จบรัฐประศาสนศาสตร์

         

สวัสดีค่า น้องๆ ที่น่ารักทุกคน กลับมาพบกันอีกบทความเกี่ยวกับ สาขารัฐประศาสนศาสตร์ หรือ บริหารรัฐกิจกัน นะคะ กลับมาคราวนี้พบกับข้อมูลดีๆ เกี่ยวกับงานที่สามารถทำได้เมื่อจบสาขานี้ค่ะ โดยขอแบ่งออกเป็น 2 ส่วนนะคะ ของภาครัฐ และ เอกชน มีงานอะไรบ้าง ตามมาดูกันเลยค่ะ

.

จบรัฐประศาสนศาสตร์

    แหล่งงานภาครัฐ เรียนสาขาวิชานี้สามารถทำงานด้านบริหาร นโยบาย และแผนงานได้ทุกหน่วยราชการ ทุกกระทรวง ทบวง กรม กอง อย่างเช่น  

             - ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  
             - เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
             - เจ้าหน้าที่ประสานงาน
             - เจ้าหน้าที่บริหารงานบุคคล
             - เลขานุการบริหาร
             - นักวิชาการศึกษา
             - สำหรับผู้ที่มีความรู้ภาษาอังกฤษ หรือ ภาษาต่างประเทศ ก็สามารถทำงานเป็น
               เจ้าหน้าที่วิเทศสัมพันธ์
             - ฯลฯ

จบรัฐประศาสนศาสตร์

แหล่งงานภาคเอกชน
         ข้อได้เปรียบของสาขาวิชานี้คือได้เรียนรู้ทั้งความรู้และเครื่องมือทางการบริหารงานมากกว่าสาขาอื่นๆ ของวิชารัฐศาสตร์ จึงทำให้สามารถนำความรู้เทคนิคด้านการบริหารจัดการไปใช้ในการทำงานภาคเอกชนได้ดีในการบริหารงานทุกระดับของบริษัท และถ้ามีความรู้การคำนวณ และภาษาที่ดี ขอบข่ายงานก็ยิ่งจะกว้างขวางมากขึ้น เช่น นักวิเคราะห์โครงการ นักวิเคราะห์การลงทุน นักวิเคราะห์ระบบงาน นักบริหารองค์การระดับสูงที่สามารถวิเคราะห์การบริหารเศรษฐกิจมหภาคได้

          อ่านจบแล้วรู้เลยว่าระดับขอบข่ายของงานขึ้นอยู่กับความสามารถ ยิ่งมีความสามารถทางภาษาเพิ่มอีกก็ทำให้ขอบข่ายของงานเพิ่มมากขึ้น พี่แป้ง ทำคอลัมล์คณะในฝัน สัมภาษณ์รุ่นพี่แต่ละคณะมาหลายคนก็พบกับงานที่หลากหลาย ซึ่งระดับของงานก็ขึ้นอยู่กับความสามารถจริงๆ ค่ะ เพราะฉะนั้นฝึกตั้งแต่วันนี้ก็ยังไม่สายนะคะ แต่ถ้าเริ่มพรุ่งนี้อาจจะสายเกินไปก็ได้

 สัปดาห์หน้า พี่แป้ง จะนำบทสัมภาษณ์ที่ได้สัมภาษณ์ ชีวิตในรั้วรัฐประศาสนศาสตร์ กันมาฝากน้องๆ ค่ะ ว่าชีวิตจริงในการเรียนเป็นอย่างไรบ้าง รออ่านกันนะคะ ^___^

บทความอื่นของ "รัฐประศาสนศาสตร์"

จบรัฐประศาสนศาสตร์

จบรัฐประศาสนศาสตร์

จบรัฐประศาสนศาสตร์

จบรัฐประศาสนศาสตร์

จบรัฐประศาสนศาสตร์

จบรัฐประศาสนศาสตร์

          ๑. ปลัดอำเภอ

          ๒. ข้าราชการในกระทรวง และกรม กองต่าง ๆ

          ๓. ข้าราชส่วนท้องถิ่น

          ๔. ข้าราชการตำรวจ

          ๕. ข้าราชการศาลปกครอง

          ๖. เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

          ๗. เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป

          ๘. เจ้าหน้าที่บริหารทรัพยากรมนุษย์

จบ รัฐประศาสนศาสตร์ ต้องทำงานราชการอย่างเดียว ถึงจะดี จริงหรือ? ผู้รู้ช่วยมาตอบหน่อยครับ

ผมเห็นบางคนบอกว่า รปศ เป็นพวกจับฉ่าย รู้หลายอย่างแต่ไม่ลึก ควรทำแต่งานราชการถึงดีที่สุด จริงหรือ? แล้ว คนจบรปศ ทำงานเอกชน หรือ หน่วยงานในบริษัทต่างๆ แล้วไม่ดีหรือ?

0

จบรัฐประศาสนศาสตร์

คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ

กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

จบรัฐประศาสนศาสตร์ ได้วุฒิอะไร

ชื่อปริญญา ชื่อเต็มภาษาไทย รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) ชื่อย่อภาษาไทย รป.บ. (รัฐประศาสนศาสตร์) ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Public Administration (Public Administration)

จบ รปศ ทํางานอะไร เอกชน

ทำงานภาคเอกชน พนักงานในฝ่ายทรัพยากรบุคคล ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ฝ่ายนโยบายและแผนงานของทุกบริษัท พนักงานธนาคาร

รัฐประศาสนศาสตร์มีความสําคัญต่อการบริหารประเทศอย่างไร

ดังนั้น รัฐประศาสนศาสตร์จึงเป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการในภาครัฐ โดยบูรณาการความรู้จากหลายๆ ศาสตร์มาใช้ในการบริหารจัดการมีลักษณะเป็น สังคมศาสตร์ประยุกต์เพื่อให้นักบริหารสามารถท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงเป็น สห วิทยาการที่ช่วยให้นักบริหารตัดสินใจกระท าสิ่งต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง สามารถแก้ไขปัญหาที่ เกิดขึ้น ...

รปศ. สอบอะไรบ้าง

ตอบไป : ได้วุฒิเป็น รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต หรือบางที่จะได้เป็น ศิลปศาสตร์บัณฑิต(รัฐประศาสนศาสตร์) ซึ่งแน่นอนว่าสามารถสอบเข้าราชการได้ค่ะ การสอบราชการไม่ได้จำกัดวุฒิในการสอบนะคะ ส่วนงานที่สามารถสอบได้ เช่น ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป , เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน, เจ้าหน้าที่ประสานงาน, ตำรวจในรัฐสภา เป็นต้น