การทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ เมื่อทำงาน ครบ 1 กลวัตร เพลาข้อเหวี่ยงหมุนไปกี่องศา

ความรู้

ประเภทและหลักการทำงานของเครื่องยนต์

การทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ เมื่อทำงาน ครบ 1 กลวัตร เพลาข้อเหวี่ยงหมุนไปกี่องศา

สิ่งแวดล้อมในวันนี้ คือมรดกที่ดีของลูกหลาน ร่วมกันอนุรักษ์พลังงานเพื่อโลกและบ้านของเรา

วันนี้น้ำไหล พรุ่งนี้น้ำหมด วันนี้สว่างไสว พรุ่งนี้มืดมน ขาดพลังงานจลน์ ไม่น่ากลัวเท่าจนพลังงาน เรียนรู้เครื่องยนต์ จะได้รู้คุณค่าของพลังงาน ที่เราได้ใช้ไปให้คุ้มค่ามากที่สุด

การทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ เมื่อทำงาน ครบ 1 กลวัตร เพลาข้อเหวี่ยงหมุนไปกี่องศา

ประเภทและหลักการทำงานของเครื่องยนต์

Petrol

  • อุณหภูมิการจุดระเบิดในห้องเผาไหม้ 1,100 องศาเซลเซียส แรงดัน 5 เมกะปาสคาล
  • อุณหภูมิไอเสียจากการจุดระเบิดเชื้อเพลิง 400-900 องศาเซลเซียส


Diesel

  • อุณหภูมิการจุดระเบิดในห้องเผาไหม้ 2,600 องศาเซลเซียส แรงดัน 10 เมกะปาสคาล
  • อุณหภูมิไอเสียจากการจุดระเบิดเชื้อเพลิง 200-700 องศาเซลเซียส

หลักการทำงานของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ

  • เครื่องยนต์ 2 จังหวะ หมายถึง เพลา ข้อเหวี่ยงหมุน 1 รอบ (1 กลวัตร) เครื่องยนต์ทำงานไป 2 จังหวะ
  • เครื่องยนต์ 2 จังหวะ คือ เครื่องยนต์ที่ทำงาน 2 ช่วงชัก คือช่วงชักที่ 1 คือช่วงชักดูดกับอัด และ ช่วงชักที่ 2 คือช่วงชักระเบิดและคาย และเครื่องยนต์ 2 ช่วงชักจะไม่มีวาล์วเปิดปิดไอดีไอเสีย แต่จะใช้ลูกสูบเป็นตัวเปิดปิดไอดีไอเสียแทน ซึ่งเครื่องยนต์ 2 ช่วงชักจะทำงานรอบจัดกว่าเครื่องยนต์ 4 จังหวะ และการเผาไหม้ก็มีประสิทธิภาพด้อยกว่าเครื่องยนต์ 4จังหวะ
  • เครื่องยนต์ 2 จังหวะทำงานเหมือนกับเครื่องยนต์ 4 จังหวะ แต่ใช้เพียง 2 จังหวะเท่านั้น เมื่อใช้ชิ้นส่วนน้อยกว่า เครื่องยนต์ 2 จังหวะจึงมีขนาดเล็กกว่า น้ำหนักเบากว่า ยุ่งยากน้อยกว่า และราคาถูกกว่าเครื่องยนต์ 4จังหวะ
  • การบำรุงรักษาเครื่องยนต์ 2 จังหวะ เพื่อให้เครื่องยนต์ทำงานได้นุ่มนวล คุณต้องใช้น้ำมันเครื่องสำหรับ 2 จังหวะคุณภาพสูง น้ำมันเครื่องที่ดีไม่เพียงช่วยทำความสะอาดเครื่องยนต์ ลดแรงเสียดทาน และระบายความร้อน ยังต้องมีประสิทธิภาพด้านความประหยัดด้วย

การทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ เมื่อทำงาน ครบ 1 กลวัตร เพลาข้อเหวี่ยงหมุนไปกี่องศา

หลักการทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ

  • เครื่องยนต์ 4 จังหวะ หมายถึง เพลา ข้อเหวี่ยงหมุน 2 รอบ เครื่องยนต์ทำงานไป 4 จังหวะ

การทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ เมื่อทำงาน ครบ 1 กลวัตร เพลาข้อเหวี่ยงหมุนไปกี่องศา

หลักการทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ คือ

  1. intake (จังหวะดูด) ลูกสูบจะเคลื่อนที่ลง ในขณะที่วาล์วเปิดออก เมื่อไอดีถูกดูดเข้ากระบอกสูบ วาล์วจึงจะปิดลง
  2. compression (จังหวะอัด) ลูกสูบในจุดต่ำสุดจะวิ่งขึ้นไป ไอดีจะถูกอัดให้มีขนาดเล็กลง
  3. power (จังหวะระเบิด) เมื่อลูกสูบอยู่ในจุดที่สูงที่สุด จะเกิดประกายไฟที่หัวเทียน ไอดีจะถูกเผาไหม้จนได้กำลังงานออกมา และจะถูกส่งผ่านไปยังเพลาข้อเหวี่ยง
  4. exhaust (จังหวะคลายไอเสีย) เมื่อลูกสูบอยู่ในจุดที่ต่ำที่สุด จะเกิดการเคลื่อนที่ขึ้น ไอเสียก็จะถูกขับออกไป เมื่อลูกสูบอยู่ในจุดสูงสุดก็จะเคลื่อนที่ลง วาล์วไอเสียก็จะปิด และวาล์วไอดีจะเปิดออก เพื่อเริ่มจังหวะดูดอีกครั้ง

การทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ เมื่อทำงาน ครบ 1 กลวัตร เพลาข้อเหวี่ยงหมุนไปกี่องศา

รูปที่ 2. แสดง การทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ

การทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ

โดยในที่นี้เครื่องยนต์เป็นแบบเครื่องยนต์เบนซิน จุดระเบิด ด้วยหัวเทียน

จากรูปที่ 2. (Induction) จังหวะดูด คือ เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ลงวาล์วไอดีจะเปิด-วาล์วไอเสียปิด ไอดีจะถูกบรรจุเข้ามายังกระบอกสูบ (เพลาข้อเหวี่ยงหมุนประมาณ 180 องศา)

จากรูปที่ 2. (Compression) จังหวะอัด คือ เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นวาล์วไอดีปิด-วาล์วไอเสียปิด ไอดีจะถูกอัดภายในกระบอกสูบ (เพลาข้อเหวี่ยงหมุนประมาณ 180 องศา;รวม ประมาณ 360 องศา)

จากรูปที่ 2. (Ignition;Power) จังหวะระเบิดหรือกำลัง คือ จะเกิดประกายไฟที่เขี้ยวหัวเทียน ทำให้เกิดการเผาไหม้(ระบิด)ซึ่งมีความดันและความร้อนมากขึ้นดันหัวลูกสูบให้เคลื่อนที่ลง วาล์วไอดีปิด-วาล์วไอเสียปิด (เพลาข้อเหวี่ยงหมุนประมาณ 180 องศา;รวม ประมาณ 540 องศา)

จากรูปที่ 2. (Exhaust ) จังหวะคาย คือ เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นวาล์วไอดีปิด-วาล์วไอเสียเปิด ไอเสียภายในกระบอกสูบจะถูกลูกสูบดันออกทางวาล์วไอเสีย (เพลาข้อเหวี่ยงหมุนประมาณ 180 องศา;รวม ประมาณ 720 องศา)

**ที่ใช้เพลาข้อเหวี่ยงหมุนโดยประมาณ เพราะในการปิด เปิดของวาล์วทั้งสอง และการเกิดประกายไฟจะไม่เกิดขึ้นตามองศาที่หมุนจะมากหรือน้อยกว่านี้ ขึ้นอยู่กับมาตรฐานการออกแบบเครื่องยนต์ของแต่ละบริษัท (โดยตัวอย่างจะขอกล่าวครั้งต่อไป)

อ้างอิง : http://www.thaimachanic.com/article-66-read.html

ในเครื่องยนต์ 4 จังหวะ ลูกสูบจะทำงานเคลื่อนที่ 4 ครั้งในระหว่างการหมุน 2 รอบของเพลาข้อเหวี่ยงของเครื่องยนต์

การทำงาน 4 จังหวะได้แก่ ดูด อัด ระเบิด และคาย แต่ละจังหวะใช้การทำงานเคลื่อนที่ของลูกสูบหนึ่งครั้ง ซึ่งหมายความว่าหนึ่งรอบการทำงานต้องใช้การหมุนเพลาข้อเหวี่ยงสองรอบ

หลักการทำงานมีดังนี้

ดูด (Intake)

ลูกสูบเคลื่อนลงจากด้านบนลงล่างของกระบอกสูบ ดูดส่วนผสมของอากาศและน้ำมันเชื้อเพลิงเข้าสู่กระบอกสูบ วาล์วไอดีจะปิดเมื่อสิ้นสุดจังหวะดูด

อัด (Compression)

เมื่อวาล์วไอดีปิด ลูกสูบจะเคลื่อนที่จากล่างขึ้นด้านบนของกระบอกสูบ ส่วนผสมของอากาศ/น้ำมันเชื้อเพลิงในห้องเผาไหม้ของฝาสูบจะถูกอัด

ระเบิด (Power)

หัวเทียนจุดระเบิดและเผาไหม้เชื้อเพลิงที่อัดตัว น้ำมันเชื้อเพลิงที่เผาไหม้ขยายตัว และดันลูกสูบลงล่าง

คาย (Exhaust)

ในช่วงสิ้นสุดของจังหวะระเบิด วาล์วไอเสียจะเปิด จากนั้นลูกสูบจะเคลื่อนที่ขึ้นสู่ด้านบนพร้อมจัดการกวาดเอาไอเสียผ่านวาล์วและออกจากกระบอกสูบ ก่อนจะเข้าสู่จังหวะดูดอีกครั้ง เช่นนี้วนไปเรื่อยๆ

การบำรุงรักษาเครื่องยนต์ 4 จังหวะของคุณ

เพื่อให้เครื่องยนต์ทำงานได้นุ่มนวล คุณต้องใช้น้ำมันเครื่องสำหรับรถจักรยานยนต์ 4 จังหวะคุณภาพสูง น้ำมันเครื่องที่ดีไม่เพียงช่วยทำความสะอาดเครื่องยนต์ ลดแรงเสียดทาน และระบายความร้อน ยังต้องมีประสิทธิภาพด้านความประหยัดด้วย ค้นหาว่าน้ำมันเครื่องเชลล์ แอ๊ดว้านซ์ สามารถช่วยให้เครื่องยนต์ของคุณมีประสิทธิภาพสูงสุดได้อย่างไร

ข้อมูลอ้างอิงจาก Wikipedia และ animatedengines.com

การทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ เมื่อทำงานครบ 1 กลวัฏ เพลาข้อเหวี่ยงหมุนไปกี่องศา

วัฎจักรการทางานของเครื่องยนต์เล็กดีเซลแบบ 4 จังหวะ คือ ดูด อัด ระเบิด คาย ลูกสูบ จะขึ้นลง 4 ครั้ง เพลาข้อเหวี่ยงหมุน 2 รอบ คือ 720 องศา ดังรูปที่3.43.

การทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ เพลาข้อเหวี่ยงหมุนกี่รอบ

เครื่องยนต์ 4 จังหวะทำงานอย่างไร การทำงาน 4 จังหวะได้แก่ ดูด อัด ระเบิด และคาย แต่ละจังหวะใช้การทำงานเคลื่อนที่ของลูกสูบหนึ่งครั้ง ซึ่งหมายความว่าหนึ่งรอบการทำงานต้องใช้การหมุนเพลาข้อเหวี่ยงสองรอบ

เครื่องยนต์ 4 จังหวะ หมุนครบกี่รอบถึงครบจังหวะการทำงาน

หลักการทำงานของ เครื่องยนต์ 4 จังหวะ ในการทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะนั้น จะมีรอบการทำงานเป็น Cycle โดยเพลาข้อเหวี่ยงจะหมุน 2 รอบ ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของลูกสูบขึ้นลง 4 ครั้ง โดยเคลื่อนขึ้น 2 ครั้ง ลง 2 ครั้ง การที่ลูกสูบขึ้นลง 4 ช่วงชัก ทำให้เกิดการทำงานขึ้น 4 จังหวะ โดยมีหลักการทำงานดังนี้

1 กลวัตร เพลาลูกเบี้ยวของเครื่องยนต์ 4 จังหวะหมุนกี่รอบ

· จังหวะ คือการเคลื่อนที่ของลูกสูบจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง · จังหวะการทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ คือ จังหวะดูด จังหวะอัด จังหวะระเบิด (จังหวะกำลัง) และจังหวะคาย · กลวัตรหรือวัฏจักร (Cycle) คือเครื่องยนต์ทำงานครบ 4 จังหวะหรือเพลาข้อเหวี่ยงหมุน 2 รอบ