในร่างกาย 1-4 วัน
6. มอร์ฟีน พบอยู่ในร่างกาย 2-6 วัน
7. โคเคอีน พบอยู่ในร่างกาย 2-5 วัน
8. เบนโซไดอาซิปินส์ พบอยู่ในร่างกาย 4-14 วัน

1. แอมเฟตามีน พบอยู่ในร่างกาย 2-3 สัปดาห์
2. เมทแอมเฟตามีน พบอยู่ในร่างกาย 2-3 สัปดาห์
3. ยาอี พบอยู่ในร่างกาย 2-3 สัปดาห์
4. กัญชา อาจพบอยู่ในร่างกาย 2-3 เดือน
5. โคเคน อาจพบอยู่ในร่างกาย 2-3 สัปดาห์
6. มอร์ฟีน อาจพบอยู่ในร่างกาย 2-3 สัปดาห์
7. โคเคอีน อาจพบอยู่ในร่างกาย 2-3 สัปดาห์
8. เบนโซไดอาซิปินส์ อาจพบอยู่ในร่างกาย 1 เดือน

โทษของคดียาเสพติดไม่ได้มีแค่ผู้เสพ และผู้ขายอย่างเดียว ผู้ผลิตและผู้ที่ครอบครองไว้ก็มีโทษเช่นกัน คนในครอบครัวควรสังเกตญาติพี่น้อง ที่มีอาการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ น้ำหนัก รูปร่าง ควบคู่กัน เพื่อให้คำแนะนำและช่วยเหลือให้ห่างไกลสารเสพติดเหล่านี้ได้

เสพยามีกี่วิธี

๓. วิธีการเสพยาเสพติด ๓.๑ สอดใต้หนังตา ๓.๒ สูบ ๓.๓ ดม ๓.๔ รับประทานเข้าไป

สิ่งเสพติดมีอะไรบ้าง

พืชกระท่อมเป็น 1 ในพืช 4 ชนิดที่อยู่ในบัญชียาเสพติดให้โทษประเภทที่ 5 ของ พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ได้แก่ กัญชา พืชกระท่อม พืชฝิ่น และเห็ดขี้ควาย

พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 แบ่งออกเป็นกี่ประเภท

แบ่งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ ..2522 ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ 1 ได้แก่ เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตามีน หรือยาบ้า ยาอีหรือยาเลิฟ

ยาเสพติดให้โทษแบ่งเป็นกี่ประเภท 2565

๓. แบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท ซึ่งแบ่งออกเป็นประเภท คือ ๓.๑ ยาเสพติดประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน สารระเหย และยากล่อมประสาท ๓.๒ ยาเสพติดประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน กระท่อม และ โคคาอีน ๓.๓ ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มพี และ เห็ดขี้ควาย