Free iphone ringtone แจกร งโทนไอโฟน 15 เพลงฮ ต

Free iPhone Ringtone แจกริงโทนไอโฟน 15 เพลงฮิต

ตามที่ได้ประกาศไว้ว่าคืนนี้จะมีการแจกริงโทนสำหรับคนรักไอโฟน ซึ่งชุดแรกนี้เอาเบาๆไปก่อนครับ แต่รับรองว่าชุดที่สอง เยอะยุใจอย่างแน่นอน ห้ามพลาดเด็ดขาด  ซึ่งขอบอกว่าไว้ก่อนว่า ชุดที่สองประมาณไม่ต่ำกว่า 100 เพลง แปลงไฟล์เรียบร้อย พร้อมโหลดครับ
มาดูรายชื่อเพลงสำหรับริงโทนไอโฟน ชุดที่ 1 กันครับ

Free iphone ringtone แจกร งโทนไอโฟน 15 เพลงฮ ต

ดาวน์โหลดไอโฟนริงโทน ที่นี่
Download iPhone ringtone here!!
(-: คราวหน้าจะมาสอนวิธีการทำริงโทนแบบง่ายๆมาฝากครับ ใช้ iTune อย่างเดียวก็เพียงพอครับ
อัปเดต 11 ส.ค. 2552
ผมเพิ่มบทความการสร้างเสียงเรียกเข้าไอโฟน จากโปรแกรม iTune แล้วนะครับ อ่านได้ที่ การทำไอโฟนริงโทนด้วย iTune (Windows)
Download โอ๊ยๆ – เบน ชลาทิศ – http://www.ziddu.com/download/8580191/Bencharatit-oye-oye.zip.html
ปล. หากชื่อชอบศิลปินท่านใดก็อย่าลืมอุดหนุนผลงานด้วยนะครับ

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นเอก สอบในสนามหลวง วันอังคาร ที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๓

๑ . อุทเทสว่า “ สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้ อันตระการดุจราชรถที่พวกคนเขลา หมกอยู่ แต่พวกผู้รู้หาข้องอยู่ไม่ ” จงวิจารณ์ว่า ตอนไหนแสดง ปรมัตถปฏิปทา ตอนไหนแสดงปรมัตถ์ ตอนไหนแสดงสังสารวัฏฏ์ ? เพราะเหตุไร ? ๑ . ตอนที่ว่า “ สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้ อันตระการดุจราชรถ ” แสดง ปรมัตถปฏิปทา เพราะประสงค์ให้ดูเพื่อนิพพิทาเป็นต้น ตอนที่ว่า “ แต่พวกผู้รู้หาข้องอยู่ไม่ ” แสดงปรมัตถ์ เพราะแสดงถึงความรู้ ที่เป็นเหตุให้พ้นจากความข้องอยู่ซึ่งเป็นปรมัตถธรรม อันจะพึงได้ด้วย การปฏิบัติในปรมัตถปฏิปทาโดยลำดับ ตอนที่ว่า “ ที่พวกคนเขลาหมกอยู่ ” แสดงสังสารวัฏฏ์ เพราะต้องวนเวียน ท่องเที่ยวไปด้วยความเขลา ฯ ๒ . ข้อว่า ผู้ใดจักระวังจิต ผู้นั้นจักพ้นจากบ่วงแห่งมาร ดังนี้ คำว่า มาร และ บ่วงแห่งมาร ได้แก่อะไร ? เพราะเหตุไรจึงชื่ออย่างนั้น ? ๒ . มาร ได้แก่กิเลสกาม คือ เจตสิกอันเศร้าหมอง ชักให้ใคร่ให้รักให้ อยากได้ ชื่ออย่างนั้นเพราะเป็นโทษล้างผลาญคุณความดีและทำให้เสียคน ฯ บ่วงแห่งมาร ได้แก่วัตถุกาม คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันเป็นของน่าชอบใจ ชื่ออย่างนั้นเพราะเป็นอารมณ์เครื่องผูกใจให้ติด ฯ ๓ . ทุกขตา ความเป็นทุกข์แ

ปัญหาและเฉลยวิชาวินัยบัญญัติ นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ ที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๕

๑.      ๑.๑   อภิสมาจารคืออะไร ?   แบ่งเป็นกี่ประเภท ?   อะไรบ้าง ?           ๑.๒ ขันธ์แห่งจีวรประกอบด้วยอะไรบ้าง ?   ทรงมีพระพุทธานุญาตไว้อย่างไร ?   ๑.      ๑.๑   คือธรรมเนียมของภิกษุ แบ่งเป็น ๒ ประเภทคือ                  เป็นข้อห้าม ๑ เป็นข้ออนุญาต ๑ ฯ           ๑.๒ ประกอบด้วยมณฑล อัฑฒมณฑล และอัฑฒกุสิ ฯ ทรงมีพระพุทธานุญาตไว้                  ว่า จีวรผืนหนึ่งให้มีขันธ์ไม่น้อยกว่า ๕ เกินกว่านั้นใช้ได้ แต่ให้เป็นขันธ์ที่เป็นคี่                  คือ   ๗ , ๙ , ๑๑ เป็นต้น ฯ   ๒.      ๒.๑ ในบาลีแสดงเหตุนิสัยจะระงับจากอุปัชฌาย์ไว้เท่าไร ?   อะไรบ้าง ?           ๒.๒ ภิกษุผู้ควรจะได้นิสัยมุตตกะต้องมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง ?   ๒.      ๒.๑ แสดงไว้ ๕ ประการคือ อุปัชฌาย์หลีกไปเสีย ๑   สึกเสีย ๑   ตายเสีย ๑                  ไปเข้ารีตเดียรถีย์ ๑    สั่งบังคับ ๑ ฯ           ๒.๒ มีคุณสมบัติ คือ                         ๑) เป็นผู้มีศรัทธา   มีหิริ   มีโอตตัปปะ   มีวิริยะ   มีสติ                         ๒) เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีล อาจาระ ความเห็นชอบ เคยได้ยินได้ฟังมาก                        

ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นโท สอบในสนามหลวง วันเสาร์ ที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๘

๑ .   ตจปัญจกกัมมัฏฐานได้แก่อะไรบ้าง ?   จัดเป็นสมถะหรือวิปัสสนา ?   จงอธิบาย    ๑.   ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทันตา และตโจ ฯ   เป็นได้ทั้งสมถะและวิปัสสนา   ถ้าเพ่ง        กำหนดยังจิตให้สงบด้วยภาวนา เป็นสมถะ ถ้าเพ่งพิจารณาถึงความแปรปรวน        เปลี่ยนแปลงไป หรือให้เห็นว่าเป็นทุกข์ คือทนอยู่ได้ยากและทนอยู่ไม่ได้ ต้อง        เสื่อมสลายไปในที่สุด หรือให้เห็นว่าเป็นอนัตตา บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่ตัวตน        พิจารณาเช่นนี้เป็นวิปัสสนา ฯ ๒ .   มหาภูตรูป คือ อะไร ?   มีความเกี่ยวเนื่องกับอุปาทายรูปอย่างไร ?   ๒ .   คือ รูป ที่เป็นใหญ่เป็นประธาน อันประกอบด้วย ธาตุ ๔ ได้แก่ ดิน น้ำ ไฟ ลม ฯ           เป็นที่ตั้งอาศัยแห่งรูปย่อยซึ่งเรียกว่าอุปาทายรูป   เมื่อรูปใหญ่แตกทำลายไป       อุปาทายรูปที่อิงอาศัยมหาภูตรูปนั้นก็แตกทำลายไปด้วย ฯ   ๓ . พระพุทธเจ้าทรงประพฤติประโยชน์โดยฐานเป็นพระพุทธเจ้าที่เรียกว่าพุทธัตถจริยา        คือทรงประพฤติอย่างไร ?   ๓ .   ทรงทำหน้าที่ของพระพุทธเจ้า คือ ได้ทรงแสดงธรรมประกาศพระศาสนาให้        บริษัททั้งคฤหัสถ์และบรรพชิตรู้ทั่วถึงธรรมตามภูมิชั้น และทรงบัญญัติสิกข