ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แตก ต่าง กันอย่างไร จงอธิบาย

    หากเพื่อนๆ กำลังสงสัยเกี่ยว ศัพท์ของคอมพิวเตอร์ อย่างเช่นคำว่า ฮาร์ดแวร์(Hardware) และ ซอร์ฟแวร์(Software) ว่ามันแตกต่างกันอย่างไร? อะไรบ้างของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะจัดอยู่ในประเภทของฮาร์ดแวร์ หรือ ซอร์ฟแวร์? อยู่แล้วล่ะก็ วันนี้ทีมงาน itnews4u จะมาอธิบายข้อแตกต่างระหว่างคำ 2 คำนี้อย่างละเอียดให้เพื่อนๆฟังกันครับ

Hardware คืออะไร

ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แตก ต่าง กันอย่างไร จงอธิบาย

    ฮาร์ดแวร์  คือ อุปกรณ์ต่างๆของเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เรานั้นสามารถมองเห็นและสัมผัสได้ หรือที่เราเรียกว่า "รูปธรรม" นั่นเอง โดยคอมพิวเตอร์ที่เราใช้งานอยู่นั้นก็ถูกประกอบขึ้นมาด้วยฮาร์ดแวร์หลายๆชิ้นนั่นเอง ซึ่งฮาร์ดแวร์สามารถแบ่งออกตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 ประเภท โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทำงานแตกต่างกันออกไป ได้แก่

   1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
   2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)
   3. หน่วยแสดงผล (Output Unit)
   4. หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage)

โดยนอกจากนั้นแล้วคนส่วนใหญ่ยังได้ลักษณะของฮาร์ดแวร์ออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่

ฮาร์ดแวร์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่ ฮาร์ดดิส(Harddisk), แรม(Ram), เมนบอร์ด(Mainbroad), ซีพียู(CPU) เป็นต้น

ฮาร์ดแวร์นอกเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้แก่  เมาส์ คีย์บอร์ด จอมอนิเตอร์ เครื่องปริ้น เป็นต้น


ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แตก ต่าง กันอย่างไร จงอธิบาย

    ซอร์ฟแวร์ คือ ชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นโดยเหล่าโปรแกรมเมอร์เพื่อให้ชุดคำสั่งนั้นทำงานอยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยซอร์ฟแวร์นั้นจะทำงานร่วมกับซีพียู เพื่อทำหน้าที่ควบคุมการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้สามารถคำนวณสิ่งต่างๆได้ตามที่เราต้องการนั่นเอง โดยซอฟต์แวร์ในปัจจุบันนั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่

1. ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ (Operating System Software) : เป็นซอฟต์แวร์ที่ทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องทำการติดตั้งเป็นอันดับแรกและทุกเครื่องนั้นจำเป็นต้องมี เพราะซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนั้นมีหน้าที่ในการควบคุมการทำงานทั้งหมดของฮาร์ดแวร์ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเองครับ ซึ่งตัวอย่างของซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ นั่นได้แก่ ระบบปฏิบัติการ  Windows, Linux, Unix หรือ Mac OS X บนเครื่อง Mac ของ Apple เป็นต้นนั่นเองครับ 

2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) : เป็นชุดคำสั่งถูกพัฒนาขึ้นจากความต้องการของผู้ใช้งาน เพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์นั้นทำงานเฉพาะทาง เท่านั้นซึ่งพูดง่ายๆก็คือ ซอฟต์แวร์ประยุกต์นั้นไม่สามารถทำงานทุกอย่างได้โดยซอร์แวร์เดียวนั่นเอง โดยปกติแล้วซอร์แวร์ประยุกต์นั้นยังสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภท คือ

- ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน (Special Purpose Software)  : เป็นซอร์ฟแวร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาให้สามารถใช้งานได้เพียงงานๆเดียว อย่างเช่น โปรแกรมฝากถอนเงิน โปรแกรมคำนวณสูตร เป็นต้น วึ่งโปรแกรมเหล่านี้นั้นจะมีผู้เชียวชาญจำนวนไม่มากเป็นผู้ใช้

- ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป (General purpose Software) : เป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับงานส่วนตัวได้อย่างหลากหลาย  ทำให้ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน เช่น Microsoft Word,  Microsoft Excel, Microsoft  PowerPoint, Photoshop และ Web Browser รุ่นต่างๆ เป็นต้น

���������������������觧ҹ������������ӧҹ �Ϳ�������֧���¶֧�ӴѺ��鹵͹��÷ӧҹ�����¹��鹴��¤���觢ͧ���������� ���������ҹ�����§�ѹ���Ϳ��������������������� �ҡ����Һ����������Ϳ����������������ӧҹ�������� ��÷ӧҹ��鹰ҹ����§��á�зӡѺ�����ŷ���繵���Ţ�ҹ�ͧ �����᷹�����ŷ���繵���Ţ ����ѡ�� �ٻ�Ҿ ��������������§�ٴ����

���������������������觧ҹ����������֧�繫Ϳ������ �������ӴѺ��鹵͹��÷ӧҹ�ͧ���������� ��������������ͧ˹�觷ӧҹᵡ��ҧ�ѹ���ҡ��´��«Ϳ��������ᵡ��ҧ�ѹ �Ϳ������֧��������֧���������������ء����������������������ӧҹ��

��÷�������繤���������ӧҹ���Ѻ������ҡ��� ��������ռ��Ѳ���������������������������觧ҹ���������� ��ҹ����Ҩ�����������Ӻѭ�շ������ҡ�Ѻ��͹ ����ѷ��µ������Ϳ���������������������к���èͧ���� �Ϳ������������������������ͧ�Ԩ��çҹ��Ҥ�÷���բ����ŵ�ҧ � �ҡ��� ������������§ҹ������͡��������§�� �繵� ��÷�������������Թ���������ª�����ҡ��������Ũ�������Ϳ������ �Ϳ������֧����ǹ�Ӥѭ�ͧ�к����������� �ҡ�Ҵ�Ϳ������������������������ö�ӧҹ�� �Ϳ�������֧����觷����� ����դ����Ӥѭ�ҡ �������ǹ��Сͺ˹�觷�������к����ʹ�������������ͧ���

��ػ ����������ЫͿ����������Ǣ�ͧ�ѹ���ҧ��
�������� ����ػ�ó���������� ��ǹ �Ϳ������ �����������ӧҹ�� ��������

หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำ งาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และเครื่อง คอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท

1. ซอฟต์แวร์สำหรับระบบ (System Software)
คือ ชุดของคำสั่งที่เขียนไว้เป็นคำสั่งสำเร็จรูป ซึ่งจะทำงานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เป็นต้น นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่มำให้คอมพิวเตอร์ทำงานต่างๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.1 ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน
คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทำบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซื้อ โปรแกรมการทำสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ หรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานที่ใช้ ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงเป็นตัว พัฒนา
2.2 ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป
เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่างๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซึ่งเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องเวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสำเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานมราขาดบุคลากรที่มีความชำนาญเป็นพิเศษในการเขียน โปรแกรม ดังนั้น การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่าง ยิ่ง ตัวอย่างโปรแกรมสำเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆ เป็นต้น

บุคลากร คอมพิวเตอร์คืออะไร ?
บุคลากรคอมพิวเตอร์ หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวข้องกับระบบงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกๆด้าน

-นักวิเคราะห์ระบบงาน
ทำการศึกษางานเดิม ออกแบบระบบงานใหม่

-โปรแกรมเมอร์
นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม

-วิศวกรระบบ
ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อมบำรุงและดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามต้องการ

-พนักงานปฏิบัติการ
ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่หรือภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้อง กับคอมพิวเตอร์

ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์แตกต่างกันอย่างไร *

ฮาร์ดแวร์ คือ อุปกรณ์ต่างๆ เช่น เมาส์ จอภาพ เครื่องพิมพ์ ซีพียู เครื่องรูดบัตร สแกนเนอร์ ที่สามารถสัมผัสได้ภายนอกอีกทั้งสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้มีทั้งที่ติดตั้งภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ (Case) และ เชื่อมต่อภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะมีข้อแตกต่างกับ ซอฟต์แวร์ ก็คือ ซอฟต์แวร์ จะเป็นเพียงเเค่ชุดคำสั่งหรือ ...

Hardware และ Software มีอะไรบ้าง

ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์ทางกายภาพที่สามารถมองเห็นเห็นและจับต้องได้ ซอฟท์แวร์ (Software) คือโปรแกรมหรือชุดคำสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทำตาม

โปรแกรมและซอฟต์แวร์แตกต่างกันอย่างไร

สรุปง่ายๆ โปรแกรมกับซอฟต์แวร์จะมีความต่างในเรื่องของที่มา อย่างเช่นโปรแกรมจะถูกเขียนมาจากภาษาคอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์คำกล่าวของโปรแกรมที่เราใช้เรียกนั่นเอง

พื้นฐานการทำงานของคอมพิวเตอร์ส่วนใดที่ถือว่าเป็นเหมือนกับสมองประกอบด้วยส่วนที่เกี่ยวข้องอะไรบ้าง

ซีพียูหรือหนวยประมวลผลกลาง เปรียบเหมือนกับสมองของคอมพิวเตอร ซึ่งมีหนาที่หลักใน การประมวลผลคําสั่งที่ไดรับมาวาจะใหทําอะไรบาง ประกอบดวยหนวยสําหรับการทํางานแบงออกเปน สวนๆคือ หนวยควบคุม (Control Unit) หนวยคํานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logic Unit) รีจิสเตอร(Register)