เครื่องซักผ้าฝาบน ทำงาน อย่างไร

เครื่องซักผ้าเป็นสิ่งที่เราทุกคนล้วนคุ้นเคยเป็นอย่างดี แต่เชื่อว่าใครหลายๆ คนน่าจะยังมีคำถามสงสัยว่า แล้วที่เราเห็นๆ กันว่ามีเครื่องซักผ้าทั้งแบบฝาหน้า ฝาบน และแบบ 2 ถังนั้น แต่ละอย่างมันแตกต่างกันอย่างไร และใช้งานกันแบบไหน วันนี้เราจะมาหาคำตอบไปด้วยกัน

เริ่มจาก 1. เครื่องซักผ้าฝาหน้า เป็นเครื่องซักผ้าที่เราเห็นและคุ้นเคยอย่างดี มีระบบการทำงานแบบอัตโนมัติ อาศัยหลักการทำงานมอเตอร์แนวดิ่ง คอยหมุนผ้าในถังให้ตกลงตามแรงโน้มถ่วงโลก องค์ประกอบภายในมีถังซักซ้อนกัน 2 ชั้น ถังซักชั้นในจะทำหน้าที่หมุนให้ผ้าเสียดสีกันและอุ้มน้ำไว้ในขณะที่หมุนผ้า ถังซักชั้นนอกจะทำหน้าที่อุ้มน้ำไว้ในขณะซัก มีฟังก์ชั่นการใช้งานหลากหลายเช่น การคำนวณปริมาณน้ำโดยอัตโนมัติให้เหมาะสมกับปริมาณผ้า,สามารถซักน้ำร้อนได้ และอื่นๆ อีกมากมายตามรุ่นและยี่ห้อที่ต่างกัน

ข้อดี: สะดวกในการใช้เพราะเป็นระบบอัตโนมัติ และมีแรงซักคล้ายกับการซักผ้าด้วยมือมากที่สุด

ข้อเสีย: ราคาแพงกว่าเครื่องซักผ้าแบบอื่น ใช้เวลาซักนาน (45 นาที-ถึง 2 ชั่วโมง) ต้องดูแลรักษาอย่างดี รอให้ถังแห้งก่อนปิดฝา เช็ดขอบยางทุกครั้งหลังซักเพื่อป้องกันเชื้อรา การติดตั้งยุ่งยากเพราะต้องเดินท่อน้ำจากก๊อกเข้าเครื่องโดยตรง

  1. เครื่องซักผ้าแบบถังเดียวฝาบน หรือที่มักจะเรียกสั้นๆ ว่า “เครื่องซักผ้าฝาบน” เครื่องซักผ้าประเภทนี้เป็นแบบอัตโนมัติต้องมีการต่อตัวเครื่องเข้ากับท่อน้ำ เมื่อตั้งระบบการซักเรียบร้อย เครื่องจะทำการจ่ายน้ำเข้าเครื่อง และตัดน้ำเองอัตโนมัติ ทำการซักและปั่นหมาดในถังเดียว ในถังซักมีแกนหมุนตรงกลาง หมุนมอเตอร์ในทิศทางกลับไป-มา เพื่อให้เกิดแรงเหวี่ยงคราบสกปรกให้หลุดออกจากผ้า จึงต้องใช้มอเตอร์กำลังสูงกว่าแบบอื่นๆ ผู้ใช้งานสามารถตั้งระบบการซัก แล้วรอนำผ้าไปตากได้เลย

ข้อดี: ราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับเครื่องแบบฝาหน้า สะดวกในการซัก นำผ้าเข้าออกจากเครื่องหรือเติมน้ำเพิ่มได้ดีกว่า

ข้อเสีย : การติดตั้งยุ่งยากเพราะต้องเดินท่อน้ำจากก๊อกเข้าเครื่องโดยตรง

3.เครื่องซักผ้าประเภทสองถังฝาบน มักจะเรียกสั้นๆ ว่า “เครื่องซักผ้าสองถัง” เป็นเครื่องซักผ้าแบบกึ่งอัตโนมัติแบบถังคู่ แยกส่วนระหว่างถังซัก และถังปั่นผ้าให้หมาด การใช้งานหลักๆ คือผู้ใช้จะต้องเปิดน้ำใส่เอง ใส่ผงซักฟอกเอง ตั้งเวลาซักเอง ในถังซักจะมีแกนหมุนตรงกลาง หมุนให้ผ้าเสียดสีกัน เพื่อขจัดสิ่งสกปรกออก พอซักเสร็จก็ต้องเป็นผู้แยกผ้าจากถังซักมาใส่ถังปั่นหมาดเอง และอาจต้องทำหลายครั้งเนื่องจากถังปั่นหมาดมีขนาดเล็กกว่าทั้งซักมาก

ข้อดี: ราคาถูกกว่า ติดตั้งและเคลื่อนย้ายง่าย จะเลือกต่อท่อน้ำหรือจะตักน้ำใส่เองก็ได้ ซักผ้าได้เร็ว เพราะตั้งเวลาซักเอง หากคิดว่าพอแล้วก็สามารถปิดได้เลย ตัวถังปั่นเร็วและผ้ามีการกลับไปไปมาทั่วถึงกว่า สะดวกต่อการแยกซัก เช่น ผ้าที่ไม่ต้องการปั่นแห้ง พอซักเสร็จก็ยกเอามาบิดเอง เหมาะกับครอบครัวใหญ่ที่ต้องซักผ้าปริมาณมาก ต้องการความรวดเร็วในการซัก ปัจจุบันแบบถังคู่ก็มีฟังก์ชั่นให้เลือกซักผ้าแต่ละประเภทให้เหมาะกับเนื้อผ้าแล้ว

ข้อเสีย: ต้องคอยเปลี่ยนน้ำ และนำผ้ามาเข้าถังปั่นหมาดเอง อายุการใช้งานของเครื่องค่อนข้างจะสั้นกว่าแบบถังเดี่ยว

Related posts:

สวัสดีครับเพื่อนๆ วันนี้ผมจะพูดถึงข้อเปรียบเทียบระหว่าง “เครื่องซักผ้าฝาหน้า” กับ “เครื่องซักผ้าฝาบน” ว่าข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันอย่างไร

เครื่องซักผ้าฝาบน ทำงาน อย่างไร

เครื่องซักผ้าฝาหน้า

จะมีฝาเปิด – ปิด อยู่ด้านหน้าของตัวเครื่องซักผ้า โดยการทำงานปกติของเครื่องซักผ้าจะเป็นการหมุนในแนวนอน

ข้อดี : เครื่องซักผ้าฝาหน้าจะมีถังซักเพียงถังเดียว สามารถซักและปั่นแห้งจบภายในเครื่องเดียว เหมาะกับการจัดวางภายในบ้านและยังช่วยประหยัดพื้นที่สอยภายในบ้าน ทำให้เรามีเวลาเล่นเกม Joker123 และนอกจากนี้ยังมีโปรแกรมซักให้เราเลือกใช้งานอยู่อีกมากมาย

ข้อเสีย : เครื่องซักผ้าฝาหน้าจะมีราคาค่อนข้างสูง และใช้เวลาในการซักผ้าที่มากกว่าเครื่องซักผ้าทั่วไป จึงทำให้ในการซักแต่ละครั้งต้องใช้ไฟฟ้าที่มากกว่าเครื่องซักผ้าทั่วไป และรองรับเสื้อผ้าได้น้อย

เครื่องซักผ้าฝาบน ทำงาน อย่างไร

เครื่องซักผ้าฝาบน

จะมีฝาเปิด – ปิด อยู่ด้านบนของตัวเครื่องซักผ้า โดยการทำงานของจานหมุนของการซักจะเป็นการหมุนในแนวตั้ง

ข้อดี: เครื่องซักผ้าฝาบนมีปุ่มโปรแกรมให้เลือกในการใช้งานที่ง่ายเพราะอยู่ด้านบนของตัวเครื่อง แต่เครื่องซักผ้าฝาบนนี้สามารถซักได้เหมือนกับเครื่องซักผ้าฝาหน้า และมีเพียงถังเดียวเหมือนกัน แต่เครื่องซักผ้าฝาบนสามารถซักผ้าได้มากถึง 24 กิโลกรัม แต่จะใช้เวลาซักน้อยกว่าเครื่องซักผ้าฝาหน้า และเครื่องซักผ้าฝาบนจะมีราคาจะถูกกว่าเครื่องซักผ้าฝาหน้า

ข้อเสีย : เครื่องซักผ้าฝาบนในการซัก 1 ครั้ง จะใช้ปริมาณของน้ำและไฟฟ้าค่อนข้างมาก และด้วยการใช้เวลาที่น้อยในการซักผ้าจำนวนมากก็ทำให้ความสะอาดลดน้อยลงไปด้วย

Related posts: