การเดิน กับการวิ่ง แตก ต่าง กัน อย่างไร

เป็นเรื่องดีที่ตอนนี้กระแสวิ่งยังคงคึกคัก และยังไม่มีวี่แววว่าจะลดกระแสลง ส่งผลให้ประชากรไทยมากมายที่มีรูปร่างกระชับส่วน และมาพร้อมๆ กับสุขภาพที่แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บมากยิ่งขึ้น แต่ก็ยังมีประชากรอีกกลุ่มหนึ่ง (ที่จำนวนไม่น้อยไปกว่ากลุ่มแรก) ที่ไม่ชอบออกกำลังกายด้วยการวิ่ง (เผลอๆ จะไม่ชอบออกกำลังกายเลยด้วยซ้ำ) แทนที่จะวิ่ง เลยเลือกที่จะเดิน หรือเดินเร็วๆ แทน จริงๆ แล้ว 2 วิธีนี้ให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันหรือไม่?

ข้อมูลจากเฟซบุค Chor Chonlawat เทรนเนอร์ประจำ Playground Fitness จังหวัดเชียงใหม่ ยกตัวอย่างง่ายๆ เอาไว้ว่า หากมีนายเอ นายบี นายซี น้ำหนักเท่ากันที่ 72 กิโลกรัม วิ่งและเดินในระยะทางเท่ากันที่ 1 ไมล์ หรือ1.6 กิโลเมตร พลังงานที่ทุกคนเผาผลาญได้ มีดังนี้

- นายเอ วิ่งด้วย Pace 3.4 (ความเร็วในการวิ่ง 3.4 นาทีต่อกิโลเมตร) เข้าเส้นชัยในเวลา 18 นาที เผาผลาญพลังงานได้ 409 Kcal

- นายบี วิ่งด้วยความเร็ว Pace 6 ซึ่งวิ่งด้วยความเร็วที่ช้ากว่านายเอ เข้าเส้นชัยในเวลา 30 นาที เผาผลาญพลังงานได้ 378 KCal

- นายซี วิ่งด้วยความเร็ว Pace 8 (หรืออาจจะเรียกว่าเดินเร็ว) เข้าเส้นชัยในเวลา 40 นาที เผาผลาญพลังงานได้ 319 Kcal

แม้ว่านายเอจะใช้เวลาวิ่งน้อยกว่านายซีมาก เพราะนายเอวิ่งเร็วกว่านายซีถึง 2 เท่า แต่ผลปรากฏว่านายเอเผาผลาญพลังงานมากกว่านายซีแค่ 90 Kcal เท่านั้น

ปัจจัยที่ทำให้การออกกำลังกายเผาผลาญพลังงานมาก

หลายคนอาจคิดว่าการวิ่งเร็วๆ จะช่วยเผาผลาญพลังงานเพิ่มขึ้นได้มากๆ จริงๆ การวิ่งเร็วจะทำให้เราใช้เวลาน้อยกว่าเดิม เราจะมีเวลาในการเผาผลาญพลังงานมากขึ้นมากกว่า แต่จริงๆ แล้วปัจจัยสำคัญที่ช่วยเผาผลาญพลังงานมากขึ้น อยู่ที่ปัจจัยอื่นมากกว่า นั่นคือ

- ระยะทาง ยิ่งวิ่ง/เดินเยอะ ยิ่งเผาผลาญพลังงานได้มาก

- น้ำหนักตัว ยิ่งน้ำหนักตัวมาก ก็ยิ่งเผาผลาญพลังงานได้มาก

ส่วนปัจจัยที่มีผลในการเผาผลาญพลังงานน้อยกว่าเพื่อน คือ เวลา และความเหนื่อยที่ใช้ในการวิ่ง หรือเดินมากกว่า

ดังนั้น จึงได้ข้อสรุปที่ว่า หากอยากออกกำลังกายเพื่อการเผาผลาญพลังงานจริงๆ สามารถเดินเร็ว (เร็วขนาดที่เหนื่อยหอบเบาๆ พูดเป็นประโยคสั้นๆ ได้เท่านั้น) แทนการวิ่งเร็วๆ ได้ อาจจะใช้เวลามากกว่าเพื่อให้ได้ระยะทางเท่ากัน แต่ก็เป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับใครที่ไม่ชอบวิ่ง หรือน้ำหนักมากเกินกว่าที่จะวิ่งไหว

ในช่วงต้นปี 2560 ที่ผ่านมา มีรูปหนึ่งดังที่นำมาลงข้างต้นนี้ได้รับการส่งต่อเผยแพร่อย่างกว้างขวางผ่านทางกลุ่มไลน์ต่างๆ แทบทุกกลุ่มที่ผู้เขียนเป็นสมาชิกอยู่ รูปนี้ใช้ชื่อว่า “วิ่งแบบไหนเผาผลาญไขมันได้เยอะสุด” เราคงรู้กันแล้วว่า การออกกำลังกายใช้พลังงาน และแหล่งที่มาของพลังงานในร่างกายมีสองส่วนคือไขมันกับคาร์โบไฮเดรท สิ่งที่รูปนี้ชี้ให้เห็นคือ หากมองเฉพาะ “การเผาผลาญไขมัน” ตามหัวข้อของรูป การวิ่งเหยาะๆ เผาผลาญไขมันเป็นสัดส่วนสูงที่สุดเมื่อเทียบกับการวิ่งทั่วไปและการวิ่งเร็ว คือคิดเป็นร้อยละ 70 ของแหล่งที่มาของพลังงาน มากกว่าการวิ่งทั่วๆไป(ร้อยละ 50) และการวิ่งสปีดหรือวิ่งเร็ว(ร้อยละ 10) และที่น่าประหลาดใจมากที่สุดคือ การเดินเผาผลาญไขมันได้เท่ากับหรือมากกว่าการวิ่งเหยาะ คือใช้ไขมันเป็นร้อยละ 70-85 ของแหล่งที่มาของพลังงาน ถ้าข้อมูลนี้เป็นข้อเท็จจริง แม้ว่าการเดินจะเผาผลาญไขมันกับคาร์โบไฮเดรทโดยรวมเพียง 5 แคลอรีต่อนาที น้อยกว่าการวิ่ง (9, 13 และ 20 แคลอรีต่อนาทีเมื่อวิ่งเหยาะ วิ่งทั่วไป และวิ่งเร็ว) แต่ก็เผาผลาญไขมันในสัดส่วนที่สูงกว่า น่าจะดีกว่าสำหรับการลดน้ำหนัก
เพื่อให้แน่ใจว่าข้อมูลนี้เป็น FAKE (เท็จ) หรือ FACT (จริง) ผู้เขียนจึง “เช็คก่อนแชร์” ด้วยการสอบถามกับ รศ. ดร. รุ่งชัย ชวนไชยะกุล ผู้เชี่ยวชาญการออกกำลังกายเป็นรายโรค/รายบุคคลตามสรีระร่างกาย มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งได้รับเชิญจากมูลนิธิหมอชาวบ้านไปบรรยายเรื่อง “รักตนเอง รักสุขภาพ กับการออกกำลังกาย เมื่อไร อย่างไร ให้ถูกต้องปลอดภัย” ที่อาคารเรียนรู้สุขภาวะ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2560 ที่ผ่านมา

แบ่งปันเกร็ดความรู้เรื่องสุขภาพทั้งโรคภัยไข้เจ็บ วิธีออกกำลังกาย เคล็ดลับลดน้ำหนัก เพื่อสุขภาพที่แข็งแรง อยู่กินของอร่อยไปได้อีกนาน ๆ

เป็นเรื่องดีที่ตอนนี้กระแสวิ่งยังคงคึกคัก และยังไม่มีวี่แววว่าจะลดกระแสลง ส่งผลให้ประชากรไทยมากมายที่มีรูปร่างกระชับส่วน และมาพร้อมๆ กับสุขภาพที่แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บมากยิ่งขึ้น แต่ก็ยังมีประชากรอีกกลุ่มหนึ่ง (ที่จำนวนไม่น้อยไปกว่ากลุ่มแรก) ที่ไม่ชอบออกกำลังกายด้วยการวิ่ง (เผลอๆ จะไม่ชอบออกกำลังกายเลยด้วยซ้ำ) แทนที่จะวิ่ง เลยเลือกที่จะเดิน หรือเดินเร็วๆ แทน จริงๆ แล้ว 2 วิธีนี้ให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันหรือไม่?

ข้อมูลจากเฟซบุค Chor Chonlawat เทรนเนอร์ประจำ Playground Fitness จังหวัดเชียงใหม่ ยกตัวอย่างง่ายๆ เอาไว้ว่า หากมีนายเอ นายบี นายซี น้ำหนักเท่ากันที่ 72 กิโลกรัม วิ่งและเดินในระยะทางเท่ากันที่ 1 ไมล์ หรือ1.6 กิโลเมตร พลังงานที่ทุกคนเผาผลาญได้ มีดังนี้

นายเอ วิ่งด้วย Pace 3.4 (ความเร็วในการวิ่ง 3.4 นาทีต่อกิโลเมตร) เข้าเส้นชัยในเวลา 18 นาที เผาผลาญพลังงานได้ 409 Kcal

นายบี วิ่งด้วยความเร็ว Pace 6 ซึ่งวิ่งด้วยความเร็วที่ช้ากว่านายเอ เข้าเส้นชัยในเวลา 30 นาที เผาผลาญพลังงานได้ 378 KCal

นายซี วิ่งด้วยความเร็ว Pace 8 (หรืออาจจะเรียกว่าเดินเร็ว) เข้าเส้นชัยในเวลา 40 นาที เผาผลาญพลังงานได้ 319 Kcal

 

แม้ว่านายเอจะใช้เวลาวิ่งน้อยกว่านายซีมาก เพราะนายเอวิ่งเร็วกว่านายซีถึง 2 เท่า แต่ผลปรากฏว่านายเอเผาผลาญพลังงานมากกว่านายซีแค่ 90 Kcal เท่านั้น

 

ปัจจัยที่ทำให้การออกกำลังกายเผาผลาญพลังงานมาก

หลายคนอาจคิดว่าการวิ่งเร็วๆ จะช่วยเผาผลาญพลังงานเพิ่มขึ้นได้มากๆ จริงๆ การวิ่งเร็วจะทำให้เราใช้เวลาน้อยกว่าเดิม เราจะมีเวลาในการเผาผลาญพลังงานมากขึ้นมากกว่า แต่จริงๆ แล้วปัจจัยสำคัญที่ช่วยเผาผลาญพลังงานมากขึ้น อยู่ที่ปัจจัยอื่นมากกว่า นั่นคือ

- ระยะทาง ยิ่งวิ่ง/เดินเยอะ ยิ่งเผาผลาญพลังงานได้มาก

- น้ำหนักตัว ยิ่งน้ำหนักตัวมาก ก็ยิ่งเผาผลาญพลังงานได้มาก

ส่วนปัจจัยที่มีผลในการเผาผลาญพลังงานน้อยกว่าเพื่อน คือ เวลา และความเหนื่อยที่ใช้ในการวิ่ง หรือเดินมากกว่า

 

ดังนั้น จึงได้ข้อสรุปที่ว่า หากอยากออกกำลังกายเพื่อการเผาผลาญพลังงานจริงๆ สามารถเดินเร็ว (เร็วขนาดที่เหนื่อยหอบเบาๆ พูดเป็นประโยคสั้นๆ ได้เท่านั้น) แทนการวิ่งเร็วๆ ได้ อาจจะใช้เวลามากกว่าเพื่อให้ได้ระยะทางเท่ากัน แต่ก็เป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับใครที่ไม่ชอบวิ่ง หรือน้ำหนักมากเกินกว่าที่จะวิ่งไหว

การ เดิน กับ การวิ่ง เหมือน หรือ ต่าง กัน อย่างไร

อาจารย์รุ่งชัยให้ความรู้ว่า ข้อมูลตามรูปนั้นถูกต้องแล้ว การเดินถือว่าเป็นการใช้ความหนักในการออกกำลังกายไม่มาก (low intensity) ทำให้ได้ระยะทางไกลกว่าและเผาผลาญไขมันมากกว่าแป้ง ในขณะที่การวิ่งเป็นการใช้ความหนักในการออกกำลังกายที่มากกว่าและเหนื่อยเร็วกว่า เราจึงวิ่งไปไม่ได้ไกลหรือนานพอที่ไขมันจะถูกนำออกมาใช้ เมื่อพิจารณา ...

เดินดีกว่าวิ่งไหม

การเดินนั้นให้ประโยชน์แบบเดียวกันกับการวิ่ง แต่ว่าการวิ่งจะสามารถเผาผลาญแคลอรี่ได้มากกว่าการเดินถึงสองเท่า ยกตัวอย่างเช่นคนที่มีน้ำหนัก 72 กิโลกรัม วิ่งด้วยความเร็ว 8 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จะสามารถเผาผลาญได้ 606 แคลอรี่

เดินกับวิ่งแบบไหนดี

การเดินถือว่าเป็นการใช้ความหนักในการออกกำลังกายไม่มาก (low intensity) ทำให้ได้ระยะทางไกลกว่าและเผาผลาญไขมันมากกว่าแป้ง ในขณะที่การวิ่งเป็นการใช้ความหนักในการออกกำลังกายที่มากกว่าและเหนื่อยเร็วกว่า เราจึงวิ่งไปไม่ได้ไกลหรือนานพอที่ไขมันจะถูกนำออกมาใช้ เมื่อพิจารณาลำดับการใช้พลังงานจะพบว่า ไขมันจะถูกใช้มากเมื่อเราวิ่งต่อ ...

เดิน 30 นาทีกี่แคลอรี่

เดินเร็ว / เดินชัน 30 นาที เผาผลาญประมาณ 240-270 แคลอรี่