ค่าปรับยื่นงบล่าช้า สรรพากร

ค่าปรับยื่นงบล่าช้า สรรพากร

Show

ยื่นงบการเงินล่าช้า หรือ ไม่ได้ยื่นงบการเงิน มีค่าปรับหรือไม่ ?

  • By Suppakit Jeaupetch
  • 13/07/2021
  • 1:42 pm

          สำหรับผู้ประกอบการที่ยื่นงบล่าช้า หรือไม่ได้ยื่นเลย ไม่ว่าจะด้วยเหตุไม่ได้จัดทำ บัญชี เลยไม่ได้ปิดงบ หรือว่าไม่มีได้หาผู้สอบ ทำเซ็นรับรองงบการ หรือว่ามีรายการที่ไม่สามารถ เคลียร์ได้ เป็นเหตุให้ทางผู้ประกอบการนั้นต้องมีการยื่นงบการเงินล่าช้าออกไป แล้วค่าปรับสำหรับเหตุการณ์แบบนี้มีอะไรบ้าง

ค่าปรับสำหรับยื่นงบการเงินล่าช้าหรือไม่ได้ยื่นงบการเงิน จะมี 2 ส่วน ได้แก่

  1. ค่าปรับของ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ซึ่งดูแลในส่วนของงบการเงินประจำปี
           1.1. อัตราค่าปรับกรณียื่นงบการเงินล่าช้าไม่เกิน 2 เดือน

ค่าปรับยื่นงบล่าช้า สรรพากร

 

           1.2. อัตรค่าปรับกรณียื่นงบการเงินล่าช้าเกิน 2 เดือน แต่ไม่เกิน 4 เดือน

ค่าปรับยื่นงบล่าช้า สรรพากร

 

           1.3. อัตราค่าปรับกรณียื่นงบการเงินล่าช้าเกินกว่า 4 เดือนขึ้นไป หรือไม่ยื่นงบการเงิน

ค่าปรับยื่นงบล่าช้า สรรพากร

ตารางอัตราค่าปรับตามตารางด้านบนเป็นไปตามพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543

          2. ค่าปรับกรมสรรพากร

            2.1. ค่าปรับอาญายื่นแบบเกินกำหนด ไม่เกิน 2,000 บาท (ปกติต้องยื่นภงด.50 ภายใน 150 วันนับจากวันสิ้นรอบบัญชี)

            2.2. ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน 1,000 บาท

            2.3. ยื่นแบบเกิน 7 วัน 2,000 บาท

            2.4. ค่าปรับอาญาไม่ยื่นงบการเงิน 2,000 บาท

            2.5. เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน) กรณีมีภาษีที่ต้องชำระ

            2.6. อายุความเปรียบเทียบปรับอาญา 1 ปี

CHECK PRICING

คำแนะนำ

ทางผู้ประกอบการจะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของ บัญชี การปิดงบการเงิน การยื่นภาษี ให้ถูกต้อง จะได้ลดการเสียเวลา และไม่ได้โดนค่าปรับต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น หรือถ้าหากผู้ประกอบการสนใจให้ทางเราดำเนินการเรื่อง บัญชี ภาษี และการส่งงบ เพื่อลดความผิดพลาด ทางเราก็มีทีมที่เชี่ยวชาญที่มีประสอบการณ์ด้านธุรกิจขนาดเล็ก และขนาดใหญ่ พร้อมให้บริการท่านอยู่

ทาง สำนักงานบัญชี แอคเคาท์เวิร์ค ได้อธิบายเกี่ยวกับ Dead line ในการ ปิดงบการเงิน และยื่นนำส่งงบการเงิน ไว้

ดังนั้น บทความนี้ จะมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ค่าปรับต่างๆ หากท่านผู้ประกอบการ ไม่ได้ทำการ ปิดงบการเงิน และ ยื่นงบการเงิน หรือยื่นงบเกินกำหนดเวลา ซึ่ง ต้องจ่ายให้แก่ 2 หน่วยงาน ดังนี้ กิจการที่กำลังเจอปัญหาในการจัดทำงบการเงิน และคาดว่าการทำงบการเงินนั้น ไม่สามารถยื่นงบการเงินให้ทันเวลาที่กำหนดได้ เช่น ไม่มีคนทำบัญชีให้ หรือว่าเอกสารไม่ครบถ้วนจึงทำบัญชีได้ไม่สำเร็จ ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็แล้วแต่สิ่งที่ตามมาที่เจ้าของธุรกิจต้องรับผิดชอบคือ ค่าปรับยื่นงบล่าช้า และบางครั้งนักบัญชีเองจะต้องทำความเข้าใจ เพื่อสื่อสารกับเจ้าของธุรกิจให้รู้ถึงภาระและความเสี่ยงนี้ค่ะ ถ้าทำงานจนสุดความสามารถแล้ว เราไม่สามารถยื่นงบได้ทันจริง ค่าปรับที่ต้องเจอมีอะไรบ้างลองไปศึกษาพร้อมๆ กันเลยเนื้อหา ซ่อน1. กรมพัฒนาธุรกิจการค้าเดดไลน์ของการยื่นงบการเงิน1.1 ค่าปรับยื่นงบการเงินล่าช้าไม่เกิน 2 เดือน1.2 ค่าปรับยื่นงบการเงินล่าช้าเกิน 2 เดือน แต่ไม่เกิน 4 เดือน1.3 ค่าปรับยื่นงบการเงินล่าช้าเกิน 4 เดือน หรือไม่ยื่นงบการเงิน (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({}); 1.4 ค่าปรับยื่น บอจ.5 ไม่ทันกำหนด หรือไม่ยื่น บอจ.51.5 ค่าปรับไม่จัดให้มีผู้สอบบัญชี ไม่ส่งสำเนางบดุลให้ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า ไม่มีสำเนาเปิดเผยไว้ในสำนักงาน2. กรมสรรพากรเดดไลน์ของการยื่นแบบภาษีและงบการเงิน2.1 ค่าปรับของการยื่นแบบภาษีเกินกำหนด2.2 ค่าปรับไม่ยื่นงบการเงินด้วยความที่เราต้องนำส่งงบการเงินหรือข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 2 องค์กร ต่อไปนี้ (adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({}); กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากรมสรรพากรเวลาเจอค่าปรับ เราเองก็จะถูกปรับจากทั้ง 2 องค์กรนี้เช่นกันค่ะ โดยรายละเอียดของค่าปรับจะมีดังต่อไปนี้1. กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

เดดไลน์ของการยื่นงบการเงิน

สำหรับงบที่ปิดรอบระยะเวลา 1 ม.ค. – 31 ธ.ค.

กฎหมายกำหนดให้ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน นิติบุคคลต่างประเทศ กิจการร่วมค้า ต้องนำส่งงบการเงินภายใน 5 เดือน นับแต่วันปิด  รอบปีบัญชี คือ ภายในวันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปี

สำหรับบริษัทจำกัด ต้องนำงบการเงินเสนอต่อผู้ถือหุ้นเพื่ออนุมัติในที่ประชุมใหญ่สามัญภายใน 4 เดือนนับแต่วันปิดรอบปีบัญชี (ภายใน 30 เมษายน ของทุกปี) โดยบริษัทจำกัดต้องนำส่งบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ.5) ภายใน 14 วัน นับแต่วันที่จัดประชุมใหญ่

หลังจากนั้นทั้งบริษัทจำกัด จะต้องนำส่งงบการเงินต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ภายใน 1 เดือนนับแต่วันที่งบการเงินได้รับอนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น

ถ้าเรายื่นงบการเงินล่าช้า กรมพัฒนาธุรกิจการค้าเราต้องเสียค่าปรับตามระยะเวลาที่ล่าช้า แบ่งเป็น 3 ช่วงดังนี้

1.1 ค่าปรับยื่นงบการเงินล่าช้าไม่เกิน 2 เดือน

ค่าปรับยื่นงบล่าช้า สรรพากร
ค่าปรับยื่นงบล่าช้าไม่เกิน 2 เดือน

1.2 ค่าปรับยื่นงบการเงินล่าช้าเกิน 2 เดือน แต่ไม่เกิน 4 เดือน

ค่าปรับยื่นงบล่าช้า สรรพากร
ค่าปรับยื่นงบล่าช้าเกิน 2 เดือนแต่ไม่เกิน 4 เดือน

1.3 ค่าปรับยื่นงบการเงินล่าช้าเกิน 4 เดือน หรือไม่ยื่นงบการเงิน

ค่าปรับยื่นงบล่าช้า สรรพากร
ค่าปรับยื่นงบล่าช้าเกิน 4 เดือน หรือไม่ยื่นงบการเงิน

ค่าปรับก็จะเพิ่มตามจำนวนเดือนที่ล่าช้าเพิ่มขึ้นนะคะ อัตราค่าปรับก็จะปรับผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชี และกรรมการผู้จัดการ/หุ้นส่วนผู้จัดการ/ผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน

1.4 ค่าปรับยื่น บอจ.5 ไม่ทันกำหนด หรือไม่ยื่น บอจ.5

นอกจากยื่นงบล่าช้าแล้ว ถ้าไม่ได้ยื่น บอจ. 5 ตามกำหนดนี้ ก็จะมีค่าปรับด้วย

สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ.5) ตามกฎหมายต้องส่งภายใน 14 วันนับจากวันประชุมใหญ่สามัญประจำปี

หากไม่ได้นำส่งสำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น (บอจ.5) ตามกำหนด มีโทษเปรียบเทียบปรับกรรมการคนละ 2,000 บาท

1.5 ค่าปรับไม่จัดให้มีผู้สอบบัญชี ไม่ส่งสำเนางบดุลให้ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า ไม่มีสำเนาเปิดเผยไว้ในสำนักงาน

อีกส่วนนึงที่เราต้องถูกปรับไปโดยปริยายถ้ายื่นงบล่าช้า คือ การไม่จัดให้มีผู้สอบบัญชี และส่งสำเนางบให้ผู้ถือหุ้นภายในเวลาที่กำหนดสำหรับบริษัทจำกัด โดยมีอัตราค่าปรับตามนี้

บริษัทจำกัดค่าปรับ– ไม่จัดให้มีผู้สอบบัญชีตรวจสอบงบดุล
– ไม่ส่งสำเนางบดุลให้ผู้ถือหุ้นล่วงหน้าก่อนวันประชุม 3 วัน
– ไม่มีสำเนางบดุลเปิดเผยไว้ในสำนักงานของบริษัทมีโทษเปรียบเทียบปรับผู้จัดการ/กรรมการ/คณะกรรมการ คนละ 1,000 บาท (แล้วแต่กรณี)
และ
กรรมการผู้มีอำนาจลงชื่อผูกพันบริษัทคนละ 1,000 บาท

2. กรมสรรพากร

เดดไลน์ของการยื่นแบบภาษีและงบการเงิน

สำหรับกรมสรรพากร กำหนดให้ธุรกิจต้องยื่นแบบภาษีเงินได้นิติบุคคล ภงด.50 ประจำปี ภายใน 150 วัน พร้อมกับงบการเงิน (Link ข้อมูลมาจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า)

ถ้าไม่ได้ยื่นงบการเงินแก่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ก็น่าจะไม่สามารถยื่นภาษีได้ตามกำหนดโดยปริยาย (เศร้าจุง) เราจะมีค่าปรับแบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้

2.1 ค่าปรับของการยื่นแบบภาษีเกินกำหนด

  • ไม่เกิน 7 วัน ( 1-7 วัน)  ค่าปรับ 1,000 บาท
  • เกิน 7 วัน ค่าปรับ 2,000 บาท

ถ้าหากมีค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ต้องชำระเงิน มีเงินเพิ่มที่ต้องชำระ 1.5% ต่อเดือนด้วยนะคะ

2.2 ค่าปรับไม่ยื่นงบการเงิน

เนื่องจากตามกฎหมายกำหนดให้เรายื่นงบการเงินทั้งกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าและกรมสรรพากร เมื่อไรก็ตามที่เราพลาดยื่นงบการเงินกับกรมพัฒนาธุรกิจการค้าแล้วก็จะโดนค่าปรับยื่นงบช้าจากสรรพากรโดยปริยาย

สำหรับกรมสรรพากรเอง ถ้าเกินกำหนดยื่นงบการเงินก็เสียค่าปรับอัตราเดียว จำนวน 2,000 บาท

ค่าปรับยื่นงบล่าช้า สรรพากร
อัตราค่าปรับกรมสรรพากร

โดยสรุปแล้วทั้งหมดนี้คือ ค่าปรับทั้งหมดที่อาจเกิดขึ้นกับการยื่นงบการเงินไม่ทัน นอกจากจะเกี่ยวข้องกับตัวงบแล้ว ยังมีค่าปรับที่สืบเนื่องอื่นๆ เช่น บอจ. 5 การจัดประชุม และแบบภาษี ฉะนั้น ถ้าเพื่อนๆรู้ค่าปรับที่ต้องจ่ายชำระแล้ว หากปิดงบการเงินไม่ทันจริงๆ หรือว่าลูกค้าไม่สามารถส่งข้อมูลให้ทางสำนักงานบัญชีได้ทัน เราก็ควรชี้แจงต่อเจ้าของกิจการถึงความเสี่ยงและค่าปรับนี้ไว้ล่วงหน้าค่ะ เพราะบางครั้งมันอาจทำให้เจ้าของกิจการกระตือรือร้นส่งข้อมูลให้เราทำงานให้เสร็จทันเวลาได้ค่ะ


และถ้าใครอยากยื่นงบให้ทันไม่มีปัญหาในภายหลัง เราแนะนำเช็คในบทความนี้เพิ่มเติมได้เลยจ้า: 6 เรื่องที่ต้องเช็ค ยื่นงบการเงิน e-filing ให้ถูกต้อง

อบรมบัญชีเก็บชั่วโมง CPD ออนไลน์ง่ายๆ ได้ที่บ้าน

สอบถามได้ที่นี่ Line: @cpdacademy หรือ https://lin.ee/36U1ks0Y

  • Facebook iconFacebook
  • Twitter iconTwitter
  • LINE iconLine

ค่าปรับยื่นงบล่าช้า สรรพากร

CPD Academy

ถูกก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ปี 2017 ด้วยความตั้งใจเต็มเปี่ยมในการส่งต่อความรู้ดีๆ ให้กับนักบัญชีและผู้สอบบัญชีในรูปแบบ e-learning ที่ช่วยให้การเก็บชั่วโมง CPD เป็นเรื่องง่ายๆ ทำได้เองที่บ้าน

ยื่นงบการเงินล่าช้าเสียค่าปรับเท่าไร

ค่าปรับกรมสรรพากร หากมีการยื่นแบบล่าช้าในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน มีค่าปรับ 1,000 บาท หากมีการยื่นแบบล่าช้าในระยะเวลาเกิน ระยะเวลา 7 วัน มีค่าปรับ 2,000 บาท ในกรณีไม่ยื่นงบการเงิน จะมีค่าปรับอาญา 2,000 บาท ในกรณีที่มีภาษีต้องชำระ จะมีเงินเพิ่ม ในอัตรา 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน)

ยื่นงบล่าช้าที่ไหน

1. บริษัทฯ ยื่นงบล่าช้าจะต้องยื่นทางใด ยื่นกระดาษที่กรมพัฒ หรือยื่น E-filling <br> 2. หากยื่น E-Filing จะต้องจ่ายค่าปรับอย่างไร

ค่าปรับอาญา มีอายุกี่ปี

ค่าปรับกรณีมิได้ยื่นงบการเงิน มีอายุความ 1 ปี นับจากวันที่ครบกำหนดยื่นงบการเงิน

งบการเงินมีอายุความกี่ปี

ค่าปรับยื่นงบล่าช้าหรือไม่ได้ยื่นงบการเงิน มีอายุความ 1 ปี นับจากวันที่ครบกำหนดยื่นงบการเงินกรณีที่เป็นบริษัทจำกัดและบริษัทมหาชนจำกัด จะต้องจัดให้มีการประชุมใหญ่สามัญประจำปี เพื่ออนุมัติงบการเงินภายใน 4 เดือน นับแต่วันสิ้นรอบบัญชี และจะต้องนำไปยื่นต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้าภายใน 1 เดือนนับจากวันประชุม ถ้าประชุมทันตามกำหนด ...