ตัวอย่างการเขียนโครงงานภาษาไทย

โครงงานภาษาไทย เรอง การศกึ ษาแนวคิดและภาพพจนจ์ าก งานเพลงของเขยี นไขและวานิช คณะผู้จดั ทาํ นางสาว นนทรย์ คาํ วนั สา เลขที 12 นางสาว สคุ นธา เสทิน เลขที 22 นางสาว ธัญญามาศ จินดามณี เลขที 25 ครูผู้สอน นายธิรพงษ์ คงดว้ ง รายงานโครงงานฉบบั นเี ปนสว่ นหนงึ ของวชาภาษาไทย(ท33102) ภาคเรยนที 2 ปการศึกษา 2563 โรงเรยนทีปราษฎร์พิทยา

โครงงานภาษาไทย เร่ือง การศึกษาแนวคิดและภาพพจน์จาก งานเพลงของเขยี นไขและวานชิ คณะผจู้ ัดทำ นางสาว นนทรีย์ คำวนั สา เลขท่ี 12 นางสาว สคุ นธา เสทนิ เลขที่ 22 นางสาว ธัญญามาศ จินดามณี เลขท่ี 25 ครูผูส้ อน นายธริ พงษ์ คงด้วง รายงานโครงงานฉบบั นเ้ี ป็นสว่ นหนึ่งของวิชาภาษาไทย(ท33102) ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 โรงเรยี นทีปราษฎร์พิทยา

ก คำนำ รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหน่ึงของกลุ่มสาระภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยรายงานเล่มนี้จะมีเน้ือหา เกี่ยวกับการจัดทำโครงงงานภาษาไทย เรื่อง การศึกษาแนวคิดและภาพพจน์จากงานเพลงของเขียนไขและวานิช ซึ่งจะมีเน้ือหาเกี่ยวกับการวิเคราะห์แนวคิดและภาพพจน์จากบทเพลง การทำโครงงานเล่มนี้โดยมีจุดประสงค์ เพื่อให้ผทู้ ่ีสนใจในงานเพลงของเขียนไขและวานิชไดศ้ ึกษาแนวคิดและภาพพจน์ตามไปกับบทเพลงเพอ่ื ให้เกิดความ เขา้ ใจในบทเพลงมากยิ่งขนึ้ การจัดทำโครงงานรายวชิ าภาษาไทยเรื่อง การศึกษาแนวคิดและภาพพจน์จากงานเพลงของเขยี นไขและ วานิชในคร้ังน้ี คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การจัดทำเอกสารฉบับนี้มีข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน และผู้ กำลังศกึ ษาเรือ่ งแนวคิดและภาพพจน์ หากมขี อ้ ผิดพลาดประการใดทางคณะผู้จัดทำขออภัยมา ณ ทีน่ ้ี คณะผู้จัดทำ

ข กติ ติกรรมประกาศ โครงงานเรอ่ื ง การศึกษาแนวคิดและภาพพจน์จากงานเพลงของเขียนไขและวานชิ นี้สำเรจ็ ลุล่วงไปไดด้ ว้ ย ความกรุณาอย่างยิ่งจากนายธิรพงษ์ คงด้วง อาจารย์ที่ปรึกษาวิชาภาษาไทย ซึ่งท่านกรุณาสละเวลาในการให้ คำปรึกษา คำแนะนำ ตลอดจนให้ความเอาใจใส่ในการตรวจและแก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆ ในโครงงานน้ีเสมอมา อันมีคา่ ย่ิงตอ่ โครงงานฉบบั นี้ ผจู้ ัดทำขอกราบขอบพระคณุ เป็นอย่างสงู มา ณ โอกาสน้ี ผจู้ ัดทำขอขอบคณุ เพ่ือนๆ ทกุ คนในช้นั เรยี นที่ใหค้ วามชว่ ยเหลอื รวมท้ังข้อเสนอแนะอันเปน็ ประโยชน์และ ให้กำลงั ใจแกผ่ ู้จดั ทำเสมอมา สุดท้ายนี้ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณบิดามารดาและครอบครัวทุกท่านที่คอยให้คำปรึกษา ปลอบโยน ตลอดทง้ั สนบั สนุนท้งั ด้านกำลังทรพั ยแ์ ละกำลังใจแก่ผวู้ จิ ยั มาโดยตลอด จนกระทง่ั การทำโครงงานนี้สำเรจ็ ลุล่วง คณะผูจ้ ัดทำ

สารบัญ ค เรอื่ ง หน้า ก คำนำ ข จ กติ ติกรรมประกาศ 1 สารบัญตาราง 1 2 บทที่ 2 3 1. บทนำ 3 1.1 ที่มาและความสำคญั 4 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 4 1.3 ขอบเขตการศกึ ษา 5 1.4 ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะไดร้ บั 7 1.5 นิยามศพั ท์เฉพาะ 7 7 2. เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ้ ง 8 2.1 แนวคดิ 9 2.2 ความรเู้ กย่ี วกับภาพพจน์ 9 10 3. วธิ ีดำเนนิ การวิจยั 10 3.1 แหล่งขอ้ มูล 15 3.2 เกณฑใ์ นการวเิ คราะห์ 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมลู 3.4 การวเิ คราะหข์ ้อมลู 3.5 ระยะเวลาในการดำเนนิ การ 4. การวิเคราะหข์ ้อมลู 4.1 ศกึ ษาแนวคิดจากงานเพลงของเขียนไขและวานิช 4.2 ศกึ ษาภาพพจน์จากงานเพลงของเขียนไขและวานชิ

สารบญั (ต่อ) ง บทท่ี หน้า 5. สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ 22 5.1 สรุป 22 5.2 อภปิ รายผล 22 5.3 ข้อเสนอแนะ 22 23 บรรณานุกรม

สารบญั ตาราง จ ตารางท่ี หน้า ตารางที่ 1ระยะเวลาในการดำเนินงาน 9

1 โครงงานเรอ่ื ง การศึกษาแนวคดิ และภาพพจน์จากงานเพลงของเขยี นไขและวานิช คณะผจู้ ดั ทำ 1. นางสาวนนทรีย์ คำวันสา เลขที่ 12 ชั้น ม.6/1 2. นางสาวสคุ นธา เสทนิ เลขที่ 22 ชั้น ม.6/1 3. นางสาวธัญญามาศ จินดามณี เลขที่ 25 ชนั้ ม.6/1 บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคญั ของการศึกษาคน้ คว้า ในปัจจุบันเพลงเป็นเครอ่ื งมือที่สร้างความเพลิดเพลินให้กับคนในสังคมมีจังหวะสนุกสนานบ้างเศร้า บ้างเคล้าความจริงเพลงในแต่ละเพลงได้ผ่านการสร้างสรรค์ทางความคิดข้ึนเพ่ือถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด อารมณ์และยังสะท้อนถงึ ชีวิตในสังคมของ ผูแ้ ต่งบทเพลงนั้นๆโดยท่ีผู้แต่งก็จะมีแนวทางการแต่งบทเพลงไป ในทางที่ถนัดของตัวเองสำหรับคนท่ีรอ้ งเพลงเองแต่บางคนก็สามารถสร้างสรรค์บทเพลงได้หลายแบบให้กับ คนหลายๆคนแต่กย็ ังคงความเป็นตัวเองอยู่ในความนึกคิดของผู้แตง่ อีกท้ังยังมีการเลอื กใชค้ ำในรูปแบบตา่ งๆที่ จะมารังสรรค์ในบทเพลงซ่งึ แตกต่างจากภาษาในชวี ิตประจำวันรวมถึงการนำภาพพจน์มาปรบั ใช้ให้เข้ากบั บท เพลงหรอื อารมณ์ความร้สู กึ ตอนที่ผู้แต่งได้แต่งบทเพลงน้นั ๆอีกทั้งในการประพนั ธเ์ พลงยงั ทำใหผ้ ฟู้ ังรู้สกึ เขา้ ถึง ได้ง่ายกว่าวรรณกรรมประเภทอื่นๆเพราะมีขนาดท่ีสนั้ และเพลงก็มีหลายแบบหลากหลายประเภทให้ผู้ฟังได้ เลือกฟังกนั อกี ดว้ ยไม่วา่ จะเป็นเพลงสตรงิ เพลงลูกทงุ่ เพลงลกู กรงุ เพลงโอเปรา่ เพลงอนิ ด้ี เปน็ ตน้ เพลงโฟลค์ ซอง ก็เปน็ เพลงอีกหน่ึงแนวเพลงท่ีไมย่ ุ่งยากและไม่ฟกิ ทำนองและความเหมอื นการเลน่ จะ แล้วแต่สไตล์ของแตล่ ะคนมีทว่ งทำนองทส่ี บายๆบางบทเพลงอาจสะทอ้ นไปถึงการดำรงชวี ิตที่ถ่ายทอดจากคน หน่ึงถงึ อีกคนหนึ่งจากคนรุน่ หน่งึ สคู่ นอีกรุ่นหนึง่ โดยปราศจากการเขยี นบันทึกพวกเขาจะใชว้ ิธจี ดจำคำรอ้ งและ เลยี นแบบการเล่นสบื ทอดกันไปและสรา้ งความสนุกสนานสรา้ งความบรรเทงิ ใชป้ ระกอบงานพิธขี องชาวบ้านได้ ซง่ึ เนื้อหาในเพลงอาจจะแตกตา่ งกนั ออกไปอาธมิ ีคติสอนใจในเพลงมีเร่ืองราวเกีย่ วกบั ศานาเกี่ยวกบั ชีวติ ความ เป็นอยู่หรอื แมก้ ระท่ังความรัก เป็นตน้ การขบั รอ้ งน้ันจะมีเคร่ืองดนตรีประกอบหรือไมม่ ีกไ็ ดถ้ า้ ใช้เครื่องดนตรี ก็จะนำเครื่องดนตรีที่มีอยู่ในท้องถ่ินมาบรรเลงประกอบไม่มีแบบแผนการบรรเลงซ่ึงจะบรรเลงอย่างอิสระ แน่นอนถือได้ว่าเพลงของทุกชาติเป็นเพลงพื้นบ้านหรอื เป็นต้นกำเนิดของเพลงชนิดอ่ืนๆก็ว่าได้อาธิเพลงของ เยอรมัน เพลงของชาวฝรั่งเศส เพลงขององั กฤษ หรือเพลงพ้นื บา้ นของไทย

2 บทเพลงไม่ว่าจะเป็นเพลงไทยหรือเพลงภาษาใดก็ตามเป็นวรรณกรรมประเภทหนึ่งที่สร้างสรรค์ขึ้น เพอ่ื ถา่ ยทอดความรสู้ ึกนึกคิดของผู้ประพันธ์โดยมถี อ้ ยคำเปน็ ส่อื กลางและใช้เสยี งดนตรเี พ่อื ใหเ้ กดิ ความไพเราะ เน้ือหาสาระของบทเพลงจะแตกต่างกนั ไปตามลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรมของผปู้ ระพันธ์บทเพลงนน้ั ๆใน การถ่ายทอดความรู้สึกและแก่นเร่อื งของแต่ละบทเพลงผู้ประพันธ์จะใช้กลวิธีและเทคนิคท่ีแตกต่างจากการ ส่อื สารในชวี ิตประจำวนั ท่วั ไปเชน่ การเลือกใช้คำทง้ั ด้านเสียงและความหมายกลวิธที ่ีสำคัญอีกวิธหี นงึ่ คือการใช้ ภาพพจน์ ซงึ่ เปน็ กลวิธีเดียวกันกบั ที่ใชป้ ระพันธ์บทรอ้ ย คณะผจู้ ดั ทำไดเ้ ลอื กผ้ทู ส่ี ามารถสร้างสรรคบ์ ทเพลงเองรอ้ งเองและคณะผ้จู ดั ทำเหน็ ว่าเขยี นไขและวา นิชมีคุณสมบตั ิตรงตามท่ีผ้จู ัดทำต้องการจึงได้นำบทเพลงมาศกึ ษาและวิเคราะห์แนวคดิ และภาพพจน์ อีกทั้งยงั มแี นวคดิ ทนี่ า่ สนใจในบทเพลงของเขยี นไขและวานิช เขยี นไขและวานิชมีความสามารถในการประพันธบ์ ท เพลงท่มี มี าน้ันมาสร้างความสนุกและเผยแพรใ่ หก้ ับผู้ท่ีติดตามเขาอยู่เพอื่ เป็นการคลายเครียดผ่อนคลายจาก ความเหน็ดเหนื่อยต่อมาไมน่ านเพลงของเขากด็ งั ชว่ั ข้ามคนื โดยทเี่ ขาเองกไ็ มร่ ู้ตวั ดว้ ยเพลง แกม้ นอ้ งนางนน้ั แดง กว่าใคร เปน็ เพลงที่ทำให้เขาเป็นทีร่ จู้ ักมากขน้ึ ทำให้คณะผูจ้ ัดทำสนใจในบทเพลงที่เขียนไขและวานชิ ได้ สรา้ งสรรคข์ นึ้ วตั ถปุ ระสงคใ์ นการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อศกึ ษาแนวคดิ จากงานเพลงของเขยี นไขและวานิช 2. เพอ่ื ศึกษาภาพพจน์จากงานเพลงของเขียนไขและวานชิ ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 1. เนื้อหาที่ใช้ในการทำโครงงานครั้งน้ีคือผลงานเพลงของเขียนไขและวานิชท่ีมียอดรับชมจากส่ือ YOUTUBE มากกว่า 2 ล้าน ยอดรับชม จำนวนท้ังหมด 5 เพลงได้มาจากการรวบรวมข้อมูลเพลงท่ีปรากฏ จากสอ่ื ออนไลน์อินเตอรเ์ นต็ และ YouTube ดังน้ี 1.1 แกม้ นอ้ งนางน้นั แดงกว่าใคร 1.2 ภาพฝันในจกั รวาล 1.3 บอกลา 1.4 ต่อไปนี้ 1.5 หนหี ่าง

3 2. การศกึ ษาแนวคิดจากงานเพลงของเขยี นไขและวานิชโดยศึกษาจากบทสัมภาษณ์ทเ่ี ขยี นไขและวา นชิ ไดใ้ ห้สัมภาษณจ์ ากสือ่ ใน YouTube และ เว็บไซต์ใน Google 3. การศึกษาการใช้ภาพพจน์ท่ีปรากฏในผลงานเพลงของเขียนไขและวานิช ผู้จัดทำโครงงานได้ใช้ เกณฑ์วิเคราะห์โดยยึดการแบ่งประเภทของภาพพจน์จากงานวิจัย การศึกษา วิเคราะห์วรรณศิลป์ใน วรรณกรรมเพลงลกู ทุ่งของหนูมิเตอร์ ของ ดร.สุนทรี ดวงทพิ ย์ ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบถงึ แนวคิดจากงานเพลงของเขยี นไขและวานชิ 2. ได้ทราบเก่ียวกบั การใชภ้ าพพจน์จากงานเพลงของเขียนไขและวานิช นยิ ามศัพท์เฉพาะ 1. เขียนไขและวานิช หมายถึง เป็นนามปากกาของ “โจ้ สาโรจน์ ยอดยงิ่ ” ศิลปนิ และนักดนตรหี นุม่ ชาว เชียงใหม่ 2. ผู้ประพันธ์เพลง หมายถึง ผู้แตง่ ทำนองเพลง, ผู้แต่งเน้อื รอ้ งและทำนองเพลง, นกั แตง่ เพลง 3. แนวคดิ หมายถึง ความคดิ ทวี่ างไว้เปน็ แนวทางปฎิบตั ิ 4. บทเพลง หมายถงึ คำประพันธ์ทแ่ี ต่งขน้ึ สำหรับขับร้องโดยมีทำนองดนตรกี ำกับ, คำรอ้ ง เน้อื รอ้ ง หรือ บทรอ้ ง 5. ภาพพจน์ หมายถึง ถ้อยคำที่เป็นสำนวนโวหาร ทำให้นึกเห็นภาพ ถ้อยคำท่ีแต่งขึ้นอย่างมีชั้นเชิง เพอื่ ใหผ้ ้อู า่ นผูฟ้ งั เหน็ ภาพแจม่ ชดั และ รูส้ กึ ลกึ ซ้งึ ในเนื้อหา

4 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ในการจัดทำโครงงานเร่ือง การศึกษาแนวคดิ และภาพพจน์จากงานเพลงเขียนไขและวานิช ครั้งนี้ คณะผู้จดั ทำได้ ศกึ ษาเอกสารและรวบรวมข้อมลู งานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งต่างๆโดยจำแนกเปน็ ความรูห้ ลักๆได้ ดงั นี้ ๑. แนวคดิ ๑.๑ ความหมายของแนวคดิ ๑.๒ แนวคิดในงานเพลงของเขียนไขและวานิช ๒. ความรเู้ กีย่ วกบั ภาพพจน์ ๑. แนวคิด ๑.๑ ความหมายของแนวคดิ แนวคิด (Concept) ตามความหมายในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ 2542 หมายถึง ความคิดที่มีแนวทางปฏิบตั ิหรอื ความคิดสำคัญซ่ึงเปน็ แนวในการผูกเร่ืองหรอื ความคิดอน่ื ๆทส่ี อดแทรกอยู่ใน เรอ่ื งกไ็ ด้ เช่น แนวคิดเก่ยี วกบั เรอื่ งบุญกรรม แนวคิดเกีย่ วกับความรกั ความยตุ ธิ รรม ความตาย แนวคิดที่ เก่ยี วข้องกบั มนุษย์ หรอื แนวคิดทเี่ ป็นความรใู้ นด้านตา่ ง ๆ ๑.๒ แนวคดิ ในงานเพลงของเขยี นไขและวานิช เขียนไขและวานิชให้ความสำคัญกับเน้ือหาของเพลงชอบแต่งเพลงแบบเล่นคำ เล่นสัมผัส พูดอ้อมๆ เปรยี บเทียบอย่างหน่งึ แตม่ ีความหมายอีกอยา่ งหนึง่ บ้าง เรอ่ื งเก่ียวกบั ชีวิตบ้าง เพลงของเขียนไขและวานิชสว่ น ใหญ่จะพูดถึงหว้ งความคดิ คำนงึ การรอคอยอะไรบางสิ่ง ดังนั้น เนอื้ หาของเพลงจะแตกต่างจากศิลปินท่านอ่ืน เช่นวันนี้ไปเจอผู้หญิงคนน้ีมาเขยี นไขและวานชิ ก็จะไมบ่ อกตรงๆวา่ วนั น้ฉี ันเจอผู้หญงิ คนน้แี ต่เขาจะบอกว่าวนั นี้ พบดอกไมท้ ีส่ วยมากหรือได้ยนื มองดวงจนั ทรท์ ่ีสวยท่ีสุดในชีวิต เขาบอกวา่ มนั คอื งานศิลปะเขาอยากใหผ้ ้ฟู ังเขา ตคี วามเองอยากให้ตวั เขาเองเอาประสบการณ์ตัวเองมาประกอบร่วมกับงานไมอ่ ยากไปชี้นำใครให้ผู้อื่นมาคิด ตามเขา สิ่งท่อี ยู่เบอ้ื งหลังความคิดของเพลงเหล่านม้ี นั นา่ จะเก่ียวกบั ชวี ติ ของเขาเอง การเดินทางก็มีสว่ นในการ ทำเพลงของเขามากเพราะเขาเป็นคนชอบเดินทาง หลายเพลงกม็ าจากการเดินทาง ไปเจอเร่ืองราวของผู้คน แลว้ นำมาเขียนเป็นบทเพลงและแนวเพลงทเี่ ขียนไขและวานิชนั้นได้ประพันธข์ ้ึนมาน้นั คอื แนวเพลงแบบโฟล์ค ซอง

5 ๒. ภาพพจน์ องิ อร สพุ ันธ์ุวณชิ ในหนงั สือวรรณคดีวจิ ารณ์ (๒๕๕๔ : ๘๓) ไดใ้ ห้ความหมายของภาพพจน์ ไวว้ า่ “…. ภาพพจน์เป็นกลวิธอี ันเป็นศิลปะของการใช้ภาษาสำนวนในการพดู หรือการแตง่ หนังสือ ที่จะทำ ให้มีความนา่ สนใจ เพราะภาพพจนจ์ ะช่วยสร้างมโนภาพให้เกดิ ข้ึนแก่ผอู้ ่าน เพ่อื สรา้ งพลงั ในการสอื่ สาร ทำสิ่ง ที่เข้าใจยากให้เข้าใจง่าย ทำให้ผูอ้ ่านได้รับทั้งอรรถรสและสุนทรียรสจากขอ้ ความที่ผู้เขียนรังสรรค์ขึ้น ทำให้ ผูอ้ ่านเกดิ ภาพในใจคิดตามท่ผี ู้เขยี นบรรยาย อีกท้งั ได้ยินเสียง ได้กล่นิ ได้อารมณ์ เกิดความร้สู ึกสะเทอื นใจไป กับศิลปะการประพันธ์ การเสนอภาพพจน์ท่ีดีจะทำให้มโนทัศน์ของผู้อ่านเด่นชัดข้ึน อันจัดเป็นคุณค่าทาง วรรณศิลปท์ ี่สำคญั ย่ิงประการหน่งึ ภาพพจน์ทปี่ รากฏในวรรณกรรมแบ่งออกเป็น ภาพพจน์เปรียบเทียบ (อปุ มา อุปลักษณ์) ภาพพจน์สิ่งแทน (สัญลักษณ์ นามนัย) ภาพพจน์สมมติ (บุคลาธิษฐาน สมมุติภาวะ) ภาพพจน์ ขดั แยง้ (ปฏิปุจฉา ปฏิพากย์) ภาพพจน์เลยี นเสยี ง (สัทพจน)์ และ ภาพพจนเ์ กนิ จรงิ (อตพิ จน์)….” ๑.๑ ภาพพจน์เปรยี บเทียบ คือกลวิธีอันเปน็ ศิลปะของการใช้ภาษาเพ่อื เปรยี บเทียบ ประกอบดว้ ย ๑) ภาพพจน์แบบอุปมา เป็นการเปรียบเทียบโดยใช้คำเชื่อมแสดงการเปรียบเทียบไว้อย่างชัดเจน ได้แก่คคำว่า เหมือน ด่ัง ดัง ดุจ เพียง แม้น คล้าย ท้ังนี้การใช้ภาพพจน์แบบอุปมายังสามารถบอกอารมณ์ที่ ละเอียดซับซ้อนลุ่มลึกของผู้ประพันธ์คำร้องออกมาได้อย่างชัดเจนว่าต้องการสื่อหรือมีเจตนาอย่างไรใน ขณะนั้นได้เป็นอย่างดี ๒) ภาพพจนแ์ บบอุปลักษณ์ เป็นการนำส่ิงทีแ่ ตกต่างมาเปรยี บเทยี บ ความหมายของส่งิ ทเ่ี ปรยี บเทยี บ น้นั โยงไปถึงเร่ืองท่ีต้องการจะอธบิ าย เพื่อให้เกดิ การสร้างมโนภาพหรือจนิ ตภาพท่ีกวา้ งไกล โดยไมใ่ ช้คำแสดง การเปรียบเทียบแต่สามารถรับรูไ้ ดโ้ ดยนัยวา่ หมายถึงสิง่ ใด ซ่ึงการสรา้ งภาพพจน์แบบอุปลกั ษณ์น้ีทำใหบ้ ทเพลง นา่ สนใจมักเกิดอารมณ์ควบคู่ทำให้เขา้ ใจเนื้อเพลง แนวคิด เจตนา และน้ำเสยี งของผปู้ ระพันธ์เพลง ได้ ทำให้ เกิดมโนภาพในใจพร้อมทง้ั เกิดความรู้สึกร่วมไปกบั ศลิ ปะการประพนั ธ์ ๑.๒ ภาพพจนส์ ิ่งแทน ประกอบดว้ ย ๑) ภาพพจน์แบบสัญลักษณ์ เป็นการใช้คำหรือวลที ่ีมีความหมายในตัวเองและในเวลาเดียวกนั ส่วน ใหญ่คำท่ีนำมาแทนจะเป็นคำท่เี กิดจากการเปรยี บเทียบและตีความเพือ่ สร้างภาพพจน์ ทั้งนีก้ ารใช้ส่งิ หนึ่งแทน อกี สิ่งหน่ึงยงั เปน็ การสร้างจินตภาพซ่ึงใช้รปู ธรรมชักนำไปสู่ความหมายอกี ชั้นหนึ่ง ส่วนใหญ่มักเปน็ คำที่เข้าใจ ในสงั คมหรืออยใู่ นวิถชี ีวติ ของมนุษย์ ๒) ภาพพจน์แบบนามนัย เป็นการใช้คำหรือวลีท่ีบ่งบอกลักษณะหรอื คุณสมบัติของสิ่งหนึ่งส่ิงใดมา แสดงความหมายแทนส่งิ น้นั ท้ังหมด เป็นการเอ่ยถงึ ส่งิ ใดส่งิ หนึง่ แตค่ วามหมายเปน็ อยา่ งอนื่

6 ๑.๓ ภาพพจน์สมมติ ประกอบด้วย ๑) ภาพพจน์แบบบุคลาธิษฐาน คือ การกล่าวถึงอะไรท่ีไม่ใช่มนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นสัตว์ ส่ิงของ ธรรมชาติ ความคิด หรอื นามธรรม ราวกบั ว่าสง่ิ ตา่ งๆดงั กล่าวเปน็ มนษุ ย์ ๒) ภาพพจน์แบบสมมุติภาวะ คือ ผู้เขียนหรือบุคคลในเรอื่ งกล่าวถ้อยคำพูดจากับสิง่ ที่ไมใ่ ช่มนษุ ย์อาจ เป็นสถานที่ต้นไม้ ดอกไม้ ความคิดนามธรรมใดๆหรอื แม้แตบ่ ุคคลทต่ี ายไปแลว้ หรอื ไม่อยู่ ณ ท่ีนั้นก็ได้ หรอื ให้ พดู กับสัตว์ส่งิ ของและสิง่ ทไ่ี ม่ใช่มนษุ ย์ราวกบั วา่ ส่ิงเหล่าน้ันมชี วี ติ และสามารถรบั รเู้ ขา้ ใจส่ิงทีพ่ ดู นนั้ ได้ ๑.๔ ภาพพจนข์ ัดแย้ง ประกอบด้วย ๑) ภาพพจน์แบบปฏิปุจฉา คือ การใช้ภาพพจนท์ เี่ ปน็ ศิลปะของการใช้คำถาม ซง่ึ เป็นคำถามที่มิได้หวัง คำตอบ ๒) ภาพพจน์แบบปฏิพากย์ คือการใช้คำท่ีมีความหมายขัดแย้งกันนำมาคู่กันได้อย่างกลมกลืน และ การแสดงความหมายทด่ี ูเหมอื นจะขัดแย้งกันหรือเปน็ ไปไม่ได้ แต่เมื่อวิเคราะห์ความหมายลกึ ลงไป อาจตีความ ได้อย่างกลมกลืน ๑.๕ ภาพพจน์เกินจรงิ (อตพิ จน)์ ภาพพจน์เกินจริง (อติพจน์) คือ การเปรียบเทียบโดยการกล่าวเกินจริง มักเปรียบเทียบในเรื่อง ปริมาณว่ามีมากเหลือเกิน มเี จตนาเนน้ ข้อความทีก่ ลา่ วนั้นให้มนี ้ำหนักย่ิงข้ึน และเพ่ือสรา้ งโดยเนน้ ความรูส้ ึก และอารมณ์

7 บทที่ 3 วธิ ีดำเนนิ การวิจัย การศกึ ษาเรอ่ื ง การศกึ ษาแนวคิดและภาพพจน์จากงานเพลงของเขยี นไขและวานชิ มีวัตถปุ ระสงค์ เพ่ือศึกษาแนวคิดด้านจากงานเพลงของเขียนไขและวานิชและเพื่อศึกษาภาพพจน์จากงานเพลงของเขียนไข และวานชิ โดยมีขน้ั ตอนการดำเนินวจิ ยั ดังน้ี 1. เลอื กหวั ขอ้ ศกึ ษาค้นควา้ ที่ทางคณะผ้จู ดั ทำสนใจ 2. ศกึ ษาเอกสาร ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั ภาพพจน์ 3. วางแผนขอบเขตของขอ้ มูลและขอบเขตของหวั ขอ้ ท่ีศึกษาค้นคว้า 4. รวบรวมขอ้ มูล เนือ้ เพลงจาก สื่อออนไลน์ทางอนิ เตอรเ์ นต็ และ Youtube 5. ดำเนินการวิเคราะหห์ วั ข้อมูลตามหวั ข้อท่ีศกึ ษาค้นควา้ 6. สรปุ และอภปิ รายผลข้อมูลการศึกษาค้นคว้า 7. จัดทำรปู แบบเล่มรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ 8. นำเสนอผลการศกึ ษาคน้ ควา้ แหลง่ ข้อมูล แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งน้ี เลือกศึกษาเพลงจาก สื่อออนไลน์ทางอินเตอร์เน็ตและ Youtube โดยเลือกจากบทเพลงของเขียนไขและวานิช นำมาศึกษาเกี่ยวกบั แนวคิดดา้ นและภาพพจน์จากงาน เพลง เกณฑ์ในการวิเคราะห์ แบ่งเกณฑใ์ นการวิเคราะหอ์ อกเปน็ 2 ประเด็น ดังนี้ 1.แนวคิด “ขึ้นต้นต้องโดนใจเนือ้ ในต้องคมชัด” ขยายความไดว้ า่ 1.1 ขึ้นต้นโดนใจ ซึ่งอาจโดนใจผู้ฟังด้วยคำร้องหรือประโยคเด็ดๆแต่หากหาประโยคเด็ดๆ นำหนา้ ไมไ่ ด้ ก็ตอ้ งเอาทำนองขนึ้ มาอุ้มเน้ือร้องให้ไปดว้ ยกนั ซึ่งจะทำให้คนฟงั สนใจตัง้ แตเ่ ร่ิมแรก

8 1.2 เนือ้ ในตอ้ งคมชดั คือการเดินเรื่องให้คนฟังเห็นภาพ หรอื อย่างท่ีเรียกว่าให้ “กล่นิ ” ของ เพลง เพ่ือให้ คนฟงั จินตนาการได้ว่าเพลงกำลังพูดถงึ อะไรอยู่ อาทิ ถา้ เป็นเรื่องชนบทกต็ อ้ งมฉี ากเถยี ง นา ทุ่งข้าว หรือถ้าเป็นเร่ือง ไอ้หนุ่มจีบสาวห้าง ก็ต้องมีฉากบันไดเล่ือน หรืออะไรที่อยู่ใน ห้างสรรพสนิ คา้ นนั้ ถ้อยความเหลา่ นี้ตอ้ งโผล่ออกมา เพือ่ ใหค้ นฟงั นกึ ภาพออก 1.3 ประหยัดคำไมว่ กวน หมายถึง ตัดคำฟ่มุ เฟือยออก 1.4 จบเรื่องราวประทับใจ การจบคือการสรุป ท้ังนี้ อาจสรุปเป็นคำตอบท่ีชัดเจน หรือหาก ตอบไมไ่ ด้ก็ต้อง ทง้ิ คำถามเอาไว้ 2.ภาพพจน์ ภาพพจนเ์ ปรียบเทียบ (อุปมา อปุ ลกั ษณ)์ ภาพพจนส์ ิ่งแทน (สัญลกั ษณ์ นามนัย) ภาพพจนส์ มมติ (บคุ ลาธษิ ฐาน สมมุตภิ าวะ) ภาพพจน์ขัดแย้ง (ปฏปิ ุจฉา ปฏพิ ากย)์ ภาพพจน์เลียนเสียง (สัทพจน)์ ภาพพจนเ์ กนิ จรงิ (อตพิ จน)์ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ในการศึกษาค้นคว้าครั้งน้ี คณะผู้จัดทำได้รวบรวมข้อมูลที่ใช้การวิเคราะห์จาก สื่อออนไลน์ทาง อินเตอร์เนต็ และ Youtube ซงึ่ มขี ั้นตอนการดำเนินการดังตอ่ ไปน้ี 1. รวบรวมข้อมูลทเี่ กี่ยวข้องกบั งานเพลงของเขียนไขและวานิช เอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับวรรณกรรม ของเพลง 2. ศึกษารวบรวมลักษณะการใช้คำ และความหมายในบทเพลง ตามเกณฑ์ทค่ี ณะผู้จดั ทำได้วางแผน ไว้ 3. ศกึ ษาเกณฑใ์ นการวเิ คราะห์วรรณกรรมเพลงลกู ทุ่งจากเอกสารและงานวิจัยต่างๆทีเ่ กยี่ วข้องกับ วรรณศิลปใ์ นวรรณกรรม

9 การวิเคราะห์ข้อมูล 1. คดั ลอกขอ้ มลู โดยถอดความจากเพลง เพอื่ ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 2. วเิ คราะห์ลักษณะการใชภ้ าพพจน์ และ แนวคิด ในบทเพลงตามเกณฑ์ที่คณะผู้จดั ทำได้วางแผนไว้ ตามวัตถปุ ระสงคข์ องโครงงาน 3. สรปุ ผล นำเสนอขอ้ มูลและผลการศึกษาโดยวิธกี ารพรรณนาวิเคราะห์ ระยะเวลาในการดำเนินการ ในการศึกษาเรือ่ ง การศกึ ษาแนวคิดและภาพพจน์จากงานเพลงของเขยี นไขและวานิชมี ระยะเวลาใน การดำเนนิ การซง่ึ แบง่ ได้ ดงั นี้ ลำดบั ท่ี ขัน้ ตอนการศึกษา ชว่ งเวลา ผูร้ ับผิดชอบ 1 รวบรวมขอ้ มูลเอกสารและงานวจิ ัยที่เกีย่ วข้อง วันที่ 10-14 เดือนธันวาคม พ.ศ.2563 คณะผู้จดั ทำ 2 รวบรวมงานเพลงของเขยี นไขและวานิช วันที่ 15-21 เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2563 คณะผู้จดั ทำ 3 วิเคราะหข์ อ้ มูล วันที่ 25-30 เดอื นธันวาคม พ.ศ.2563 คณะผจู้ ัดทำ 4 สรุปและอภิปรายผลข้อมูล วันท่ี 10-15 เดอื นมกราคม พ.ศ.2564 คณะผจู้ ัดทำ 5 ตรวจทานและแก้ไขข้อมลู จดั ทำรูปเล่ม วันที่ 18-20 เดอื นมกราคม พ.ศ.2564 คณะผู้จัดทำ รายงานศึกษาคน้ ควา้ 6 นำเสนอผลการศึกษาค้นควา้ วันที่ 26 เดอื นมกราคม พ.ศ.2564 คณะผู้จัดทำ 7 ส่งรายงานการศึกษาค้นควา้ ฉบับสมบูรณ์ วันที่ 26-29 เดอื นมกราคม พ.ศ.2564 คณะผู้จดั ทำ ตารางท่ี 1 ระยะเวลาในการดำเนินงาน

10 บทที่ 4 การวเิ คราะหข์ ้อมลู การศึกษาค้นคว้าเรือ่ ง การศึกษาแนวคดิ และภาพพจน์จากงานเพลงของเขียนไขและวานิช คณะ ผจู้ ัดทำได้แบ่งการวิเคราะห์ขอ้ มูลออกเป็น 2 ประเด็น ตามวัตถุประสงคใ์ นการศกึ ษาค้นคว้าได้แก่ เพื่อศกึ ษา แนวคิดจากงานเพลงของเขียนไขและวานิช และ เพ่ือศึกษาภาพพจน์จากงานเพลงของเขยี นไขและวานิช ซ่ึงมี รายละเอยี ดการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดงั น้ี 1. ศกึ ษาแนวคดิ จากงานเพลงของเขยี นไขและวานิช การวิเคราะห์แนวคิดจากงานเพลงของเขียนไขและวานิชน้ี คณะผู้จดั ทำไดใ้ ช้เกณฑ์ของ ฉาไธสงและ คณะ จากหนังสอื เพลงชวี ติ ศลิ ปินครูบ้านปา่ โดยมหี วั ข้อการวิเคราะห์ ไดแ้ ก่ 1.1.1 ข้นึ ต้นโดนใจ 1.1.2 เนื้อในต้องคมชดั 1.1.3 ประหยัดคำไมว่ กวน 1.1.4 จบเร่อื งราวประทบั ใจ โดยรายละเอยี ดการวเิ คราะหน์ นั้ ซึง่ มีรายละเอยี ดการวิเคราะห์ ดังน้ี 1.1 ข้ึนตน้ โดนใจ จากการวิเคราะห์พบว่า บทเพลงของเขียนไขและวานิชท่เี ลอื กศึกษาน้ี มีการข้ึนต้นเพลงด้วยถอ้ ยคำท่ี เขา้ ถึงเนือ้ หาของเพลงเลย บอกถึงความรู้สึกของเนอ้ื เพลงโดยตรง ตัวอย่าง การขน้ึ ตน้ เพลงท่ีปรากฏในบทเพลงของเขยี นไขและวานิช “...วอนให้ลม ชว่ ยพัดหัวใจพลี่ อยไป จากดนิ แดน ถนิ่ เหนือท่ไี กลแสนไกล...” (เพลงแก้มนอ้ งนานน้นั แดงกวา่ ใคร)

11 ตวั อยา่ งข้างต้นแสดงให้เหน็ วา่ การขึน้ ต้นเพลงด้วยถอ้ ยคำท่นี า่ สนใจเปิดประเดน็ ให้ชวนน่าติดตาม โดยกลา่ วขึน้ ต้นถงึ สถานท่ีท่หี น่ึงทำใหผ้ ู้ฟงั รู้สกึ ถึงความหา่ งไกล ความโหยหาและความคิดถงึ ทำนองเพลงทำ ใหร้ ู้สึกอบอุ่นและเหงาในเวลาเดียวกัน “...ตอ่ ไปนี้ เธอ คงไมต่ ้องไปกบั ฉนั ตอ่ ไปนี้ เรา คงคยุ กนั น้อยลง...” (เพลงตอ่ ไปน้ี) ตวั อยา่ งขา้ งต้นแสดงให้เห็นวา่ การขึ้นต้นเพลงดว้ ยถ้อยคำ ที่เขา้ ถึงเนอ้ื หาของเพลงเลย บอกถงึ ความรสู้ ึกของเนือ้ เพลงโดยตรง “...ดวงตะวันนับคืนราตรผี ่านปดี าวและเดอื นเคลอ่ื นหมุนผา่ นไปผา่ นมา...” (เพลงหนหี ่าง) ตัวอยา่ งข้างตน้ แสดงให้เห็นว่าการข้นึ ตน้ เพลงด้วยถ้อยคำทีน่ า่ สนใจเปิดประเด็นให้ชวนน่าติดตาม โดยเป็นการกล่าวถงึ การเปรียบเปรย ระหว่าง เธอ และ ดวงดาว ซ่ึงมีความหม่น มคี วามเศร้า ปนอยู่ ทำนอง เพลงทำใหเ้ รารู้สึกเศร้าหมองและร้สู ึกว่าเพลงน้ีสะทอ้ นความทรงจำบางอย่างในใจเรา “...ยาวนานความฝันของฉันหลุดลอยไปลอยหายในจกั รวาลตามหาก็คงอีกนาน...” (เพลงภาพฝันในจกั รวาล) ตวั อยา่ งข้างตน้ แสดงให้เห็นว่าการขน้ึ ต้นเพลงดว้ ยถ้อยคำท่ีนา่ สนใจเปิดประเดน็ ให้ชวนนา่ ติดตาม โดยเป็นการกลา่ วถงึ ความฝันทีเ่ ป็นไดแ้ คก่ ารจินตนาการและไมไ่ ดเ้ กดิ ข้ึนจรงิ ทำนองเพลงทำให้รสู้ กึ หว่ งหา และคดิ ถึงเธอคนนนั้ อยู่ “...บอกลา กอ่ นวันท่ีฝนกำลังจะมา วันท่ีเหนบ็ หนาว ความเหงานำพา ให้ใจเจ็บซ้ำ...” (เพลงบอกลา) ตัวอยา่ งขา้ งต้นแสดงใหเ้ หน็ วา่ การขึ้นต้นเพลงด้วยการนำเอาชื่อเพลงมาขึน้ ตน้ แล้วตอ่ ดว้ ยการ บรรยากาศทำใหเ้ หน็ ภาพและรสู้ กึ เศรา้ ไปกับของเนอื้ เพลง

12 1.2 เนอ้ื ในตอ้ งคมชัด การเดนิ เรอ่ื งให้คนฟังเห็นภาพ หรอื อยา่ งที่เรยี กวา่ ให้ “กลิ่น” ของเพลง เพ่อื ให้ คนฟัง จินตนาการได้ว่าเพลงกำลงั พดู ถงึ อะไรอยู่ ตวั อยา่ ง เน้อื เพลงท่ีคมชดั ท่ีปรากฏในบทเพลงของเขยี นไขและวานชิ “...แก้มนอ้ งนางน้นั แดงกวา่ ใคร ใจพจี่ มแทบพสุธาดวงฤทัย หรือดวงแก้วตา ดุจดวงดารา ดวงดาวดวงไหนวอนใหช้ าย ทุกคนเดินผ่าน วอนใหใ้ จ น้องไมม่ ใี คร วอนให้ลม พัดพาหัวใจพี่ ไปถึง...” (เพลงแกม้ นอ้ งนางน้นั แดงกว่าใคร) ตวั อย่างข้างต้นเนอ้ื เพลงมีการพูดใหผ้ ้ฟู ังเหน็ ภาพ เช่น การกลา่ วถึงหญิงสาวโดยกล่าวถงึ ลกั ษณะวา่ แก้มแดงความหมายเปน็ นัยว่านา่ เอน็ ดู การพดู ถึงความหา่ งไกลท่ีผู้แตง่ ทำให้ผู้ฟังรสู้ กึ ถงึ ความอ้างว้าง “...ต่อไปน้ี เธอ คงไม่ตอ้ งไปกับฉนั ต่อไปน้ี เราคงคุยกันน้อยลง ก็ความรกั ของเรา เธอทิง้ มนั ใหฉ้ นั เพยี งลำพัง เพียงลำพัง เราไมต่ ้องไปด้วยกัน เพยี งลำพัง เพยี งลำพงั เธอไม่ ตอ้ งไปกับฉัน...” (เพลงตอ่ ไปน้ี) ตวั อย่างข้างต้นเนอ้ื เพลงบอกเลา่ เรอื่ งราวไดช้ ัดเจนมกี ารพดู ถึงความรสู้ กึ ท่ชี ัดเจนโดยพูดถงึ การจากลา ความรู้สึกทีต่ ้องแยกทางกัน ความอา้ งว่าง ความฝนั ท่ีพงั ลง ส่ือให้รสู้ ึกถึงความเสยี ใจ “...นงั่ มองดูดวงดาวฉนั มองเห็นเธอสกุ สกาวสอ่ งแสงเรืองรองนบั กาวใจเธอเหมือนดวงดาว ส่องแสงวันดีคืนดีเธอหายลับไปจากดวงตาฉนั มองไมเ่ หน็ ดวงใจเธอน้ันเธอเหมอื นดวงดาวที่ คอยหนีห่าง...” (เพลงหนหี า่ ง) ตัวอย่างขา้ งตน้ เนอ้ื เพลงมกี ารพดู ใหผ้ ู้ฟงั เหน็ ภาพ เชน่ การกลา่ วถงึ ดวงดาว ทเี่ คยสกุ สกาวอยู่ ตรงหนา้ เม่อื ไมฉ่ วยมนั ไวใ้ นวนั ทม่ี โี อกาส มนั ก็ลอย หนีหา่ ง ออกไปเรอ่ื ยๆ จนเกนิ ไขว่คว้า ราวกบั เปน็ ภาพลวง ตาอนั เลอื นราง

13 “...เธอคือภาพฝนั ในจกั รวาลของฉันดวงดาวสอ่ งแสงวับวาวเมื่อพบเจอเธอคือภาพฝนั ใน จักรวาลของฉันดวงดาวส่องแสงวับวาวเมอ่ื พบเจอฤดูกาลเมฆฝนทีค่ อยซดั เขา้ มาค่ำคนื เดอื น มถิ นุ าคิดถึงวันคนื ผ่านมา...” (เพลงภาพฝนั ในจักรวาล) ตัวอยา่ งขา้ งต้นเนอ้ื เพลงบอกเล่าเรือ่ งราวได้ชัดเจนมีการพดู ถึงความฝันของชายคนหนง่ึ ทมี่ ใี ครสักคน เปรียบดังภาพฝันของเขาทไ่ี ด้พบเจอมันชา่ งงดงามแม้เป็นเพยี งภาพฝนั แตก่ ็ทำใหน้ กึ ถงึ และคิดถงึ ไดต้ ลอด “...บอกลา ก่อนวันสดุ ทา้ ยกำลงั จะมาจะส่งย้มิ อำลาบอกลาทักทายกอ่ นจากกันสบตาเอย่ คำ ลำ่ ลา ส่ิงดีๆท่ีมีเก็บไว้ในใจจะไดไ้ หมหากวันใดหากเกิดไดพ้ บไดเ้ จอกนั ใหเ้ ป็นวนั ทด่ี สี ่งยิ้มใหก้ นั จะได้ ไหม...” (เพลงบอกลา) ตวั อยา่ งข้างตน้ เนื้อเพลงบอกเลา่ เรื่องราวได้ชัดเจน เม่ือฟังแล้วทำใหเ้ กดิ จินตภาพไดช้ ดั เจน ว่าเนอ้ื เพลงต้องการสื่อถงึ การจากลา 1.3 ประหยดั คำไม่วกวน การตัดคำฟ่มุ เฟือยออก ตัวอยา่ ง บทเพลงของเขยี นไขและวานชิ มีการใช้คำกำกวมฟ่มุ เฟอื ย “...ถิน่ เหนอื ท่ไี กลแสนไกล สุดขอบฟา้ ทไี่ กลแสนไกลและ ดวงฤทัย หรอื ดวงแก้วตา ดุจดวง ดารา ดวงดาวดวงไหน...” (เพลงแกม้ น้องนางน้นั แดงกว่าใคร) “...เธอไมต่ อ้ งไปกับฉัน ลำพงั เราไมต่ อ้ งไปด้วยกนั ...” (เพลงตอ่ ไปนี้) “...สอ่ งแสงเรอื งรองนบั กาวใจเธอเหมอื นดวงดาวสอ่ งแสง...” (เพลงหนีห่าง)

14 “...เธอคอื ภาพฝนั ในจักรวาลของฉนั ดวงดาวสอ่ งแสงวบั วาวเม่ือพบเจอ...” (เพลงภาพฝนั ในจักรวาล) “...วนั ทเ่ี หนบ็ หนาวความเหงานำพาให้ใจเจ็บซำ้ กอดลาในวันที่ฟ้าถลม่ ลงมาผ่านดวงใจ...” (เพลงบอกลา) 1.4จบเรอื่ งราวประทับใจ การจบคอื การสรปุ ทิง้ คำถามเอาไวท้ ีม่ ักหยิบมาใช้อย่างเกนิ ความพอดี หรือคำท่ีมคี วามหมาย เดยี วกนั ตวั อยา่ ง การสรุปบทเพลงของเขยี นไขและวานชิ “...ดวงฤทัย หรือดวงแก้วตา ดจุ ดวงดารา ดวงดาวดวงไหน วอนใหช้ าย ทุกคนเดนิ ผา่ น วอนใหใ้ จ นอ้ งไมม่ ใี คร วอนให้ลม พดั พาหัวใจพี่ไปถงึ ...” (เพลงแก้มน้องนางนัน้ แดงกว่าใคร) ตวั อย่างขา้ งต้นแสดงให้เหน็ การจบหรอื การสรปุ ของเพลงทำใหเ้ หน็ และรู้สกึ ถงึ ความรักและความ หว่ งใย “...ดวงฤทัย หรอื ดวงแกว้ ตา ดจุ ดวงดารา ดวงดาวดวงไหน วอนใหช้ าย ทกุ คนเดินผา่ น วอนให้ใจ นอ้ งไม่มใี คร วอนให้ลม พดั พาหัวใจพ่ีไปถงึ ...” (เพลงตอ่ ไปนี้) ตวั อย่างขา้ งต้นแสดงใหเ้ หน็ ในการจบหรือการสรปุ ของพลงทำให้ผ้ฟู งั รู้สึกและรบั รู้ถึงความไม่แน่นอน เราไม่สามารถบังคบั หรือขอใหใ้ ครอยกู่ ับเราได้ และยอมรับความเปล่ียนแปลง “...ดวงฤทยั หรือดวงแกว้ ตา ดจุ ดวงดารา ดวงดาวดวงไหน วอนใหช้ าย ทกุ คนเดินผา่ น วอนใหใ้ จ นอ้ งไมม่ ีใคร วอนให้ลม พัดพาหัวใจพไ่ี ปถึง...” (เพลงหนหี ่าง)

15 ตัวอย่างขา้ งตน้ แสดงใหเ้ ห็นการจบหรือการสรุปของเพลงทำใหฟ้ ังเเล้วเห็นความเปน็ สัจธรรมของชวี ิต จริงๆว่าสักวนั หนึ่งวญิ ญาณก็ตอ้ งหนีห่างจากร่างกายเรา “...ดวงดาวสอ่ งแสงลงมาต้งั ไกลใจฉนั ยงั คงหว่นั ไหวคิดถึงวันคืนผา่ นมา งดงามไปหมด...” (เพลงภาพฝันในจกั รวาล) ตัวอย่างขา้ งต้นแสดงให้เหน็ การจบหรอื การสรปุ ของเพลงทำใหฟ้ งั แล้วเห็นวา่ ในทุกคนค่ำคนื เมือ่ เห็น ดวงดาวมนั ชา่ งงดงามทำให้ในใจยงั คงนกึ ถึงและคดิ ถึงเสมอมา “...สง่ิ ดี ๆ ทมี่ .ี .เก็บไวใ้ นใจจะไดไ้ หมหากวันใด หากเกดิ ไดพ้ บไดเ้ จอกนั ใหม่ให้เปน็ วนั ที่ดสี ง่ ย้ิมใหก้ ันจะไดไ้ หม เเลว้ ใหม้ ันผ่านไป...” (เพลงบอกลา) ตวั อย่างขา้ งตน้ แสดงใหเ้ ห็นการจบหรอื การสรุปของเพลงจบไดช้ ดั เจน โดยเมือ่ บอกลากนั แลว้ ก็ อยากจะขอให้เก็บส่งิ ดีๆท่ีมีตอ่ กนั ไวใ้ นใจ เมือ่ พบกนั อกี ครงั้ ก็สง่ ยมิ้ ให้กัน แลว้ ให้มนั ผ่านไปเหมือนไมม่ อี ะไร เกดิ ขึน้ 2.ศึกษาภาพพจนจ์ ากงานเพลงของเขียนไขและวานิช จากการศึกษาพบวา่ ภาพพจนจ์ ะช่วยสร้างมโนภาพให้เกิดข้ึนแก่ผู้ฟงั เพือ่ สรา้ งพลงั ในการสือ่ สารทำ ส่ิงท่ีเขา้ ใจยากให้เขา้ ใจงา่ ย ทำให้ผู้ฟงั ไดร้ ับทง้ั อรรถรสและสุนทรียรสจากบทเพลงที่ผ้เู ขียนรังสรรค์ ข้นึ ทำใหผ้ ู้ฟงั เกิดภาพในใจคิดตามท่ีผูเ้ ขยี นบรรยาย อกี ทัง้ ไดย้ นิ เสยี ง ไดก้ ลิ่น ได้อารมณ์ เกิด ความรู้สกึ สะเทอื นใจไปกบั ศิลปะการประพันธ์ การเสนอภาพพจน์ทีด่ ีจะทำใหม้ โนทัศน์ของผอู้ ่าน เดน่ ชดั ขึน้ มีการใชภ้ าพพจน์ในหลายประเภท ดังมีรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี 2.1ภาพพจน์เปรียบเทยี บ กลวธิ อี ันเปน็ ศิลปะของการใชภ้ าษาเพอ่ื เปรียบเทยี บ ประกอบดว้ ย 1)ภาพพจนแ์ บบอุปมา

16 เปน็ การเปรยี บเทียบโดยใชค้ ำเชือ่ มแสดงการเปรยี บเทยี บไว้อย่างชัดเจนได้แก่คำว่า เหมือน ดง่ั ดงั ดุจ เพยี ง แมน้ คล้าย ตวั อยา่ งเช่น “...ดวงฤทยั หรือดวงแก้วตา ดจุ ดวงดารา ดวงดาวดวงไหน...” (เพลงแก้มนอ้ งนางน้ันแดงกว่าใคร) “...ก็ความรักของเรา เธอท้งิ มันไว้ทีฉ่ นั เพยี งลำพัง เพยี งลำพงั เราไมต่ ้องไปด้วยกนั ...” (เพลงตอ่ ไปนี้) “...วนั ดคี นื ดเี ธอหายลับไปจากดวงตาฉนั มองไม่เห็นดวงใจเธอน้นั เธอเหมอื นดวงดาว ทคี่ อยหนหี า่ ง...” (เพลงหนีห่าง) จะเห็นไดว้ ่าจากตัวอยา่ งที่ยกมา ภาพพจนแ์ บบอปุ มาในเนื้อเพลง เชน่ เพลงแก้มน้องนางนนั้ แดงกว่า ใคร ทีเ่ ปน็ การเปรียบเทยี บโดยใชค้ ำเช่ือมแสดงการเปรียบเทียบไว้อย่างชัดเจน ภาพพจนแ์ บบอุปมา ในท่ีน้ี คือ คำว่า“ดจุ ”จากการศกึ ษาและวเิ คราะหพ์ บว่าในบทเพลงของเขียนไขและวานชิ น้ี พบการใชภ้ าพพจน์แบบ อุปมาจำนวนท้ังหมด 4 คำ 2)ภาพพจนแ์ บบอุปลักษณ์ เปน็ การนำสิ่งทแี่ ตกต่างมาเปรยี บเทยี บ ความหมายของสง่ิ ท่เี ปรยี บเทยี บนั้นโยงไป ถงึ เรื่องที่ตอ้ งการจะอธิบาย เพือ่ ใหเ้ กดิ การสรา้ งมโนภาพหรือจนิ ตภาพท่ีกวา้ งไกล โดยไม่ใช้คำแสดง การเปรยี บเทยี บแตส่ ามารถรบั ร้ไู ด้โดยนยั ว่าหมายถึงสง่ิ ใด ตวั อย่างเช่น “...เธอคอื ภาพฝันในจักรวาลของฉันดวงดาวส่องแสงวับวาวเม่ือพบเจอ...” (เพลงภาพฝันในจักรวาล) “...หากเกิดได้พบได้เจอกันให้เปน็ วนั ท่ีดีส่งยิ้มให้กนั จะไดไ้ หม...”

17 (เพลงบอกลา) จะเหน็ ได้วา่ จากตัวอย่างทยี่ กมา ภาพพจน์แบบอุปลักษณใ์ นเนื้อเพลง เช่น เพลงภาพฝนั ในจกั รวาล ที่ เปน็ การเปรยี บเทยี บวา่ ส่ิงหน่ึงเหมอื นกบั อีกสง่ิ หนึ่ง ภาพพจน์แบบอุปลักษณ์ ในทีน่ ี้ คือคำ “คอื ”จาก การศกึ ษาและวิเคราะห์พบว่าในบทเพลงของเขยี นไขและวานิชนี้ พบการใช้ภาพพจนแ์ บบอุปลักษณจ์ ำนวน ทัง้ หมด 4 คำ 2.2ภาพพจนส์ ิ่งแทน ประกอบดว้ ย 1) ภาพพจน์แบบสัญลักษณ์ เปน็ การใช้คำหรือวลที ี่มีความหมายในตวั เองและในเวลาเดียวกัน ส่วนใหญ่คำท่ี นำมาแทนจะเปน็ คำทเ่ี กดิ จากการเปรยี บเทยี บและตีความเพ่อื สร้างภาพพจน์ ตัวอยา่ งเชน่ “...ดวงฤทัย หรอื ดวงแก้วตา ดจุ ดวงดารา ดวงดาวดวงไหน...” (เพลงแก้มนอ้ งนางนั้นแดงกว่าใคร) “...ดวงตะวนั นับคนื ราตรีผ่านปีดาวและเดอื นเคล่อื นหมุนผ่านไปผา่ นมา...” (เพลงหนหี ่าง) “...ก่อนวนั ที่ฝนกำลังจะมาวันที่เหน็บหนาวความเหงานำพา ใหใ้ จเจบ็ ซำ้ ...” (เพลงบอกลา) จะเหน็ ได้ว่าจากตวั อยา่ งท่ียกมา ภาพพจนแ์ บบสญั ลกั ษณ์ในเน้ือเพลง เช่น เพลงหนหี า่ ง ท่ี เปน็ เปน็ การใชค้ ำหรอื วลที มี่ ีความหมายในตวั เองและในเวลาเดียวกัน สว่ นใหญ่คำท่ีนำมาแทนจะเปน็ คำท่ีเกิดจากการเปรียบเทียบและตีความ ภาพพจนแ์ บบสัญลกั ษณ์ในทน่ี ี้คอื คำวา่ “แกว้ ตา” จาก การศกึ ษาและวเิ คราะห์พบว่าในบทเพลงของเขยี นไขและวานิชนี้ พบการใช้ภาพพจน์แบบสัญลักษณ์ จำนวนท้ังหมด 3 คำ 2)ภาพพจน์แบบนามนยั

18 เป็นการใชค้ ำหรือวลีท่บี ง่ บอกลกั ษณะหรอื คุณสมบตั ขิ องส่ิงหน่ึงสิ่งใดมาแสดง ความหมายแทนสิ่งนั้นท้งั หมด เป็นการเอ่ยถงึ สงิ่ ใดสิง่ หนึง่ แต่ความหมายเป็นอยา่ งอืน่ ตัวอย่างเชน่ “...วอนใหล้ มชว่ ยพดั หัวใจพล่ี อยไปจากดนิ แดนถิน่ เหนือที่ไกลแสนไกล...” (เพลงแกม้ นอ้ งนางน้ันแดงกว่าใคร) “...ใจเธอยังคงสับสนอยูบ่ นดาวเคราะห์ดวงนงึ คอยหมนุ ผ่านไปรอบกายฉัน...” (เพลงหนีห่าง) “...ยาวนานความฝันของฉันหลดุ ลอยไปลอยหายในจักรวาลตามหาก็คงอกี นาน...” (เพลงภาพฝันในจักรวาล) จะเหน็ ได้ว่าจากตวั อย่างทย่ี กมา ภาพพจน์แบบสัญลักษณใ์ นเน้ือเพลง เช่น เพลงหนหี ่าง ที่ เป็นการใช้คำหรอื วลีท่บี ง่ บอกลกั ษณะหรอื คณุ สมบัติของสิ่งหน่ึงสิง่ ใดมาแสดงความหมายแทนสง่ิ น้ัน ท้งั หมด เปน็ การเอ่ยถึงส่ิงใดสิ่งหนึง่ แต่ความหมายเปน็ อยา่ งอนื่ ภาพพจนแ์ บบนามนยั ในทน่ี คี้ ือคำวา่ “ดาวเคราะห์” จากการศึกษาและวเิ คราะห์พบว่าในบทเพลงของเขียนไขและวานิชน้ี พบการใช้ ภาพพจนแ์ บบนามนยั จำนวนทง้ั หมด 6 คำ .3 ภาพพจนส์ มมติ ประกอบดว้ ย 1)ภาพพจน์แบบบคุ ลาธษิ ฐาน เปน็ การกลา่ วถงึ อะไรทไ่ี ม่ใช่มนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นสตั ว์ สิง่ ของ ธรรมชาติ ความคดิ หรือ นามธรรม ราวกับว่าสง่ิ ตา่ งๆดงั กล่าวเปน็ มนษุ ย์ ตวั อย่างเช่น “...ฝากดวงใจพ่ีลอยล่องไปบนนภาสดุ ขอบฟ้าหัวใจพี่จะไปถงึ ...” (เพลงแกม้ นอ้ งนางนน้ั แดงกว่าใคร) “...สอ่ งแสงเรอื งรองนับกาวใจเธอเหมือนดวงดาวสอ่ งแสง...”

19 (เพลงหนหี า่ ง) “...ฤดูกาลเมฆฝนทค่ี อยซัดเข้ามาคำ่ คืนเดือนมิถนุ าคดิ ถงึ วันคืนผา่ นมา...” (เพลงภาพฝันในจักรวาล) “...กอดลาในวันท่ีฟ้าถล่มลงมาผา่ นดวงใจนำ้ ตาใหม้ นั เออ่ ไหล...” (เพลงบอกลา) จะเหน็ ได้ว่าจากตัวอยา่ งทย่ี กมา ภาพพจน์แบบบคุ ลาธิษฐานในเนื้อเพลง เชน่ เพลงบอกลา เปน็ การ กลา่ วถึงอะไรท่ไี มใ่ ช่มนุษย์ ไม่วา่ จะเป็นสัตว์ สงิ่ ของ ธรรมชาติ ความคดิ หรือ นามธรรม ราวกับว่าสง่ิ ต่างๆ ดังกลา่ วเป็นมนษุ ย์ ภาพพจนแ์ บบบุคลาธิษฐานในท่นี ี้คอื คำว่า “ฟา้ ถลม่ ลงมา” จากการศึกษาและวเิ คราะห์ พบว่าในบทเพลงของเขียนไขและวานิชน้ี พบการใชภ้ าพพจน์แบบบคุ ลาธษิ ฐาน จำนวนทัง้ หมด 12 คำ 2) ภาพพจน์แบบสมมุติภาวะ ผเู้ ขียนหรอื บุคคลในเรื่องกลา่ วถอ้ ยคำพูดจากบั สง่ิ ทไ่ี มใ่ ช่มนุษย์อาจเปน็ สถานท่ี ตน้ ไม้ ดอกไม้ ความคิดนามธรรมใดๆหรอื แม้แตบ่ คุ คลทตี่ ายไปแล้ว หรือไม่อยู่ ณ ท่ีน้นั กไ็ ด้ หรือ ใหพ้ ูดกับสัตว์สง่ิ ของและสิ่งทไี่ มใ่ ช่มนุษย์ราวกบั วา่ ส่ิงเหล่านั้นมีชีวติ และสามารถรับรู้เขา้ ใจสิ่งทีพ่ ดู น้ันได้ ตัวอย่างเช่น “...วอนให้ลมช่วยพัดหัวใจพ่ลี อยไปจากดินแดนถิ่นเหนอื ทไี่ กลแสนไกล...” (เพลงแก้มนอ้ งนางน้นั แดงกว่าใคร) “...ดวงตะวันนับคืนราตรผี า่ นปดี าวและเดอื นเคลื่อนหมุนผ่านไปผ่านมา...” (เพลงหนีหา่ ง) “...เธอคือภาพฝันในจกั รวาลของฉันดวงดาวส่องแสงวับวาวเม่ือพบเจอ...” (เพลงภาพฝันในจักรวาล) จะเห็นได้ว่าจากตวั อยา่ งทย่ี กมา ภาพพจน์แบบสมมตุ ิภาวะในเนอ้ื เพลง เชน่ เพลงบอกลา เปน็ ผู้เขียน หรือบุคคลในเรอื่ งกล่าวถ้อยคำพูดจากับส่ิงทีไ่ ม่ใช่มนษุ ยอ์ าจเป็นสถานทต่ี น้ ไม้ ดอกไม้ ความคิดนามธรรมใดๆ

20 หรือแม้แต่บคุ คลท่ตี ายไปแลว้ หรือไมอ่ ยู่ ณ ทน่ี นั้ กไ็ ด้ หรอื ให้พูดกับสัตวส์ ง่ิ ของและสงิ่ ท่ไี ม่ใช่มนษุ ยร์ าวกบั วา่ สง่ิ เหล่านั้นมีชีวติ และสามารถรับรู้เข้าใจสง่ิ ท่ีพูดนนั้ ได้ ภาพพจนแ์ บบสมมตุ ภิ าวะในทนี่ ้คี อื คำวา่ “ลม” จาก การศึกษาและวิเคราะหพ์ บว่าในบทเพลงของเขยี นไขและวานิชน้ี พบการใชภ้ าพพจนแ์ บบสมมตุ ภิ าวะ จำนวน ทั้งหมด 14 คำ 1.4) ภาพพจน์ขัดแยง้ ประกอบด้วย 1)ภาพพจน์แบบปฏปิ ุจฉา เปน็ การใช้ภาพพจนท์ ่ีเปน็ ศิลปะของการใชค้ ำถาม ซึ่งเปน็ คำถามทมี่ ิได้หวังคำตอบ ตัวอย่างเชน่ “...ดวงฤทยั หรอื ดวงแกว้ ตา ดุจดวงดารา ดวงดาวดวงไหน...” (เพลงแก้มน้องนางนนั้ แดงกวา่ ใคร) “...หากวนั ใด หากเกดิ ได้พบได้เจอกัน ใหเ้ ป็นวนั ที่ดสี ง่ ยิ้มให้กัน จะได้ไหม...” (เพลงบอกลา) จะเห็นได้วา่ จากตัวอยา่ งทีย่ กมา ภาพพจนแ์ บบปฏิปุจฉาในเนอื้ เพลง เชน่ เพลงแก้มนอ้ งนางนนั้ แดง กว่าใครเปน็ การใช้ภาพพจน์ท่เี ป็นศลิ ปะของการใช้คำถาม ซงึ่ เป็นคำถามทีม่ ไิ ด้หวังคำตอบ ภาพพจนแ์ บบ ปฏปิ ุจฉาในทีน่ ้ีคือคำว่า “ดวงดาวดวงไหน” จากการศกึ ษาและวเิ คราะห์พบวา่ ในบทเพลงของเขยี นไขและวา นชิ น้ี พบการใช้ภาพพจนแ์ บบปฏปิ ุจฉา จำนวนทั้งหมด 2 คำ 2)ภาพพจนแ์ บบปฏพิ ากย์ จากการศึกษาพบวา่ ไม่ปรากฏการใช้ภาพพจนแ์ บบปฏิพากย์ อาจเนอ่ื งด้วยเพลงของ เขียนไขและวานิชมกั เปน็ การชื่นชมโดยการเปรียบเทียบซ่ึงไม่ค่อยพบภาพพจน์แบบปฏิพากย์ ในบทเพลง ๑.๕ ภาพพจน์เกินจรงิ (อตพิ จน์) การเปรียบเทียบโดยการกล่าวเกินจริง มกั เปรียบเทียบในเรื่องปริมาณว่ามีมากเหลือเกิน มี เจตนาเน้นข้อความที่กลา่ วนนั้ ใหม้ ีน้ำหนักยง่ิ ข้ึนและเพื่อสรา้ งโดยเน้นความร้สู กึ และอารมณ์ ตัวอยา่ งเชน่ “...วอนให้ลมช่วยพดั หัวใจพล่ี อยไปจากดนิ แดนถิ่นเหนือทไ่ี กลแสนไกล...” (เพลงแกม้ นอ้ งนางนั้นแดงกวา่ ใคร) “...ใจเธอยงั คงสับสนอยู่บนดาวเคราะห์ดวงนงึ คอยหมนุ ผ่านไปรอบกายฉัน...”

21 (เพลงหนีหา่ ง) “...ยาวนานความฝนั ของฉันหลุดลอยไปลอยหายในจกั รวาลตามหาก็คงอีกนาน...” (เพลงภาพฝนั ในจักรวาล) “...กอดลาในวนั ทฟ่ี ้าถล่มลงมาผา่ นดวงใจนำ้ ตาให้มันเออ่ ไหลส่ิงดๆี ตอ้ งเก็บเอาไวใ้ นใจ...” (เพลงบอกลา) จะเหน็ ไดว้ ่าจากตัวอยา่ งท่ียกมา ภาพพจนเ์ กินจรงิ (อติพจน)์ ในเนื้อเพลง เช่น เพลงภาพฝนั ในจกั รวาล เป็นการใช้ภาพพจน์ท่ีเป็นศลิ ปะของการใชค้ ำถาม ซงึ่ เป็นคำถามทม่ี ิได้หวงั คำตอบ ภาพพจนเ์ กินจริง(อติพจน์) ท ในท่ีนคี้ อื คำว่า “ลอยหายในจักรวาล” จากการศึกษาและวเิ คราะห์พบว่าในบทเพลงของเขยี นไขและวานชิ น้ี พบการใช้ภาพพจนแ์ บบปฏิปจุ ฉา จำนวนทง้ั หมด 11 คำ

22 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การศกึ ษาคน้ ควา้ เรอ่ื ง แนวคดิ และภาพพจน์จากงานเพลงเขียนไขและวานิช มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อศกึ ษา แนวคิดด้านจากงานเพลงของเขียนไขและวานิชและเพ่ือศึกษาภาพพจน์จากงานเพลงของเขียนไขและวานิช โดยแหล่งข้อมูลทใ่ี ช้ในการศกึ ษาค้นควา้ ครัง้ นี้ เลือกศกึ ษาเพลงจาก สอ่ื ออนไลนท์ างอินเตอร์เนต็ และYoutube โดยเลอื กจากบทเพลงของเขยี นไขและวานิช นำมาศึกษาเก่ียวกบั แนวคดิ ดา้ นและภาพพจน์จากงานเพลง อภปิ รายผล สรุปผลการวจิ ัยตามวัตถุประสงคข์ า้ งตน้ ดงั รายละเอียดต่อไปนี้ 1. ศกึ ษาแนวคิดจากงานเพลงของเขยี นไขและวานชิ 1.1 การศึกษาแนวคิดจากงานเพลงของเขียนไขและวานิช ข้ึนต้นโดนใจจากการวิเคราะห์พบว่าบท เพลงของเขยี นไขและวานิชท่ีเลือกศึกษานี้ มีการขึน้ ต้นเพลงด้วยถ้อยคำที่เขา้ ถงึ เน้ือหาของเพลงเลย บอกถึงความรู้สึกของเนอ้ื จากเพลงโดยตรง 1.2 การศึกษาแนวคิดจากงานเพลงของเขียนไขและวานิชเน้ือในต้องคมชดั มีการเดินเร่อื งใหค้ นฟงั เหน็ ภาพและทำให้ผู้ฟังจนิ ตนาการไดว้ า่ เพลงกำลังพูดถึงอะไรอยู่ 1.3 บทเพลงของเขยี นไขและวานิชมีการใช้คำกำกวมฟมุ่ เฟือย 1.4 จบเร่อื งราวประทับใจการจบคือการสรุปทิ้งคำถามเอาไวท้ ี่มกั หยิบมาใช้อย่างเกินความพอดี หรือ คำท่ีมคี วามหมายเดียวกนั 2. ศึกษาภาพพจนจ์ ากงานเพลงของเขยี นไขและวานชิ 2.1 ภาพพจนเ์ ปรียบเทยี บ มีท้ังหมด2ประเภท ไดแ้ ก่ 1)ภาพพจนแ์ บบอปุ มาในเนอ้ื เพลงเป็นการ เปรยี บเทยี บโดยใชค้ ำเช่ือมแสดงการเปรยี บเทยี บไวอ้ ยา่ งชดั เจน พบการใช้ภาพพจน์แบบอปุ มาจำนวนท้ังหมด 4 คำ 2)ภาพพจนแ์ บบอุปลกั ษณ์ในเนือ้ เพลง เปน็ การเปรยี บเทียบว่าสิ่งหน่งึ เหมอื นกบั อกี สิ่งหนึ่ง พบการใช้ ภาพพจนแ์ บบอปุ ลักษณจ์ ำนวนทั้งหมด 4 คำ 2.2 ภาพพจนส์ ง่ิ แทน มีทงั้ หมด2ประเภท 1)ภาพพจน์แบบสัญลกั ษณ์ ในเนอ้ื เพลง เป็นการใชค้ ำหรือ วลีทีม่ ีความหมายให้ตัวเองและในเวลาเดยี วกนั พบการใช้ภาพพจนแ์ บบสัญลักษณ์จำนวนทัง้ หมด 3 คำ 2)

23 ภาพพจน์แบบนามนยั เปน็ การเอย่ ถงึ ส่งิ ใดสิ่งหนึ่งแตค่ วามหมายเปน็ อย่างอื่น พบการใช้ภาพพจนแ์ บบนามนยั จำนวนทั้งหมด 6 คำ 2.3 ภาพพจนส์ มมติ มที ้ังหมด2ประเภท 1)ภาพพจน์แบบบุคลาธษิ ฐาน เป็นการกลา่ วถงึ อะไรท่ีไมใ่ ช่ มนษุ ย์ ราวกบั ว่าสิ่งตา่ งๆดังกลา่ วเป็นมนุษย์ พบการใชภ้ าพพจนแ์ บบบุคลาธิษฐาน จำนวนท้ังหมด 12 คำ 2)ภาพพจน์แบบสมมุตภิ าวะ เปน็ ผ้เู ขยี นหรอื บคุ คลในเรอ่ื งกลา่ วถอ้ ยคำพดู จากับสงิ่ ท่ไี มใ่ ช่มนุษย์ หรอื ใหพ้ ูดกบั สตั ว์สิ่งของและสิ่งทีไ่ ม่ใชม่ นษุ ยร์ าวกับว่าส่ิงเหล่าน้นั มีชีวิตและสามารถรบั รเู้ ขา้ ใจส่งิ ที่พดู น้นั ได้พบการใช้ ภาพพจนแ์ บบสมมตุ ภิ าวะ จำนวนทงั้ หมด 14 คำ 2.4 ภาพพจนข์ ัดแยง้ มีทงั้ หมด 2ประเภท 1)ภาพพจน์แบบปฏิปุจฉา เป็นการใชภ้ าพพจน์ที่เปน็ ศิลปะ ของการใชค้ ำถาม ซ่งึ เป็นคำถามท่ีมิได้หวัง พบการใช้ภาพพจน์แบบปฏิปจุ ฉา จำนวนทงั้ หมด 2 คำ2)ภาพพจน์ แบบปฏิพากย์ จากการศึกษาพบวา่ ไม่ปรากฏการใช้ภาพพจน์แบบปฏิพากย์ 2.5 ภาพพจน์เกินจริง (อติพจน์ เป็นการใช้ภาพพจน์ท่ีเป็นศิลปะของการใช้คำถาม ซึ่งเป็นคำถามที่ มไิ ด้หวงั พบการใช้ภาพพจน์แบบปฏิปจุ ฉา จำนวนท้งั หมด 11 คำ ข้อเสนอแนะและการศึกษาค้นคว้าคร้ังต่อไป 1.ควรศกึ ษาผลงานเพลงของศิลปนิ คนอนื่ เพือ่ ชว่ ยในการเปรยี บเทียบแนวคดิ และภาพพจนข์ องผลงานเพลง 2.ควรศึกษาคณุ คา่ ด้านต่างๆเพิม่ มากข้นึ เพ่ือความหลากหลายในด้านขอ้ มลู และการศกึ ษา

24 บรรณานกุ รม Kapook (2563). เผย 9 เร่อื งน่าสนใจ กวา่ จะมาเป็นวันนี้ของ \"เขียนไขและวานชิ \". [ออนไลน]์ เข้าถึงไดจ้ ากhttp://teacherthaiwisanu.blogspot.com/2017/12/blog-post.html สบื ค้นเม่อื วนั ที่ 25 ธันวาคม 2563. Paranchai Huadchai (2563). ขึ้นตน้ ตอ้ งโดนใจ เนือ้ ในตอ้ งคมชดั ประหยดั คำไม่วกวน ทำ ให้คนฟงั นึกว่าเปน็ เพลงของเขา จบเร่อื งราวประทับใจ\".[ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก https://www.bltbangkok.com/lifestyle/entertainment/29015 สืบค้นเมื่อวันท่ี 19 ธนั วาคม 2563. Piyakul Phusri (2561). ภาพพมิ พ์บทกวแี ละดนตรโี ฟล์กซองของ‘เขยี นไขและวานชิ . [ออนไลน]์ .เขา้ ถึงได้จาก https://www.fungjaizine.com/interview/kiankai-lae-wanit .สืบค้นเมือ่ วันที่ 20 ธันวาคม 2563. Sasin Imla (2562). สมั ผสั ความงดงามราวบทกวีผา่ นดนตรโี ฟล์กซอง ของ ‘ เขยี นไข และ วานชิ ‘.[ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จากhttps://medium.com/@sasinimlaสบื คน้ เมอ่ื วนั ท่ี 19 ธนั วาคม 2563. Tanaphat Kultavewut (2563). “ท่ีจริงแลว้ แก้มน้องนาง มันทำใหผ้ มจนมมุ นะ..” เขยี นไข และวานิช ชวี ิตและรอยแผลของนักเดินทางในโลกดนตรี.[ออนไลน์].เข้าถงึ ได้จาก https://www.fungjaizine.com/interview/kiankai2. สบื ค้นเมือ่ วันนี้ 19 ธันวาคม 2563. ทองไท สตอร่ี (2553). คุยกนั เต็มๆ กับ “เขียนไขและวานิช” กับกระแสความดังของเพลง “แกม้ น้องนางน้ันแดงกวา่ ใคร”.[ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก https://sites.google.com/site/niwsstxri2/student-of-the-month. สบื คน้ เม่ือวันที่ 28 ธนั วาคม 2563 บ้านจอมยทุ ธ (2559). โวหารภาพพจนใ์ นวรรณคดีไทย.[ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก https://www.baanjomyut.com/library_2/quirky_image_in_thai_literature/index.html. สบื ค้นเมื่อ วนั ที่ 25 ธนั วาคม 2563. ภทั รวรรธน์ ปิจจวงค์ (2558). การวเิ คราะหค์ ณุ คา่ วรรณคดีด้านวรรณศลิ ป์.[ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้ จาก https://sites.google.com/site/learnthaibykrublank/kar-wikheraah-khunkha-wrrnkhdi-dan- wrrnsilp.สบื ค้นเม่อื วนั ท่ี 20 ธันวาคม 2563.

25 วิมุตตินนั ท์ เชอ้ื สาวะถี(2562). เขียนไขและวานิช ศลิ ปินผมู้ วี ัตถุดบิ ในการแตง่ เพลงเปน็ ความ เศร้า.[ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จากhttps://happeningandfriends.com/article-detail/178?lang=th.สืบค้น เมื่อวนั ที่ 15 ธนั วาคม 2563. วษิ ณุ สมานติ ย์(2560). การใช้โวหารภาพพจน.์ [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://teacherthaiwisanu.blogspot.com/2017/12/blog-post.html. สบื คน้ เม่อื วันท่ี 25 ธนั วาคม 2563. ทองไท สตอร่ี (2553). คุยกันเต็มๆ กับ “เขียนไขและวานชิ ” กับกระแสความดงั ของเพลง “แกม้ นอ้ งนางนน้ั แดงกวา่ ใคร”.[ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก https://sites.google.com/site/niwsstxri2/student-of-the-month. สืบคน้ เม่อื วนั ท่ี 28 ธนั วาคม 2563.