ค่าน้ำประปานครหลวงหน่วยละกี่บาท 2565

ประเภทที่ 1 บ้านอยู่อาศัย

1.1 อัตราปกติปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน

ค่าพลังงานไฟฟ้า
15 หน่วย (กิโลวัตต์ชั่วโมง) แรก (หน่วยที่ 1 – 15) หน่วยละ 2.3488 บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16 – 25) หน่วยละ 2.9882 บาท
10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26 – 35) หน่วยละ 3.2405 บาท
65 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 36 – 100) หน่วยละ 3.6237 บาท
50 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 101 – 150) หน่วยละ 3.7171 บาท
250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 – 400) หน่วยละ 4.2218 บาท
เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป) หน่วยละ 4.4217 บาท
ค่าบริการ (บาท/เดือน) : 8.19  

1.3 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (Time of Use Tariff : TOU Tariff )

 ค่าพลังงานไฟฟ้า (บาท/หน่วย)ค่าบริการ (บาท/เดือน)
  On Peak Off Peak  
1.3.1 แรงดัน 12 – 24 กิโลโวลต์ 5.1135 2.6037 312.24
1.3.2 แรงดันต่ำกว่า 12 กิโลโวลต์ 5.7982 2.6369 38.22

On Peak

เวลา 09.00 - 22.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์

Off Peak

เวลา 22.00 - 09.00 น. วันจันทร์ - วันศุกร์
เวลา 00.00 - 24.00 น. วันเสาร์ - วันอาทิตย์ วันแรงงานแห่งชาติ
วันหยุดราชการตามปกติ (ไม่รวมวันพืชมงคลและวันหยุดชดเชย)

หมายเหตุ

ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภท 1.1 ที่ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 50 หน่วยต่อเดือน ยังคงได้รับสิทธิค่าไฟฟ้าฟรีถึงค่าไฟฟ้าประจำเดือนธันวาคม 2558 และตั้งแต่ค่าไฟฟ้าประจำเดือนมกราคม 2559 เป็นต้นไป ผู้ใช้ไฟฟ้าประเภท 1.1 ที่ได้รับสิทธิค่าไฟฟ้าฟรีจะต้องไม่เป็นนิติบุคคล และมีการใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 50 หน่วยต่อเดือนติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 เดือน นับถึงเดือนปัจจุบัน

ข้อกำหนดเกี่ยวกับอัตราค่าไฟฟ้า

    • 1

      อัตราค่าไฟฟ้าข้างต้น เป็นอัตราที่เรียกเก็บรายเดือน ที่ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม
       
    • 2

      ค่าไฟฟ้า ที่เรียกเก็บ ในแต่ละเดือน ประกอบด้วย ค่าไฟฟ้าตามอัตราค่าไฟฟ้าฐาน และ ค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้า โดย อัตโนมัติ (Ft) โดยมีการเรียกเก็บ Ft ทุกเดือน แยกเป็นรายการในใบเรียกเก็บเงินค่าไฟฟ้า ทั้งนี้ Ft ที่เรียกเก็บจะปรับเปลี่ยน ทุกๆ 4 เดือน โดยกำหนดให้ Ft เป็นอัตราคงที่ต่อหน่วยการใช้พลังงานไฟฟ้า

** อัตราค่าไฟฟ้าใหม่นี้เริ่มใช้ตั้งแต่ค่าไฟฟ้า ประจำเดือนพฤศจิกายน 2561 เป็นต้นไป**

วันนี้จะมาแนะนำค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายกันทุกสิ้นเดือนนั้นก็คือการคำนวณค่าไฟและค่าน้ำ ว่าแต่ละเดือน บ้านเราใช้ไปเท่าไหร่ และเยอะเกินไปไหม ซึ่งก็อาจจะคำนวณค่าใช้จ่ายต่อเดือนได้เลย หรือจะใช้โปรแกรมคำนวณก็ได้ แต่สำหรับผู้ที่อยากลองคำนวณเองก็สามารถเข้ามาดูที่บทความนี้ได้เลยครับ 

สูตรคำนวณอัตราค่าไฟบ้าน 

การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค คิดอัตราบริการต่อหน่วยเท่ากัน โดยคิดเป็นอัตราก้าวหน้า ยิ่งใช้ไฟฟ้ามากเท่าไหร่ก็ยิ่งจ่ายค่าไฟเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น ในบ้านเรือนส่วนใหญ่จะใช้กำลังไฟไม่เกิน 5 แอมแปร์ 230 โวลต์ 1 เฟส 2 สาย 

จะมีสูตรคำนวณดังนี้ 

ค่าไฟฟ้าฐาน = จำนวนยูนิต x อัตราค่ากระแสไฟฟ้าต่อหน่วย

ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร(ft) + ภาษีมูลค่าเพิ่ม (vat) = ค่าไฟฟ้า 

ค่าน้ำประปานครหลวงหน่วยละกี่บาท 2565
ค่าไฟฟ้าที่ต้องใช้จ่ายในละเดือนเราสามารถคำนวณได้ดังนี้

ความหมายของคำอธิบาย 

ค่าไฟฟ้าฐาน ก็คือ อัตราการคิดแบบลำดับขั้น ยิ่งใช้ไฟฟ้ามาก ยิ่งต้องจ่ายเพิ่มขึ้น

ค่าไฟฟ้าผันแปร = จำนวนพลังไฟฟ้า x ค่า Ft (หน่วยละ - 11.60 สตางค์/หน่วย)

ภาษีมูลค่าเพิ่ม = (ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่า Ft ) x 7/100

เช่น

1-5 หน่วย = 2.34 บาท /หน่วย

16-25 หน่วย = 2.98 บาท/หน่วย

36 - 100 หน่วย = 3.62 บาท / หน่วย 

101 - 150 หน่วย =  3.71 บาท / หน่วย 

151 - 400 หน่วย = 4.22  บาท / หน่วย 

ค่าน้ำประปานครหลวงหน่วยละกี่บาท 2565
การคำนวณค่าน้ำประปาจะแบ่งออกเป็น 2 เขตได่แก่พื้นที่กทม และ พืนที่ต่างจังหวัด

การคำนวณค่าน้ำประปา คือ 

ค่าน้ำประปา ก็จะแบ่งอัตราค่าบริการตามเขตพื้นที่ตั้ง อย่างพื้นที่กรุงเทพ จะขึ้นกับการประปานครหลวง ส่วนต่างจังหวัดจะขึ้นกับการประปาส่วรภูมิภาค และบางพื้นที่อาจจะมีเอกชนรร่วมลงทุนด้วย โดยจะแบ่งประเภทตามที่ลักษณะที่อยู่อาศัยออกเป็น 2 ประเภท ด้วยกันได้แก่ ที่พัก และ ธุรกิจ รายการ รัฐสาหกิจ เป็นต้น 

สูตรคำนวณค่าน้ำ มีดังนี้

( ปริมาณน้ำที่ใช้ x ราคาต่อหน่วย ) + ค่าบริการ + ภาษี 7 เปอรเซ็นต์ = ค่าน้ำประปา 

ค่าบริการที่ระบุไว้ในสูตรข้างต้นตามขนาดของมาตรวัด 

1/2 นิ้ว ค่าบริการ 25 บาท * ซึ่งบ้านเรือนส่วนใหญ่ใช้มาตรวัดนี้ ในการคิดค่าบริการ

3/4 นิ้ว ค่าบริการ 40 บาท

1 นิ้ว ค่าบริการ 50 บาท

1.1/2 ค่าบริการ 80 บาท 

2 ค่าบริการ 300 บาท เป็นต้น 

อัตราค่าน้ำประปานครหลวง ซึ่งจะแนะนำเฉพาะส่วนของกรุงเทพมหานครครับ 

1 - 30 ลบ.ม = 8.50 บาท / หน่วย 

31 - 40 ลบ.ม = 10.03 บาท / หน่วย 

41 - 50 ลบ.ม  = 10.35 บาท / หน่วย 

51 - 60 ลบ.ม = 10.68 บาท / หน่วย

สามารถดูเพิ่มเติมได้ที่ การประปานครหลวง 

และนี้ก็เป็นวิธีการคำนวณของค่าไฟและค่าน้ำ หลังจากนี้ก็คงต้องประหยัดการใช้งานและเพราะยิ่งใช้เยอะก็ยิ่งแพง อีกทั้งยังมี ค่าVAT ที่เพิ่มเข้ามาด้วยและ

อ้างอิง

- สูตรการคำนวณค่าน้ำค่าไฟ ใน  บ้าน [ออนไลน์] นำเข้ามาจาก  https://today.line.me/th/v2/article/68Paxn

- การคำนวณค่าน้ำค่าไฟ [ออนไลน์]นำเข้ามาจาก https://www.workventure.com

ค่าน้ำตอนนี้หน่วยละกี่บาท

ช่วงการใช้น้ำ (ลบ.ม. / เดือน)
จำนวน หน่วย
2. ราชการและธุรกิจขนาดเล็ก
ราคา
81 - 100
20
24.00
101 - 300
200
27.40
301 -1,000
700
27.50
อัตราค่าน้ำประปาส่วนภูมิภาคwww.pwa.co.th › contents › service › table-pricenull

ค่าน้ําค้างได้กี่เดือน 2565

จากข้อมูลโดยการประปานครหลวง (กปน.) เมื่อมีการใช้น้ำไปแต่มีการค้างชำระเป็นเวลา 2 เดือน กปน.จะระงับการใช้น้ำ โดย กปน. จะปฏิบัติตาม ระเบียบการประปานครหลวง ฉบับที่ 180 ว่าด้วย การระงับการใช้น้ำชั่วคราวและถาวร กรณีค้างชำระค่าน้ำประปา โดยจะปิดประตูน้ำหน้ามาตรวัดน้ำ ผูกลวดล็อกมิเตอร์

น้ำประปา 1 หน่วยมีกี่ลิตร

คำว่าน้ำประปา 1 หน่วย หมายถึง น้ำจำนวน 1 คิวบิคเมตร (1 คิวบิคเมตรมีขนาดเท่ากับถังสี่เหลี่ยมขนาด กว้าง x ยาว x สูง ด้านละ 1 เมตร) ซึ่งน้ำจำนวน 1 คิวบิคเมตร จะมีปริมาณน้ำเท่ากับ 1,000 ลิตรนั่นเอง

น้ำประปา 1000 ลิตรเท่ากับกี่บาท

สมมติว่าที่บ้านใช้น้ำเดือนละ 10,000 ลิตร เท่ากับ 10 ลบม จะไปอยู่ในขั้น 0-30 ลบม ซึ่งมีอัตราค่าน้ำอยู่ที่ 8.50 บาท/ลบม หรือ 8.50 บาท ต่อการใช้น้ำ 1,000 ลิตรนั่นเอง