การลงทุนระหว่างประเทศทางตรง หมายถึง

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

การลงทุนระหว่างประเทศ หมายถึง การที่รัฐบาลหรือเอกชนของประเทศหนึ่งนำเงินไปลงทุนดำเนินธุรกิจเพื่อแสวงผลกำไรในอีกประเทศหนึ่ง

ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การลงทุนโดยตรง และการลงทุนโดยอ้อม

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

           ตัวชี้วัด

                   ส 3.2 ม. 3/6 วิเคราะห์สาเหตุและวิธีการกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ

           จุดประสงค์การเรียนรู้

                  1. นักเรียนสามารถอธิบายรูปแบบการลงทุนจากต่างประเทศ ทั้งการลงทุนทางตรงและการลงทุนทางอ้อมได้อย่างถูกต้อง

                  2. นักเรียนสามารถจำแนกรูปแบบการลงทุนทางตรงและทางอ้อมได้อย่างถูกต้อง

                  3. นักเรียนสามารถวิเคราะห์ประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับจากการลงทุนระหว่างประเทศของไทยได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล

                  4. นักเรียนสามารถอภิปรายผลที่ประเทศไทยจะได้รับจากการลงทุนระหว่างประเทศของไทยได้มีเหตุผล

การวัดผลและประเมินผล

วิธีการ

เครื่องมือ

เกณฑ์

1. สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้

แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน

ผ่านเกณฑ์ในระดับพอใช้ ขึ้นไป

2. ทำกิจกรรมประจำบทเรียนและใบงานที่ 24 เรื่อง การลงทุนระหว่างประเทศของไทย

กิจกรรมประจำบทเรียนและใบงานที่ 24 เรื่อง การลงทุนระหว่างประเทศของไทย

3. ถาม – ตอบ

คำถาม

ตอบคำถามถูกต้อง

การลงทุนระหว่างประเทศทางตรง หมายถึง

รูปแบบการลงทุนระหว่างประเทศในแบบต่างๆ

หากมองในภาพรวมทุกคนก็พอจะเข้าใจกันแบบง่ายๆ ว่าการลงทุนระหว่างประเทศเป็นการลงทุนโดยมีอย่างน้อย 2 ประเทศทำการตกลงกันเรื่องทางการค้าเพื่อผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ ผลประโยชน์เชิงพาณิชย์ หรือเพื่อการยกระดับประเทศอะไรก็ตามแต่ ทว่าหลักๆ ของการลงทุนระหว่างประเทศจะประกอบไปด้วยการลงทุนอยู่ 2 รูปแบบ คือ การลงทุนทางตรงกับการลงทุนทางอ้อม ว่าแต่การลงทุนทั้ง 2 แบบนี้มีลักษณะเป็นอย่างไรบ้าง มาทำความเข้าใจกันดูเพื่อที่จะเข้าใจเกี่ยวกับการลงทุนระหว่างประเทศมากยิ่งขึ้น

การลงทุนระหว่างประเทศทางตรง หมายถึง

การลงทุนระหว่างประเทศ

  1. การลงทุนทางตรง – ความหมายก็ค่อนข้างที่จะตรงตัวชัดเจนมันคือการลงทุนด้วยการที่เอาทุนจากประเทศหนึ่งไปให้กับอีกประเทศหนึ่งเป็นการลงทุนโดยหวังว่าการเอาทุนมาลงจะทำให้เกิดผลประโยชน์มากที่สุดแบบตรงๆ โดยเจ้าของทุนตรงนี้ยังมีอำนาจที่ชัดเจนเกี่ยวกับการนำทุนก้อนนั้นไปใช้ประโยชน์ตามที่พวกเขาต้องการ พูดง่ายๆ ว่าเหมือนกับการเอาเงินของตัวเองมาสร้างกิจการแล้วเข้าไปดูแล ส่วนมากมักลงทุนในระบบบรรษัทข้ามชาติ สมัคร betflik บริษัทแม่จะยังคงอยู่ที่ประเทศของผู้ลงทุนแล้วก็แบ่งแยกย่อยสาขาต่างๆ ออกไปตามแต่ละประเทศ ซึ่งพวกที่ลงทุนในลักษณะนี้มักจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มีบริษัทใหญ่โต โดยมากมักมาจากประเทศมหาอำนาจต่างๆ อาทิ สหรัฐฯ, เยอรมัน, อังกฤษ, ญี่ปุ่น, ฝรั่งเศส เป็นต้น ส่วนเรื่องที่เข้ามาลงทุนก็ค่อนข้างมีหลากหลาย อาทิ สถาบันการเงิน, น้ำมัน, เครื่องใช้ไฟฟ้า, เครื่องมือสื่อสาร, อาหาร, ห้างสรรพสินค้า, ยานยนต์ เป็นต้น ซึ่งปัจจัยหลักที่เกิดการลงทุนทางตรงจะต้องมีประเทศเจ้าของทุนและประเทศผู้รับทุนขึ้นอยู่กับการตกลงกันระหว่างประเทศเหล่านี้หากมองว่าได้รับความพึงพอใจทั้ง 2 ฝ่ายก็ไม่ใช่ปัญหาในการที่จะมาทำการลงทุนร่วมกัน
  2. การลงทุนทางอ้อม – เรียกอีกอย่างว่าเป็นการลงทุนทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องกับการเงินเป็นหลัก ส่วนมากจะมาในรูปแบบของการซื้อตราสารต่างๆ ทั้งตราสารทุน ตราสารหนี้ ไม่ว่าจะเป็นแบบพันธบัตรหรือตั๋วเงินก็ตาม นอกจากนี้เรื่องของการกู้เงินจากต่างประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาวก็ถือว่าเป็นการลงทุนทางอ้อมเช่นกัน โดยผู้ที่ลงทุนจะไม่สามารถเข้ามาบริหารจัดการได้เหมือนกับการลงทุนทางตรง ส่วนมากผู้ลงทุนในแบบทางอ้อมนี้จะเป็นแนวปัจเจกบุคคล หรืออาจมาในรูปแบบของกองทุนประเภทต่างๆ ปัจจัยหลักๆ ที่ทำให้เกิดการลงทุนเกี่ยวกับทรัพย์สินทางการเงินก็มาจาก ผู้ที่ลงทุนเองต้องการหาผลตอบแทนที่ดีที่สุดในการลงทุน อย่างไรก็ตามการลงทุนด้วยการซื้อสินทรัพย์ด้านการเงินจะค่อนข้างมีความเสี่ยงสูงมาก ตรงจุดนี้นักลงทุนเองก็มักจะคำนวณเรื่องความเสี่ยงที่เกิดขึ้นด้วย ไม่ได้แค่คิดแต่เรื่องของผลกำไรเพียงอย่างเดียว

  • หน้าแรก

  • Accounting Articles

  • การลงทุนระหว่างประเทศ (International Economic)


       
สาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการลงทุนในสินทรัพย์ทางการเงินระหว่างประเทศ คือ ผู้ลงทุนต้องการแสวงหาผลตอบแทนที่ดีที่สุด อย่างไรก็ตามการลงทุนในการซื้อสินทรัพย์ทางการเงินหรือเข้ามาดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจจะมีความเสี่ยงในการลงทุน นักลงทุนจะต้องคำนึงถึงความเสี่ยงด้วยเพราะการทำธุรกิจอาจมีกำไรหรือขาดทุน มิใช่คำนึงแต่ด้านผลตอบแทนเพียงอย่างเดียว บางครั้งอาจเกิดการขัดแย้งระหว่างประเทศจนกลายเป็นกรณีพิพาททางการเมืองก็ได้ ในทางตรงข้ามการลงทุนระหว่างประเทศก็ก่อให้เกิดผลดี เศรษฐกิจมีความเจริญเติบโต ได้รับการถ่ายทอดทางเทคโนโลยี มีการจ้างงาน ผลผลิตมวลรวมภายในประเทศสูงขึ้น รายได้ประชาชาติสูงขึ้น อาจส่งผลให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในประเทศดีขึ้น
          
การลงทุนระหว่างประเทศ หมายถึง การที่รัฐบาลหรือเอกชนของประเทศหนึ่งนำเงินไปลงทุนดำเนินธุรกิจเพื่อแสวงผลกำไรในอีกประเทศหนึ่ง
ซึ่งแบ่งออกเป็น ประเภท คือ    

                1.การลงทุนโดยตรง  Direct Investment  
                2.การลงทุนโดยอ้อม Indirect Investment

  
การลงทุนโดยตรง
     การลงทุนโดยตรง หมายถึง การเคลื่อนย้ายทุนจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่งโดยเจ้าของทุนยังมีอำนาจในการดูแลกิจการที่ตนเองเป็นเจ้าของ เป็นการนำเงินไปลงทุนโดยผู้ลงทุนเข้าไปดำเนินกิจการ มีการนำทรัพยากรการผลิต แรงงานและเทคโนโลยีเข้าไปยังประเทศที่ลงทุนส่วนใหญ่เป็นการลงทุนในระยะยาว การลงทุนในลักษณะนี้คือ การลงทุนในรูปบริษัทข้ามชาติ(multinational corporations)ที่มีบริษัทแม่อยู่ในประเทศที่เป็นเจ้าของทุนและมีบริษัทที่เป็นเครือข่ายสาขาอยู่ในหลายประเทศ 
ในปัจจุบันการลงทุนโดยตรงส่วนใหญ่ จะอยู่ในรูปของการดำเนินงานโดยวิสาหกิจ และมีสถาบันการเงินของเอกชนเป็นผู้จัดหาเงินทุนสำหรับการลงทุนในโครงการต่างๆ

การลงทุนระหว่างประเทศทางตรง หมายถึง

 การลงทุนจากต่างประเทศในธุรกิจที่มีขนาดใหญ่                                                                                                                                                                                         ส่งผลให้เม็ดเงินต่างประเทศไหลเข้าสู่ประเทศไทย  มีผลสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของไทย

การลงทุนโดยอ้อม 

          การลงทุนโดยอ้อม หรือ การลงทุนในสินทรัพย์ทางการเงิน หมายถึง การลงทุนในรูปการซื้อขายตราสารหุ้น ตราสารหนี้ ทั้งในรูปพันธบัตร ตั๋วเงิน ในต่างประเทศ  รวมทั้งการกู้เงินจากต่างประเทศทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยผู้ลงทุนจะไม่มีอำนาจในการบริหารจัดการหรือควบคุมดูแลกิจการนั้นๆ เป็นการลงทุนที่ผู้ลงทุนต่างชาติไม่ได้เข้ามามีส่วนดำเนินกิจการ ผู้ลงทุนในลักษณะนี้มักจะเป็นปัจเจกบุคคลหรืออยู่ในรูปของกองทุนต่างๆ อาทิ กองทุนบำเหน็จบำนาญและกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือนักลงทุนสถาบัน เช่น บริษัทประกันภัยและกองทุนรวม 

การลงทุนระหว่างประเทศทางตรง หมายถึง

การให้กู้ยืมเงินและการลงทุนในหลักทรัพย์เป็นการลงทุนทางอ้อม

ประโยชน์ของการลงทุนระหว่างประเทศทางตรงมีอะไรบ้าง

​ความสำคัญของการลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ ช่วยให้การเคลื่อนย้ายเงินทุนมีความสมดุลมากขึ้น อันจะส่งผลให้อัตราแลกเปลี่ยนและระบบการเงินของประเทศมีเสถียรภาพยิ่งขึ้น และประเทศสามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืนในระยะยาว ประโยชน์ในด้านอื่นๆ เช่น โอกาสทางการค้า หรือการมีส่วนช่วยในการพัฒนาตลาดการเงินของประเทศ​​

การลงทุนโดยตรงหมายถึงอะไร

การลงทุนโดยตรง หมายถึง การเคลื่อนย้ายทุนจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่ง โดยเจ้าของทุนยังมีอำ นาจในการดูแลกิจการที่ตนเองเป็นเจ้าของ การลงทุนในลักษณะนี้คือ การลงทุนในรูปบรรษัทข้ามชาติ (multinational corporations) ที่มีบริษัทแม่อยู่ในประเทศที่เป็นเจ้าของทุนและมีบริษัทที่เป็นเครือข่ายสาขาอยู่ในหลายประเทศ โดยบรรษัทข้าม ...

การลงทุนโดยตรง มีอะไรบ้าง

การลงทุนโดยตรงในต่างประเทศ.
เงินลงทุนในทุนเรือนหุ้น (Equity Investment).
การกู้ยืมระหว่างบริษัทในเครือ (Direct Loans).
กำไรที่นำกลับมาลงทุน และ.
ตราสารหนี้และสินเชื่อการค้าที่เป็นธุรกรรมระหว่างบริษัทในเครือด้วยกัน.

การ ลงทุน ทาง ตรง และ ทาง อ้อม แตก ต่าง กัน อย่างไร

ทางเลือกการลงทุน Page 25 การลงทุนทางตรงลงทุน ลงแรง การที่ผู้ลงทุนใช้เงินออมหรือเงินรายได้ ของเขาลงทุนทากิจการใดกิจการหนึ่ง โดยมีการดาเนินงานและการตัดสินใจ ต่าง ๆ ด้วยตนเองเพื่อให้เกิดกาไรตาม เป้าหมายที่วางไว้ การลงทุนทางอ้อม – ให้เงินทางาน ใช้เงินต่อเงิน ลงทุนในสินทรัพย์ที่มีตัวตน การลงทุนในสินทรัพย์ทางการเงิน