ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในโรงเรียน

ยุคนี้คนส่วนใหญ่อาจไม่เคยเรียนวิชาศีลธรรมกันแต่ยุคของอาจารย์เรียนจึงอยากจะเล่าเรื่องที่เราควรมีในสังคม #ความเอื้อเฟื้อแล...

Posted by สมาคมพัฒนาแพทย์แผนไทยแห่งประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์ฯ on Wednesday, May 6, 2020

    การที่เราปฏิบัติตนเป็นผู้ที่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม ย่อมส่งผลดีทั้งต่อตัวเราเองและผู้อื่น ผลที่เกิดขึ้นกับตัวเรา คือ เกิดความภาคภูมิใจในตนเองและผู้อื่น คือ ผู้ที่มีความเดือดร้อนได้รับการช่วยเหลืออย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้สังคมส่วนรวมมีความสงบเรียบร้อย เป็นสังคมเห็นการแบ่งปัน ช่วยเหลือซ่งกันและกันสามารถดำเนินชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข

ประวัติกรีฑา ความเป็นมาของกรีฑานั้นเป็นที่เชื่อกันว่าชาวกรีกสมัยโบราณเป็นผู้ริเริ่มการแข่งขันกีฬาและกรีฑาเกิดขึ้นเมื่อประมาณ 776 ปีก่อนคริสตกาล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมพลเมืองของกรีกให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ พร้อมที่จะรับใช้ประเทศชาติได้อย่างเต็มที่ อีกเหตุผลหนึ่งคือชาวกรีกในสมัยโบราณนับถือเทพเจ้าอยู่หลายองค์ และเชื่อว่ามีเทพเจ้าสถิตอยู่บนเขาโอลิมปัสเทพ เจ้าทั้งหลายเป็นผู้บันดาลความสุขหรือความทุกข์ให้แก่ผู้นับถือคล้ายกับเป็นผู้ชี้ชะตาของ ชาวกรีก ดังนั้นชาวกรีกจึงพยายามที่จะประพฤติตนให้เป็นที่โปรดปราน ทำความเข้าใจและสนิทสนมกับเทพเจ้า เป็นเหตุให้มีพิธีบวงสรวงหรือทำพิธีกรรม ต่าง ๆ เมื่อเสร็จการบวงสรวงตามพิธีทางศาสนาแล้วจะต้องมีการเล่นกีฬาถวาย ณ ลานเชิงเขาโอลิมปัสแค้วนอีลิสเพื่อเป็นการเฉลิมฉลองพระเกียรติของเทพเจ้า

ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในโรงเรียน

การเล่นกีฬาที่บันทึกเป็นประวัติศาสตร์สืบต่อกันมา คือ การเล่นกีฬา 5 ประเภท ได้แก่ การวิ่งแข่ง การกระโดด มวยปล้ำ พุ่งแหลน และขว้างจักร โดยผู้เล่นแต่ละคนจะต้องเล่นให้ครบทั้ง 5 ประเภท สังเกตได้ว่านอกจากมวยปล้ำแล้วอีก 4 ประเภท เป็นการเล่นกรีฑาทั้งสิ้นการเล่นกีฬาดังกล่าวได้ดำเนินมาเป็นเวลา 1200 ปี จนกระทั่งกรีกเสื่อมอำนาจลงและตกอยู่ภายใต้ อำนาจของชาวโรมัน การกีฬาของกรีกก็เสื่อมลงตามลำดับ ในค.ศ. 393 จักรพรรดิธีโอดซีอุส แห่งโรมันมีคำสั่งให้ยกเลิกการ เล่นกีฬา ทั้ง 5 ประเภท เพราะเห็นว่าการแข่งขันในตอนปลายก่อนที่จะยกเลิกไปนั้น มีจุดมุ่งหมายต่างไปจากเดิม โดยที่ผู้เล่นและผู้ชมหวังสินจ้างรางวัล มีการพนันเพื่อเงินทอง ไม่ใช่เล่นกีฬาเพื่อสุขภาพอย่างที่เคยปฏิบัติกันมา เป็นอันว่าโอลิมปิกสมัยโบราณได้ยุติลงตั้งแต่นั้นมาเป็นระยะเวลานาน 15 ศตวรรษ เป็นผลให้การเล่นกีฬาต้องหยุดชะงัก ไปด้วย

ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในโรงเรียน

จนกระทั่ง โอลิมปิกสมัยใหม่ ได้เริ่มขึ้นอีกครั้งหลังจากโอลิมปิกสมัยโบราณยุติไป 15 ศตวรรษ ได้มีบุคคลสำคัญเป็นผู้ริเริ่มกีฬาโอลิมปิกให้กลับฟื้นคืนมาใหม่ท่านผู้นั้นคือ บารอน ปีแอร์เดอ คูแบร์แตง (BaronPierredeCoubertin) ชาวฝรั่งเศสเป็นผู้ชักชวนบุคคลสำคัญ ของชาติ ต่าง ๆ ให้เข้าร่วมประชุม ตกลง เปิดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกสมัยปัจจุบันขึ้นใหม่ โดยจัดให้มีการแข่งขัน 4 ปี ต่อ 1 ครั้ง

ในข้อตกลงให้บรรจุการเล่นกรีฑาเป็นกีฬาหลักของการแข่งขัน เพื่อเป็นเกียรติและเป็นอนุสรณ์ แก่ชนชาติกรีกที่เป็นผู้ริเริ่ม จึงลงมติเห็นชอบโดยพร้อมเพรียงกันให้ประเทศกรีกจัดการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกเป็นประเทศแรก ใน ค.ศ. 1896 (พ.ศ. 2439) ณ กรุงเอเธนส์

ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในโรงเรียน

นอกจากนี้ยังมีนักวิชาการที่ได้ศึกษา ประวัติกรีฑา ไว้ดังนี้

  • คุณสุภารัตน์ วรทอง (2537 : 1-4) ได้เรียบเรียงถึงประวัติและวิวัฒนาการของกรีฑาไว้เป็นลำดับ ตั้งแต่สมัยแรกถึงปัจจุบันไว้ว่า กรีฑานับว่าเป็นกีฬาที่เก่าแก่ที่สุดที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับมนุษย์เพราะในสมัยโบราณมนุษย์ต้องต่อสู้กับภัยธรรมชาติ และเผชิญกับความดุร้ายของสัตว์ป่านานาชนิด และต้องใช้ถ้ำเป็นที่อยู่อาศัย การที่มนุษย์ออกไปหาอาหารมาเลี้ยงชีพต้องป้องกันตนเองจากสัตว์ร้าย บางครั้งต้องวิ่งหนีอย่างรวดเร็วเพื่อหนีสัตว์ร้าย ถ้าเทียบกับปัจจุบัน ก็เป็นการวิ่งระยะสั้น หากวิ่งหนีหรือวิ่งไล่ติดตามจับสัตว์มาเป็นอาหาร โดยวิ่งเป็นเวลานาน ๆเทียบได้กับ การวิ่งระยะไกลหรือวิ่งทนนั่นเอง ในบางครั้งขณะที่วิ่ง เมื่อมีต้นไม้ กิ่งไม้หรือหินขวางหน้าก็ต้องกระโดดข้ามไป ปัจจุบันจึงกลายเป็นการวิ่งกระโดดข้ามรั้วและวิ่งกระโดดสูงการวิ่งกระโดดข้ามลำธารเล็กๆ แคบๆ เป็นช่วงติดต่อกัน ได้กลายมาเป็นการวิ่งกระโดดไกลและการเขย่งก้าวกระโดด แต่ถ้าลำธารหรือเหวนั้นกว้าง ไม่สามารถกระโดดอย่างธรรมดาได้ จำเป็นต้องหาไม้ยาวๆ มาปักกลางลำธารหรือแง่หินแล้วโหนตัวข้ามไปยังอีกฝั่งหนึ่งก็กลายมาเป็นการกระโดดค้ำ การใช้หอกหรือหลาวที่ทำด้วยไม้ยาวๆ เป็นอาวุธพุ่งฆ่าสัตว์ ปัจจุบันได้กลายมาเป็นพุ่งแหลน เป็นต้น

ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในโรงเรียน

ความหมายของกรีฑา – ประวัติกรีฑา

กรีฑา (Athletics) หมายถึงเฉพาะรายการแข่งขันกีฬาที่เกี่ยวข้องกับการวิ่งแข่ง การกระโดด การขว้างและการเดิน ประเภทการแข่งขันกรีฑาที่พบแพร่หลายที่สุด คือ ลู่และลาน วิ่งทางเรียบ วิ่งวิบาก และเดินแข่ง ด้วยความเรียบง่ายของการแข่งขัน และไม่จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์ราคาแพง ทำให้กรีฑาเป็นหนึ่งในกีฬาที่มีการแข่งขันกันมากที่สุดในโลก

กรีฑา เป็นกีฬาที่เก่าแก่ที่สุดเกิดขึ้นมาพร้อมกับมนุษย์เพราะในสมัยโบราณมนุษย์ยังไม่รู้จักการทำมาหากินที่เป็นหลักแหล่งมักเร่ร่อนไม่มีเครื่องนุ่งห่มและที่อยู่อาศัยจึงต้องต่อสู้กับภัยธรรมชาติเผชิญกับความดุร้ายของสัตว์ป่าใช้ถ้ำเป็นอยู่อาศัย จึงกล่าวได้ว่ามนุษย์เป็นต้นกำเนิดของกรีฑา เพราะการที่มนุษย์ออกไปหาอาหารในการดำรงชีวิต บางครั้งต้องเดิน บางครั้งต้องวิ่งเพื่อความอยู่รอด เช่น อดีตใช้ก้อนหินขว้างปา หรือทุ่มใส่สัตว์ แต่ปัจจุบันกลายมาเป็นขว้างจักร ทุ่มลูกน้ำหนัก เป็นต้น

ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในโรงเรียน

นอกจากนี้ ได้มีผู้รวบรวมความหมายของกรีฑาไว้ดังนี้

  • ชุมพล ปานเกตุ (2531 : 1) ได้ให้ความหมายไว้ว่า กรีฑา หมายถึง กิจกรรมทางด้านร่างกายที่ประกอบด้วยการกระทำที่เป็นไปอย่างธรรมชาติของมนุษย์ ซึ่งได้แก่ การวิ่งกระโดดและการทุ่ม ขว้าง พุ่ง หรืออาจกล่าวได้ว่า การเล่นกรีฑานั้นเริ่มมีมาตั้งแต่มนุษย์ได้ถือกำเนิดขึ้นในโลก
  • ชัยสิทธิ์ สุริยจันทร์, เพิ่มศักดิ์ สุริยจันทร์ และวัฒนา สุริยจันทร์ (2525 : 32) ได้ให้ความหมายของกรีฑาไว้ว่า กรีฑาแผนกลู่ คือ กรีฑาประเภทที่ต้องแข่งขันกับบนทางวิ่งและใช้การวิ่งเป็นส่วนสำคัญ ตัดสินกันด้วยเวลาและความเร็ว เช่น การวิ่งระยะต่างๆ กรีฑาแผนกลาน คือ กรีฑาประเภทที่ต้องประลองความไกลหรือความสูงบนลานกว้างๆ เช่นการกระโดด ทุ่ม พุ่ง ขว้าง เป็นต้น
  • อุทัย สงวนพงศ์ (2533 : 4) ได้ให้ความหมายไว้ว่า กรีฑา หมายถึง กีฬาชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยการวิ่ง การกระโดด การพุ่ง การทุ่มและการขว้างฟอง เกิดแก้ว
  • สวัสดิ์ ทรัพย์จำนง (2524 : 1) กล่าวว่า กรีฑา เป็นกีฬาชนิดหนึ่ง ซึ่งแยกการแข่งขันออกเป็นสองประเภท คือ ประเภทลู่และประเภทลาน จากที่กล่าวมาแล้วพอสรุปได้ว่า กรีฑา หมายถึง กีฬาชนิดหนึ่งซึ่งแยกการประลองออกเป็นแผนกลู่ที่ต้องแข่งขันบนทางวิ่ง และใช้การวิ่งเป็นส่วนสำคัญ ตัดสินกันด้วยเวลาและความเร็ว ส่วนแผนกลานประลองบนลานกว้างๆ ด้วยการกระโดด ทุ่ม พุ่ง และขว้างตัดสินกันด้วยระยะทางของความไกลหรือความสูง

ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในโรงเรียน

2. กรีฑาประเภทลาน (Field Events)

กรีฑาประเภทลาน ประกอบด้วยการวิ่งกระโดดไกล การวิ่งกระโดดสูง การทุ่มน้ำหนัก การขว้างจักร และการพุ่งแหลน แต่ละประเภทต้องอาศัยทักษะที่แตกต่างกัน โดยการวิ่งกระโดดไกล ระบบการทำงานของร่างกายระหว่างประสาทและกล้ามเนื้อต้องมีความสัมพันธ์กัน จะช่วยให้สามารถบังคับส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้อย่างนิ่มนวลและถูกต้องตามจังหวะที่ต้องการ การวิ่งกระโดดสูงต้องรู้จักจังหวะการกระโดด การสปริงตัวขึ้น การลอยตัวในอากาศ และการลงสู่พื้นได้อย่างปลอดภัย การทุ่มลูกน้ำหนักต้องรู้จักการทรงตัว การกระโดดได้อย่างคล่องแคล่วว่องไว และการใช้แรงส่งลูกน้ำหนักให้ไปไกลที่สุด การขว้างจักรต้องอาศัยการเหวี่ยงตัว และจังหวะที่ดีในการเหวี่ยงจักร รวมทั้งต้องมีความรวดเร็วว่องไว ประสาทและทักษะในการเคลื่อนไหวดี การพุ่งปล่อยแหลนออกไปในท่าที่ถูกต้องรู้จักจังหวะการวิ่ง การบังคับแหลนควรเรียนรู้ทำความเข้าใจ และฝึกปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ

กรีฑาประเภทลานสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ประเภทละ 4 รายการ ดังนี้

2.1 ประเภทกระโดด (Jumping Events)
2.1.1 กระโดดสูง (High Jump)
2.1.2 กระโดดไกล (Long Jump)
2.1.3 เขย่งก้าวกระโดด (Triple Jump)
2.1.4 กระโดดค้ำ (Pole Vault)
2.2 ประเภทขว้าง (Throwing Events)
2.2.1 ทุ่มลูกน้ำหนัก (Putting The Shot)
2.2.2 ขว้างจักร (Discus)
2.2.3 พุ่งแหลน (Javelin)
2.2.4 ขว้างค้อน (Hammer)

ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในโรงเรียน

3. กรีฑาประเภทเดิน (Walking Events)

กรีฑาประเภทเดินเป็นการแข่งขันที่ต้องใช้ทักษะการเดิน ซึ่งสามารถจัดการแข่งขันได้ทั้งภายในสนามและบนถนน ประกอบด้วยการแข่งขันเดินภายในสนาม ระยะทาง 10,000 เมตร และ 20,000 เมตร ส่วนการแข่งขันเดินบนถนน ระยะทาง 20 กิโลเมตร และ 50 กิโลเมตร

4. กรีฑาประเภทถนน (Road Races)

เป็นการแข่งขันวิ่งบนถนน เส้นเริ่มและเส้นชัยอาจอยู่ในสนามกรีฑาก็ได้ มีระยะทาง มาตรฐานในการจัดการแข่งขันสำหรับชายและหญิง ดังนี้

4.1 วิ่ง 15 กิโลเมตร
4.2 วิ่ง 20 กิโลเมตร
4.3 วิ่งครึ่งมาราธอน (Half Marathon) 25 กิโลเมตรและ 30 กิโลเมตร
4.4 วิ่งมาราธอน (Marathon) 42.195 กิโลเมตรและ 100 กิโลเมตร

ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในโรงเรียน

มารยาทที่ดีในการเล่นและชมกรีฑา

กรีฑาเหมือนกับกีฬาชนิดอื่นๆตรงที่ ผู้เล่นต้องมีมารยาทในการเล่น และผู้ชมต้องมีมารยาทในการชม เช่นเดียวกันนอกจากทำให้การแข่งขันดำเนินไปด้วยดีแล้ว ยังเป็นการปลูกฝังคุณธรรม ให้กับผู้เล่น และผู้ชมสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการดำรงชีวิตในสังคมได้เป็นอย่างดี ผู้เล่นและผู้ชมกรีฑาที่ดีจึงควรปฏิบัติตน ดังนี้

1) มารยาทของผู้เล่นที่ดี ควรปฏิบัติดังนี้
แต่งกายด้วยชุดที่เหมาะสมกับการล่นกรีฑา มีกิริยาวาจาสุภาพเรียบร้อย มีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือเพื่อนร่วมทีมและผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม เคารพเชื่อฟังและปฏิบัติตามคำสั่งของผู้สอน เคารพเชื่อฟังคำตัดสินของกรรมการผู้ตัดสินตลอดเวลา ปฏิบัติตามกฎ กติกาอย่างเคร่งครัด ไม่แสดงกิริยาอาการไม่พอใจ หากเพื่อนร่วมทีมเล่นผิดพลาด เมื่อชนะหรือแพ้ไม่ควรแสดงความดีใจหรือเสียใจจนเกินไป ก่อนและหลังการแข่งขันควรแสดงความเป็นมิตรกับผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามด้วยการทักทายหรือจับมือแสดงความยินดี ไม่ควรยืมอุปกรณ์การเล่นของคนอื่นมาใช้ฝึกซ้อม

กรีฑาทีมชาติไทยชาย

2) มารยาทของผู้ชมที่ดี ควรปฏิบัติดังนี้
ไม่กล่าวถ้อยคำหรือแสดงกิริยาเยาะเย้ยถากถางผู้เล่นที่เล่นผิดพลาด แสดงความยินดีกับผู้เล่นที่เล่นดี เช่น การปรบมือ เป็นต้น ไม่กระทำตัวเป็นผู้ตัดสินเสียเอง เช่น ตะโกนแย้งคำตัดสิน เป็นต้น

ไม่เชียร์ในสิ่งที่เป็นการส่อเสียดในทางไม่ดีต่อผู้เล่นฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด ไม่กระทำสิ่งใด ๆ ที่ทำให้ผู้ติดสินหรือเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ปฏิบัติงานไม่สะดวก ไม่กระทำสิ่งใด ๆ อันเป็นการกีดขวางการเล่นของผู้เล่น กระทำตนให้เป็นประโยชน์

การเอื้ออาทรมีอะไรบ้าง

1. ความเอื้ออาทร หมายถึง พฤติกรรมความไม่เห็นแก่ตัว อันหมายรวมถึง ความบริสุทธิ์ใจ ความเมตตาอาทร ความมีนํ้าใจ ความเอื้อเฟื้อ เผื่อแผ่ การแบ่งปัน การเสียสละ ประโยชน์ส่วนตน หรือจิตสาธารณะ เพื่อมุ่งให้เกิดประโยชน์บุคคลอื่น การช่วยเหลือผู้อื่น หรือ กล่าวคือ พฤติกรรมที่ผู้กระทํา กระทําเพื่อให้เป็นประโยชน์กับผู้อื่น แต่หากการ ...

ลักษณะของผู้ที่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่มีอะไรบ้าง

ลักษณะของผู้ที่มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความเป็นห่วงเป็นใยต่อบุคคลรอบข้าง มีความจริงใจที่ใจให้ความช่วยเหลือ มีความปราถนาดีต่อผู้อื่น

ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และความเสียสละ มีอะไรบ้าง

ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และความเสียสละ คือ การแบ่งปันสิ่งที่ตนมี การช่วยเหลือ การทำาประโยชน์ ให้กับผู้อื่นหรือสังคมส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน เช่น การอุทิศแรงกายแรงใจ การบริจาคทรัพย์ เป็นคุณธรรมพื้นฐานในการอยู่ร่วมกันในสังคม ทำาให้สังคมน่าอยู่และมีความสุข

ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละมีความสำคัญอย่างไร

ประโยชน์ของการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ สร้างนิสัยที่ดีงามให้แก่บุคคล สร้างสันติสุขให้เกิดในสังคม ส่วนคนที่เห็นแก่ตัว ผู้อื่นจะรังเกียจ ทำให้สังคมวุ่นวาย