การ พัฒนา ทักษะ การ อ่าน โดย ใช้ แบบ ฝึก ม 3

����駺���ѷ : 88 The Parq Building, Ratchada road, Klongtoey, Klongtoey, Bangkok 10110, Thailand �ǧ ��ͧ�� ࢵ ��ͧ�� ��ا෾��ҹ�� 10110

Show

... �٤س���ѵ��������

... ����������´������

sale
����ѷ ��ԡ �໫ �ӡѴ


�Թ��͹ : 15,000 - 18,000 �
�ӹǹ�Ѻ : 1 �ѵ��
�ӧҹ��� : ���ԧ���

16 �ѹ�Ҥ� 2565
 

การ พัฒนา ทักษะ การ อ่าน โดย ใช้ แบบ ฝึก ม 3

�س���ѵ�  : 1. �� ˭ԧ
2. ���� 21-35
3. �ջ��ʺ��ó�ҹ������ҧ���� 1 �� �ҡ�ջ��ʺ��ó��ҹ��ѧ�������Ѿ��оԨ�ó��繾����
4. ��෤�Ԥ��è٧㨷��� ���Ҷ�й��Թ������Ѻ�١����������ҧ��
5. �����������ѹ����� ����ѡ㹧ҹ��� �դ�����ѹʹ�� �շѡ��㹡���èҵ���ͧ ��С�е�������㹡�û�Ժѵԧҹ �ӧҹ�����������ç���ѹ���
6. ����ö����������������������ٻ�������ҧ�� ��੾�� E-mail
7. ��ö¹�� �Ѻö¹���� �����㺢Ѻ���

����駺���ѷ : �Ţ��� 72 ���� 3 �Ӻ� �ʹ�ٴ�� ����� ��ҹ⾸�� �ѧ��Ѵ ���ԧ��� 24140

... �٤س���ѵ��������

... ����������´������

����ͷտ �Ѵ��� �Ҿ �մ���
����ѷ ���� �ʷ� ෤����� �ӡѴ


�Թ��͹ : �����ŧ
�ӹǹ�Ѻ : 1 �ѵ��
�ӧҹ��� : �����ҹ�

16 �ѹ�Ҥ� 2565
 

การ พัฒนา ทักษะ การ อ่าน โดย ใช้ แบบ ฝึก ม 3

�س���ѵ�  : �Ѻ��Ѥ� ��ѡ�ҹ��ǹ!
����ѷ ���� �ʷ� ෤����� �ӡѴ ������ǡѺ���ҧ����ͧ�ѡ����ٻ�����
���˹�: ����ͷտ �����Ҿ �����մ��� �Ѵ����մ��� (Creative)
�Ң�: ���� ���� �Ңҷ������Ǣ�ͧ
����: ���ӡѴ
��: ���ӡѴ
���ʺ��ó�: ���ӡѴ
Job description: �����Ҿ����ͧ�ѡ� 䴤ѷ ���·��մ��͡�ü�Ե �Ѵ��� ŧ��ͧ youtube website facebook �ͧ����ѷ
�Թ��͹: ������� 15,000 ���� ����赡ŧ
���ʴԡ��: ��Ң��� 50 �ҷ����ѹ, ��Сѹ�ѧ��, ��Ǩ�آ�Ҿ��Шӻ�, ��Ͷ���굺�ꤢͧ����ѷ, ��Сѹ�غѵ��˵�, ��῿��, ⺹�ʻ�Шӻ� (�������Ѻ�Ż�Сͺ���)
����㹡�÷ӧҹ: �ѹ���-����� (9.00 � 18.00 �.)
ʶҹ���ӧҹ: 733/746 �.����¸Թ 80 �.����Ǵ��ѧ�Ե �.�٤� �.���١�� �.�����ҹ� 12130 (���ѡɳ��ç�ҹ ����ö�������� google map ��)
����: ��ͧ��ä��ٴ���������ͧ, �Դ��������, ����������ѹ���, ���ç���ѹ��
ʹ㨵Դ����� resume ��� portfolio �ҷ��: [email protected]

����駺���ѷ : 85/112 ���� 4 ������Ѳ�� �Ӻ� ��ͧ���� ����� �ҡ��� �ѧ��Ѵ ������� 11120

... �٤س���ѵ��������

... ����������´������

�Ţҹء�� ��ШӸ�Ҥ�á�ԡ����Ҥ�� Kplus building
����ѷ ����� �ͪ ���� �ӡѴ


�Թ��͹ : 12,000 - 13,000 �
�ӹǹ�Ѻ : 2 �ѵ��
�ӧҹ��� : ��ا෾��ҹ��

16 �ѹ�Ҥ� 2565
 

การ พัฒนา ทักษะ การ อ่าน โดย ใช้ แบบ ฝึก ม 3

�س���ѵ�  : ** �س���ѵ� **
- ��ԭ�ҵ�� �ء�Ң��Ԫ� GPA. 2.30 ����
- ��˭ԧ ��������Թ 30 ��
- �շѡ��㹡����ҹ Ms.Office word/excel
- �դ����Ѻ�Դ�ͺ �����´�ͺ�ͺ �դ���ʹ��
- �շѡ��㹡�����ͤ��� �Դ��ͻ���ҹ�ҹ

** ���ʴԡ�� **
- ��Сѹ�ѧ��
- �ͧ�ع���ͧ����§�վ
- ��Сѹ�آ�Ҿ
- �ӧҹ 5 �ѹ �ѹ�ѹ���-�ء�� ��ش�ѹ�����-�ҷԵ��
- ���ҷӧҹ 08.30�. - 17.30�.

ʹ㨵Դ����ͺ�����������������Դ��ͤس��ɡ� �� 02-2701071 ��� 138
������ Resume �ҷ�� E-mail : [email protected]

����駺���ѷ : 1019/15 �Ҥ�ø�Ҥ�á�ԡ��� �Ң�ʹ����� ��� 2 �������¸Թ �ǧ ���� ࢵ ���� ��ا෾��ҹ�� 10400

... �٤س���ѵ��������

... ����������´������

INTERIOR
����ѷ ��Դ �ʹ� �ӡѴ


�Թ��͹ : �����ŧ
�ӹǹ�Ѻ : 1 �ѵ��
�ӧҹ��� : ��ا෾��ҹ��

16 �ѹ�Ҥ� 2565
 

การ พัฒนา ทักษะ การ อ่าน โดย ใช้ แบบ ฝึก ม 3

�س���ѵ�  : �դ�������ö��¹Ẻ ����¡�û���ҳ�Ҥ� ��з��Ҿ3�Ե���

�ػ����� �դ����Ѻ�Դ�ͺ�٧

We need Interior Designer, Who can works Interior drawings, Bill of Quantity and 3D presentation

If you want to join us Solid-ID. Please contact here or E-mail : [email protected]. Mobile : 090-8989-511,

ด้าน คือ ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย และด้านทักษะพิสัย โดยในแต่ละด้านจะมีการจำแนกระดับความสามารถจากต่ำสุดไปถึงสูงสุด เช่น ด้านพุทธิพิสัย เริ่มจากความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมิน นอกจากนี้ยังนำเสนอระดับความสามารถที่มีการปรับปรุงใหม่ตามแนวคิดของ Anderson and Krathwohl (2001) เป็น การจำ(Remembering) การเข้าใจ(Understanding) การประยุกต์ใช้(Applying) การวิเคราะห์ (Analysing) การประเมินผล (Evaluating) และการสร้างสรรค์ (Creating) ด้านจิตพิสัย จำแนกเป็น การรับรู้, การตอบสนอง, การสร้างค่านิยม, การจัดระบบ และการสร้างคุณลักษณะจากค่านิยม ด้านทักษะพิสัย จำแนกเป็น ทักษะการเคลื่อนไหวของร่างกาย, ทักษะการเคลื่อนไหวอวัยวะสองส่วนหรือมากกว่าพร้อมๆกัน, ทักษะการสื่อสารโดยใช้ท่าทาง และทักษะการแสดงพฤติกรรมทางการพูด


         ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม

Bloom ได้แบ่งการเรียนรู้เป็น 6 ระดับ ดังนี้


การ พัฒนา ทักษะ การ อ่าน โดย ใช้ แบบ ฝึก ม 3


·       ความรู้ที่เกิดจากความจำ (knowledge) ซึ่งเป็นระดับล่างสุด

·       ความเข้าใจ (Comprehend)

·       การประยุกต์ (Application)

·       การวิเคราะห์ ( Analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้

·       การสังเคราะห์ ( Synthesis) สามารถนำส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นรูปแบบใหม่ได้ให้แตกต่างจากรูปเดิม เน้นโครงสร้างใหม่

·       การประเมินค่า ( Evaluation) วัดได้ และตัดสินได้ว่าอะไรถูกหรือผิด ประกอบการตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลและเกณฑ์ที่แน่ชัด


             ทฤษฎีการเรียนรู้ เบนจามิน บลูมและคณะ (Bloom et al, 1956) ได้จำแนกจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ออกเป็น 3 ด้าน  คือ

1.พุทธิพิสัย (Cognitive Domain)

พฤติกรรมด้านสมองเป็นพฤติกรรมเกี่ยวกับสติปัญญา ความรู้ ความคิด ความเฉลียวฉลาด ความสามารถในการคิดเรื่องราวต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งเป็นความสามารถทางสติปัญญา

พฤติกรรมทางพุทธิพิสัย  6 ระดับ ดังนี้

การ พัฒนา ทักษะ การ อ่าน โดย ใช้ แบบ ฝึก ม 3


1.ความรู้ความจำ  ความสามารถในการเก็บรักษามวลประสบการณ์ต่าง ๆ จากการที่ได้รับรู้ไว้และระลึกสิ่งนั้นได้เมื่อต้องการเปรียบดังเทปบันทึกเสียงหรือวีดิทัศน์

ที่สามารถเก็บเสียงและภาพของเรื่องราวต่างๆได้  สามารถเปิดฟังหรือ ดูภาพเหล่านั้นได้  เมื่อต้องการ

2. ความเข้าใจ  เป็นความสามารถในการจับใจความสำคัญของสื่อ และสามารถแสดงออกมาในรูปของการแปลความ ตีความ คาดคะเน ขยายความ หรือ การกระทำอื่น ๆ 

3. การนำความรู้ไปใช้ เป็นขั้นที่ผู้เรียนสามารถนำความรู้ ประสบการณ์ไปใช้ในกาแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ซึ่งจะต้องอาศัยความรู้ความเข้าใจ จึงจะสามารถนำไปใช้ได้

4. การวิเคราะห์ 

ผู้เรียนสามารถคิด หรือ แยกแยะเรื่องราวสิ่งต่าง ๆ ออกเป็นส่วนย่อย เป็นองค์ประกอบที่สำคัญได้ และมองเห็นความสัมพันธ์ของส่วนที่เกี่ยวข้องกัน ความสามารถในการวิเคราะห์จะแตกต่างกันไปแล้วแต่ความคิดของแต่ละคน

5. การสังเคราะห์ 

ความสามารถในการที่ผสมผสานส่วนย่อย ๆ เข้าเป็นเรื่องราวเดียวกันอย่างมีระบบ เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ที่สมบูรณ์และดีกว่าเดิม อาจเป็นการถ่ายทอดความคิดออกมาให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย การกำหนดวางแผนวิธีการดำเนินงานขึ้นใหม่ หรือ อาจจะเกิดความคิดในอันที่จะสร้างความสัมพันธ์ของสิ่งที่เป็นนามธรรมขึ้นมาในรูปแบบ หรือ แนวคิดใหม่

6. การประเมินค่า 

เป็นความสามารถในการตัดสิน ตีราคา หรือ สรุปเกี่ยวกับคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ออกมาในรูปของคุณธรรมอย่างมีกฎเกณฑ์ที่เหมาะสม ซึ่งอาจเป็นไปตามเนื้อหาสาระในเรื่องนั้น ๆ หรืออาจเป็นกฎเกณฑ์ที่สังคมยอมรับก็ได้


2.จิตพิสัย (Affective Domain)(พฤติกรรมด้านจิตใจ)


ค่านิยม ความรู้สึก ความซาบซึ้ง  ทัศนคติ ความเชื่อ ความสนใจและคุณธรรม  พฤติกรรมด้านนี้อาจไม่เกิดขึ้นทันที ดังนั้น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และสอดแทรกสิ่งที่ดีงามอยู่ตลอดเวลา จะทำให้พฤติกรรมของผู้เรียนเปลี่ยนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ได้

ด้านจิตพิสัย จะประกอบด้วย พฤติกรรมย่อย ๆ 5 ระดับ ดังนี้


การ พัฒนา ทักษะ การ อ่าน โดย ใช้ แบบ ฝึก ม 3


1.การรับรู้   เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อปรากฏการณ์ หรือสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่ง


ซึ่งเป็นไปในลักษณะของการแปลความหมายของสิ่งเร้านั้นว่าคืออะไร แล้วจะแสดงออกมาในรูปของความรู้สึกที่เกิดขึ้น


2. การตอบสนอง   เป็นการกระทำที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอม และพอใจต่อสิ่งเร้านั้น ซึ่งเป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแล้ว

3. การเกิดค่านิยม  การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม การยอมรับนับถือในคุณค่านั้น ๆ หรือปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จนกลายเป็นความเชื่อ แล้วจึงเกิดทัศนคติที่ดีในสิ่งนั้น

4. การจัดระบบ  การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความสัมพันธ์

ถ้าเข้ากันได้ก็จะยึดถือต่อไปแต่ถ้าขัดกันอาจไม่ยอมรับอาจจะยอมรับค่านิยมใหม่โดยยกเลิกค่านิยมเก่า

5. บุคลิกภาพ  การนำค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็นนิสัยประจำตัว ให้ประพฤติปฏิบัติแต่สิ่งที่ถูกต้องดีงามพฤติกรรมด้านนี้ จะเกี่ยวกับความรู้สึกและจิตใจ ซึ่งจะเริ่มจากการได้รับรู้จากสิ่งแวดล้อม แล้วจึงเกิดปฏิกิริยาโต้ตอบ ขยายกลายเป็นความรู้สึกด้านต่าง ๆ

      จนกลายเป็นค่านิยม และยังพัฒนาต่อไปเป็นความคิด อุดมคติ ซึ่งจะเป็นควบคุมทิศทางพฤติกรรมของคนคนจะรู้ดีรู้ชั่วอย่างไรนั้น ก็เป็นผลของพฤติกรรมด้านนี้


3.ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) (พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้อประสาท)


       พฤติกรรมที่บ่งถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่วชำนิชำนาญ  ซึ่งแสดงออกมาได้โดยตรงโดยมีเวลาและคุณภาพของงานเป็นตัวชี้ระดับของทักษะ


       พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย ประกอบด้วย พฤติกรรมย่อย ๆ 5 ขั้น ดังนี้

การ พัฒนา ทักษะ การ อ่าน โดย ใช้ แบบ ฝึก ม 3

1.การรับรู้  เป็นการให้ผู้เรียนได้รับรู้หลักการปฏิบัติที่ถูกต้อง หรือ เป็นการเลือกหาตัวแบบที่สนใจ

2.กระทำตามแบบ หรือ เครื่องชี้แนะ  เป็นพฤติกรรมที่ผู้เรียนพยายามฝึกตามแบบที่ตนสนใจและพยายามทำซ้ำ เพื่อที่จะให้เกิดทักษะตามแบบที่ตนสนใจให้ได้ หรือ สามารถปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ

3.การหาความถูกต้อง พฤติกรรมสามารถปฏิบัติได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องชี้แนะ  เมื่อได้กระทำซ้ำแล้ว  ก็พยายามหาความถูกต้องในการปฏิบัติ

4.การกระทำอย่างต่อเนื่องหลังจากตัดสินใจเลือกรูปแบบที่เป็นของตัวเองจะกระทำตามรูปแบบนั้นอย่างต่อเนื่อง จนปฏิบัติงานที่ยุ่งยากซับซ้อนได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง คล่องแคล่ว  การที่ผู้เรียนเกิดทักษะได้  ต้องอาศัยการฝึกฝนและกระทำอย่างสม่ำเสมอ

5. การกระทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ พฤติกรรมที่ได้จากการฝึกอย่างต่อเนื่อง จนสามารถปฏิบัตืได้คล่องแคล่วโดยอัติโนมัติ เป็นไปอย่างธรรมชาติ ซึ่งถือเป็นความสามารถของการปฏิบัติในระดับสูง

ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับกระบวนการเรียนการสอน

                 ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม ( Bloom 1976 ) ( อ้างจาก รศ.ดร.ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ , 2535 : 115 – 117 ) บลูมได้เสนอทฤษฎีการเรียนรู้ในโรงเรียนไว้ดังนี้

                  - พื้นฐานของผู้เรียนเป็นหัวใจในการเรียน ผู้เรียนแต่ละคนจะเข้าชั้นเรียนด้วยพื้นฐานที่จะช่วยให้เขา ประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ต่างกัน ถ้าเขามีพื้นฐานที่คล้ายคลึงกัน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจะไม่แตกต่างกัน

                  - คุณลักษณะของแต่ละคน เช่น ความรู้ที่จำเป็นก่อนเรียน แรงจูงใจในการเรียน และคุณภาพของการสอน เป็นสิ่งที่ปรับปรุงได้ เพื่อให้แต่ละคนและทั้งกลุ่มมีระดับการเรียนรู้ที่สูงขึ้น

สรุป

       เพราะฉะนั้นเราสามารถสรุปได้ว่า การเรียนรู้หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจากเดิมไปสู่พฤติกรรมใหม่ที่ค่อนข้างถาวร และพฤติกรรมใหม่นี้เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึกฝน มิใช่เป็นผลจากการตอบสนองตามธรรมชาติหรือสัญชาตญาณ หรือวุฒิภาวะ หรือพิษยาต่าง ๆ หรืออุบัติเหตุ หรือความบังเอิญ พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะต้องเปลี่ยนไปอย่างค่อนข้างถาวร จึงจะถือว่าเกิดการเรียนรู้ขึ้น หากเป็นการ เปลี่ยนแปลงชั่วคราวก็ยังไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้

เมื่อบุคคลเกิดการเรียนรู้ จะเกิดการเปลี่ยนแปลง ดังนี้ (Bloom, 1959)1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคิด (Cognitive Domain) หมายถึง การเรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาสาระใหม่ ก็จะทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้มากขึ้น เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสมอง

2.การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ ค่านิยม (Affective Domain) หมายถึง เมื่อบุคคลได้เรียนรู้สิ่งใหม่ ก็ทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกทางด้านจิตใจ ความเชื่อ ความสนใจ

3.ความเปลี่ยนแปลงทางด้านความชำนาญ (Psychomotor Domain) หมายถึง การที่บุคคลได้เกิดการเรียนรู้ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และเกิดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ความสมใจด้วยแล้ว ได้นำเอาสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปปฏิบัติ จึงทำให้เกิดความชำนาญมากขึ้น เช่น การใช้มือ เป็นต้น