ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์

ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์
ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์
Middle|Left Green

​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​ปลอดภาษี แถมดอกเบี้ยสูง​​

    • สมัครที่สาขาใกล้คุณ

    HtmlBlock

    11

    ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์
     

    ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์

     

    สร้างระเบียบวินัยเพื่อเงินก้อนใหญ่ในอนาคต

    ออมเงินอย่างสม่ำเสมอในจำนวนเท่ากันนาน 24 เดือน

    Middle|Right

    ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์

    HtmlBlock

    12

    ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์
     

    ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์

     

    ปลอดภาษีดอกเบี้ย

    ไม่ต้องเสียภาษีดอกเบี้ยเมื่อฝากครบกำหนดเวลา ตามเงื่อนไขที่ธนาคารกำหนด​


    Middle|Left

    ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์

    HtmlBlock

    13

    ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์
     

    ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์

     

    ออมเงินแบบตรงใจ

    เลือกจำนวนเงินออมด้วยตัวเอง

    ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์

    ก็ออมได้

    ​​


    Middle|Center

    ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์

    HtmlBlock

    14

    ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์
     

    ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์

     

    ฝากสะดวกกว่าด้วยบริการหักบัญชีอัตโนมัติ

    ระบบจะหักเงินจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์หรือกระแสรายวัน เข้าบัญชีทวีทรัพย์ทุกวันที่ 5 ของเดือน


    Middle|Left

    ฝาก ประ จํา กับ ออม ทรัพย์

    HtmlBlock

    21

    รายละเอียดบัญชี

    • ฝากเท่ากันทุกเดือนๆ ละ 1 ครั้ง เป็นจำนวนเงินเท่ากับที่เปิดบัญชีครั้งแรก โดยจะได้รับดอกเบี้ยเมื่อครบกำหนดระยะเวลาการฝาก
    • ขาดการฝากได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ตลอดระยะเวลาการฝาก
    • หากขาดการฝากตั้งแต่ครั้งที่ 3 เป็นต้นไป ธนาคารจะไม่รับฝากเงินฝากทวีทรัพย์ในงวดที่เหลือต่อไป และจะได้รับดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ตามประกาศของธนาคาร และหักภาษี ณ ที่จ่าย
    • มีสิทธิ์ขอยกเว้นภาษีดอกเบี้ยเงินฝากประเภทนี้ได้เพียงคนละ 1 บัญชีเท่านั้น

    HtmlBlock

    31

    การเปิดบัญชี

    รายละเอียด
    • เปิดบัญชีขั้นต่ำ 500 บาท สูงสุดไม่เกิน 25,000 บาท โดยนำฝากในจำนวนเท่ากันทุกเดือน ติดต่อกัน 24 เดือน​​
    คุณสมบัติ
    • บุคคลธรรมดาอายุตั้งแต่ 12 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
    • บิดาหรือมารดาสามารถเปิดบัญชีเพื่อบุตรผู้เยาว์ที่อายุต่ำกว่า 12​​ ปี
    เอกสาร

    บุคคลธรรมดา

    • บัตรประจำตัวประชาชนตัวจริง (Smart Card)
    • ​​​สูติบัตรหรือบัตรประจำตัวประชาชนของบุตร และทะเบียนบ้าน (กรณีบิดามารดาต้องการเปิดบัญชีให้บุตร)
    • บัตรประจำตัวประชาชนรุ่นเก่าไม่มีชิป (แนบเอกสารที่ออกโดยหน่วยงานราชการ 2 อย่าง เช่น ​สำเนาทะเบียนบ้าน, สำเนาใบขับขี่, สำเนาบัตรข้าราชการ/บัตรพนักงานรัฐวิสาหกิจ หรือ สำเนา Passport)


    ตารางการเปิดเผยข้อมูลผลิตภัณฑ์บัญชี


    HtmlBlock

    42

    คำถามที่พบบ่อย

    คำนวณดอกเบี้ยอย่างไร ?

    คำนวณจากสูตรการคำนวณดังนี้

    ดอกเบี้ยที่ได้รับ = เงินต้น x (อัตราดอกเบี้ย/100) x (ระยะเวลาที่ฝากจริง/365)

    นำเงินเข้าฝากวันไหนได้บ้าง ?

    ลูกค้าสามารถนำฝากเงินได้ทุกวันทำการ​ที่ธนาคารทุกสาขา หรือสมัครหักบัญชีอัตโนมัติผ่าน บัญชีเงินฝากออมทรัพย์ หรือ บัญชีเงินฝากกระแสรายวันโดยธนาคารจะหักเงินทุกวันที่ 5 ของเดือน กรณีเงินในบัญชีเงินฝากของลูกค้าไม่เพียงพอ ธนาคารจะหักเงินครั้งต่อไปในวันที่ 10 หรือ 15 หรือ 20 หรือ 25 หรือวันสุดท้ายของเดือน

    ครบกำหนดเวลาแล้วสามารถปิดบัญชีได้ที่สาขาไหน ?

    ลูกค้าสามารถปิดบัญชีเงินฝากทวีทรัพย์ได้ที่ธนาคารทุกสาขา​​ ไม่จำเป็นต้องเป็นสาขาที่เปิดบัญชี

    ถ้าขาดฝากหรือฝากไม่ตรงเดือน ฝากไม่ครบตามจำนวนจะคำนวณอัตราดอกเบี้ยอย่างไร ?

    หากขาดฝาก 1 - 2 ครั้งจะได้รับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากทวีทรัพย์และได้รับยกเว้นภาษี คำนวณจากเงินต้นที่ฝากในระยะเวลา 24 เดือน

    ขาดฝากตั้งแต่ครั้งที่ 3 เป็นต้นไป ธนาคารไม่รับฝากเงินฝากทวีทรัพย์ในงวดที่เหลืออีกต่อไป และได้รับดอกเบี้ยกับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ และหักภาษี ณ ที่จ่ายคำนวณจากเงินต้นที่ฝากในระยะเวลา 24 เดือน

    วันที่ครบกำหนดฝากเงินฝากทวีทรัพย์ 24 เดือนนับอย่างไร ?

    วันที่ครบกำหนดฝากนับตั้งแต่วันที่เปิดบัญชี (วันชนวัน) ไปจำนวน 24 เดือน ตัวอย่างเช่น เปิดบัญชีเงินฝากทวีทรัพย์วันที่ 1 พฤษภาคม 2559 วันที่ครบกำหนดฝาก 24 เดือนคือวันที่ 1 พฤษภาคม 2561

    None

    40

    ​​ข้อกำหนดและเงื่อนไขการเปิดบัญชี

    เงินฝากประจํากับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร

    การฝากประจำกับออมทรัพย์ต่างกันอย่างไร ประการแรกเงินฝากประจำเป็นบัญชีที่ได้รับดอกเบี้ยสูงกว่าบัญชีออมทรัพย์ ซึ่งปัจจุบันส่วนใหญ่จะมาพร้อมแคมเปญพิเศษ ไม่ต้องเสียภาษีเงินหัก ณ ที่จ่ายเงินได้บุคคลธรรมดาจากดอกเบี้ยรับ เหมาะสำหรับผู้ที่มีเงินเหลือจากการใช้จ่ายในชีวิตประจำวันและยังไม่มีความจำเป็นต้องใช้ โดยมีเงื่อนไขสำคัญคือ ...

    ฝากประจํากับฝากออมทรัพย์เหมือนกันตรงไหน

    บัญชีเงินฝากประจำ มีข้อดีคือเป็นเหมือนการบังคับการออมเงินไปในตัวเพราะเราต้องฝากทุกๆเดือนในจำนวนเท่ากัน ที่สำคัญเป็นระบบเงินฝากที่มีอัตราดอกเบี้ยสูงกว่าบัญชีเงินฝากแบบออมทรัพย์บางธนาคาร มีบัญชีเงินฝากประจำแบบปลอดภาษี ซึ่งดอกเบี้ยที่ได้รับลูกค้าไม่ต้องเสียภาษี เรียกว่าเป็นบัญชีเงินฝากที่ให้ผลตอบแทนค่อนข้างคุ้มค่า

    ออมเงินฝากประจํา ธนาคารไหนดี

    ฝากประจำ ดอกเบี้ยสูง ธนาคารไหนดี.
    ฝากประจำ: ธนาคารไทยเครดิต อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ : 1.10 – 1.50 % ... .
    ฝากประจำ: LH BANK. อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจำ : 0.85 – 1.15 % ... .
    ฝากประจำ: ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย ... .
    ฝากประจำ: ธนาคารออมสิน ... .
    ฝากประจำ: ธนาคารกสิกรไทย ... .
    ฝากประจำ: ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ... .
    ฝากประจำ: ธนาคารยูโอบี (UOB).

    เงินฝากประจําเบิกได้ตอนไหน

    บัญชีเงินฝากประจำแบบฝากเงินทุกเดือน เป็นการฝากเงินเข้าบัญชีทุกเดือนในจำนวนที่เท่ากันกับจำนวนเงินที่เปิดบัญชี และต้องฝากให้ครบตามระยะเวลาที่ธนาคารกำหนด เช่น 6 เดือน 24 เดือน หรือ 36 เดือน เมื่อครบกำหนด จึงจะสามารถถอนเงินออกได้พร้อมดอกเบี้ย