กําหนดวิธีการและขั้นตอนการขยายอาชีพโดยพิจารณาความเป็นไปได้ของการขยายอาชีพ ความพร้อม

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 1 สมุดบันทกึ การเรียนรู้ สาระทกั ษะการพฒั นาอาชีพ รหสั วชิ า อช31001 รายวชิ าช่องทางการขยายอาชีพ รหสั ประจาตวั นักศกึ ษา.......................................................... ช่ือ-สกุล................................................................ ช่ือครูประจากลุ่ม.................................................. ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย เขตคลองเตย

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 2 เรือ่ งที่ 1 : ความสาคัญและความจาเปน็ ในการครองชีพ การขยายขอบข่ายอาชีพ หมายความถึง กิจกรรมอาชีพที่มีอยสู่ ามารถขยายกิจกรรมที่เกยี่ วข้องและสัมพนั ธ์ออกไปเปน็ ขอบข่ายอาชีพที่สร้างรายได้ ใช้ทนุ ทรัพยากรจากอาชีพหลักให้เกิดคณุ คา่ สร้างความเขม้ แขง็ ยัง่ ยืนใน อาชีพได้ เช่น 1. การขยายขอบขยายอาชีพจากการหมุนเวยี นเปลี่ยนรปู ผลผลิตภัณฑ์ หรือผลพลอยได้ไปสู่ กิจกรรมใหม่ เช่น 1.1 สร้างธุรกิจแปรรูปหมูจากฟาร์มหมขู องตนเอง 1.2 สร้างธรุ กจิ ปุ๋ยหมกั จากขห้ี มู 1.3 สร้างธรุ กจิ ขนมหวานเยลลจี่ ากหนงั หมู 2. การขยายขอบข่ายอาชีพจากการสร้างและพฒั นาเครอื ขา่ ยจากอาชีพ เช่น 2.1 เฟรนชาย ชายสีบ่ ะหมเ่ี กี๊ยว 2.2 การสร้างเครือขา่ ยนาข้าวอินทรีย์ 3. การขยายขอบข่ายอาชีพจากการตลาด เช่น 3.1 สวนมะพร้าวน้าหอมแมต่ ุ้ม ศูนยก์ ลางรบั ซอื้ และขายส่งมะพร้าวน้าหอม ภายใต้การควบคุมคณุ ภาพของตนเอง 4. การขยายขอบข่ายอาชีพ จากการส่งเสริมการท่องเทยี่ ว เช่น 4.1 จัดบริการท่องเทีย่ วพกั ผ่อน กินอาหารเกษตรอินทรยี ท์ ีไ่ ร่สดุ ปลายฟูา 4.2 ท่องเที่ยวชิมผลไม้ ชมสวนชาวไร่จนั ทบรุ ี 5. การขยายขอบข่ายอาชีพกบั การสง่ เสริมสุขภาพและอนามัย เช่น 5.1 พกั ฟน้ื รบั ประทานอาหารธรรมชาติไร้สารพษิ ปฏิบัติธรรมกับ Home stay ครองรางจระเข้ 6. การขยายขอบข่ายอาชีพกบั การเรียนรู้ เช่น 6.1 เรียนรู้ระบบนิเวศ ความพอเพยี งทีไ่ ร่นาสวนผสมคณุ พิชิต

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 3 ใบความรู้ เรื่อง ความหมายของการจดั การขยายอาชพี เพือ่ ความมนั่ คง ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 ดงั นี้ การจัดการ หมายถึง กรรมวธิ ีในการสง่ั งาน ควบคมุ งาน ด้าเนนิ งาน ขยายอาชีพ หมายถึง การท้าใหก้ ารท้ามาหากนิ แผก่ วา้ งออกไป ความม่นั คง หมายถึง เกี่ยวกบั การเกิดความแน่น และทนทานไม่กลับเปน็ อนื่ การจดั การขยายอาชีพเพือ่ ความมัน่ คง หมายถึง กรรมวธิ ีในการควบคมุ การดา้ เนินงานทา้ มาหา กินใหแ้ ผ่กวา้ งออกไปด้วยความทนทานไมก่ ลับเปน็ อืน่ เศรษฐกิจ หมายถึง งานเกี่ยวกับการผลิต การจ้าหนา่ ยจ่ายแจกและการบริโภคใช้สอยสิ่งต่าง ๆ ของชมุ ชน พอเพียง หมายถึง เท่าทตี่ ้องการ ควรแก่ความต้องการ เต็มความต้องการ ปรชั ญา หมายถึง วชิ าด้วยหลักแห่งความรู้ ความจริง เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง หลกั แห่งความรู้ ความจริง ของงานเกีย่ วกับการผลติ การจา้ หน่ายจ่ายแจกและการบริโภคใช้สอยสงิ่ ต่าง ๆ ของชุมชนเปน็ ไปตาม ต้องการ ดงั น้ัน การจัดการขยายอาชีพ เพ่ือความมั่นคงตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงอาจให้ ความหมายได้ว่า “ กรรมวิธีในการควบคุมการด้าเนินงานท้ามาหากินให้ขยายก้าวออกไปให้เกิด ความแน่นและทนทานไม่กลับเป็นอืน่ ตามหลกั ความรู้ ความจริงของงานเกี่ยวกับการผลิต การจา้ หน่าย จ่ายแจกและการบริโภคใช้สอยสิง่ ต่าง ๆ ของชุมชนเป็นไปตามต้องการ ”

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 4 แบบประเมนิ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับความหมายของการจัดการขยายอาชพี ตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. อ่านกรณตี ัวอยา่ งแล้วตอบคา้ ถามด้วยตนเอง “ ลุงอินปลกู ขา้ วโพดหวาน ขนาดร่องกวา้ ง 0.75 เมตร ยาว 40 เมตร สัปดาห์ละ 5 ร่องอย่าง ต่อเนื่องได้ผลผลิตสัปดาห์ละ 250 กิโลกรัม ขายให้กับลูกค้าประจ้า มีรายได้ 2,500 บาทค่อนข้าง แน่นอน แต่ปีนี้ลูกเข้าเรียนระดับอุดมศึกษา 2 คน จะต้องมีรายจ่ายเพ่ิมอีกเดือนละ 10,000 บาท ลงุ อินหาตลาดขา้ วโพดหวาน ได้ลูกคา้ เพ่มิ สามารถรับซือ้ ขา้ วโพดหวานตามปริมาณทีเ่ พ่มิ ข้นึ ได้ ตามต้องการ อยมู่ าไม่นานเพอ่ื นบ้านหลายครอบครัวเอาอย่างปลูกข้าวโพดหวานขาย ท้าให้ข้าวโพดมี ปริมาณมาก ราคาตก ลุงอิน เห็นวา่ เพอ่ื นบ้านต่างกย็ ากจน หากปล่อยให้สภาพเหตกุ ารณ์เป็นเช่นนกี้ จ็ ะพากันขาดทนุ เสียหาย ลุงอินประเมินปริมาณข้าวโพดหวานทีผ่ ลิตได้และมีคุณภาพปานกลางกับของลุงอิน ประมาณ สปั ดาห์ละ 3,000 กิโลกรัม จึงตัดสินใจไปพบพ่อคา้ ขายส่งรายใหมต่ ้องการข้าวโพดหวานปริมาณมาก หากลุงอินสามารถรวบรวมผลผลิต ควบคมุ คณุ ภาพให้ได้มาตรฐานทีต่ ้องการและจัดการส่งมอบให้ได้ จะรับซื้อกิโลกรัมละ 15 บาท ลุงอินจึงเจรจารับซื้อข้าวโพดหวานของเพ่ือนบ้านให้ราคากิโลกรัมละ 10 บาท หักคา่ ขนส่งกิโลกรัมละ 1 บาท ลงุ อินได้กา้ ไรกิโลกรมั ละ 4 บาท เดือนหนึ่งจะมีรายได้ 48,000 บาท พอเพยี งใช้จ่ายดา้ รงชีวิต ส่งลกู เรียนได้ ทีด่ ินที่เคยปลกู ขา้ วโพดและวา่ งเปลา่ จา้ นวน 20 ไร่ ลุงอิน ปลกู ไม้ปาุ ต้นยางนา ต้นสัก เป็นไม้โตไวไ้ ด้ 2,000 ต้น อีก 15 ปีข้างหน้าจะสามารถตดั โคน่ ขายได้ต้นละ 5,000 บาท คาดวา่ จะได้เงินประมาณ 10 ล้านบาท ” จากเรือ่ งราวของลงุ อนิ ทา่ นมีความเขา้ ใจอยา่ งไร 1. การดา้ เนินงานปลูกขา้ วโพดหวานขนาดร่องกวา้ ง 0.75 เมตร ยาว 40 เมตร สัปดาหล์ ะ 5 ร่อง เปรียบไดก้ บั ข้อใด ก. ความม่นั คง ข. การขยายอาชีพ ค. การจัดการ ง. ความพอเพยี ง 2. มีรายได้ สปั ดาหล์ ะ 2,500 แนน่ อน สอดคล้องกับขอ้ ใดมากทีส่ ดุ ก. ความม่ันคง ข. การขยายอาชีพ ค. การจัดการ ง. ความพอเพยี ง 3. ลุงอินหาตลาดขา้ วโพดหวานเพม่ิ ข้นึ เกีย่ วข้องกบั ข้อใด ก. ความม่ันคง ข. การขยายอาชีพ ค. การจัดการ ง. ความพอเพยี ง

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 5 4. เพอ่ื นบ้านเอาอยา่ งปลูกขา้ วโพดหวานกันมาก ราคาตก เกีย่ วข้องกบั ข้อใด ก. ความไม่มัน่ คง ข. การขยายอาชีพ ค. การจดั การ ง. ความพอเพยี ง 5. ลงุ อินไปพบพ่อคา้ ขายส่งรายใหญ่ เกีย่ วข้องกบั ข้อใด ก. ความมน่ั คง ข. การขยายอาชีพ ค. เศรษฐกิจ ง. ความพอเพยี ง 6. การรวบรวมผลผลิต การควบคมุ คณุ ภาพผลผลิต การจดั การรายได้กบั สมาชิกเพอ่ื นบ้าน ขอ้ ใดถกู ต้องมากที่สดุ ก. ความมั่นคง ข. การขยายอาชีพ ค. เศรษฐกิจ ง. ความพอเพยี ง 7. ลงุ อนิ ให้ราคาขา้ วโพดหวานของเพ่อื นบ้าน กิโลกรมั ละ 10 บาท ขอ้ ใดถกู ต้องมากที่สดุ ก. ความมั่นคง ข. การขยายอาชีพ ค. เศรษฐกิจ ง. ความพอเพยี ง 8. รายได้เดือนละ 48,000 บาทของลุงอิน สอดคล้องกบั ข้อใดมากทีส่ ดุ ก. ความม่ันคง ข. การขยายอาชีพ ค. เศรษฐกิจ ง. ความพอเพยี ง 9. รายไดจ้ ากการปลกู ไม้ปาุ 20 ไร่ เปน็ เงิน 10 ล้านบาท อีก 15 ปีข้างหน้าของลงุ อินตรงกับข้อใดมาก ทีส่ ดุ ก. ความมน่ั คง ข. การขยายอาชีพ ค. เศรษฐกิจ ง. ความพอเพยี ง ********************************

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 6 กิจกรรมที่ 1 ความสาคญั และความจาเป็นในการขยายอาชพี คาชี้แจง : ให้ครูและผู้เรียนร่วมกันน้าผลการวิเคราะห์ของกลุ่มมาเทียบเคียงกับสาระ ความหมาย ความส้าคญั และความจ้าเปน็ ในการขยายอาชีพ แล้วร่วมกันคดิ ให้ความหมายต่อค้าต่าง ๆ ที่ก้าหนดไว้ ในแบบบันทึกนี้ เพอ่ื สร้างความเขา้ ใจร่วมกนั ของชมุ ชนให้เปน็ ไปในทิศทางเดียวกนั 1) ขอบข่ายของการขายอาชีพ หมายความถึง ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 2) กิจกรรมอาชีพทีท่ า้ อยู่ หมายความถึง ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 3) การสร้างรายได้ หมายความถึง ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 4) การใช้ทนุ ใช้ทรพั ยากร หมายความถึง ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 5) ความเขม้ แขง็ และความยง่ั ยืน หมายความถึง ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 6) การหมนุ เวยี นเปลีย่ นรูป หมายความถึง ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 7 7) การสร้างและพัฒนาเครือขา่ ยจากอาชีพหลกั หมายความถึง ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 8) การขยายอาชีพจากการตลาด หมายความถึง ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 9) การขยายอาชีพจากการสง่ เสริมการท่องเทีย่ ว หมายความถึง ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 10) การขยายอาชีพจากการส่งเสริมสุขภาพ อนามัย หมายความถึง ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... 11) อืน่ ๆ ยังมอี ะไรบ้างทีค่ วรจะนิยามเอาไว้ ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 8 กิจกรรมที่ 2 1. ให้นกั ศกึ ษายกตัวอยา่ งการขยายอาชีพ โดยใช้อาชีพในชุมชนหรือในท้องถนิ่ ของนกั ศกึ ษาไปสู่ ตลาดโลกได้อยา่ งไร …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ให้นกั ศกึ ษาคน้ คว้าขอ้ มูลเกีย่ วกับการประกอบการทางด้านสนิ คา้ OTOP มา 1 ตวั อยา่ งจาก การศกึ ษาเอกสาร หนงั สือ หรือเว็บไซต์ ให้ทา่ นน้าภาพผลิตภัณฑ์ OTOP ที่ทา่ นศึกษามาตดิ ตรงนี้ …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 9 เรือ่ งที่ 2 : การขยายอาชีพในชุมชน ประเทศ และ ภูมิภาค 5 ทวปี ไดแ้ ก่ ทวปี เอเซีย ทวีปออสเตรเลยี ทวีปอเมริกา ทวีปยโุ รป และทวีปอฟั ริกา กล่มุ อาชีพใหม่ จากการเปลี่ยนแปลงในบริบทโลกทั้งในส่วนการรวมกลุ่มทางการเงิน การเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยอี ยา่ งรวดเรว็ การเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ของผู้บริโภค การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ และประการสา้ คัญคอื การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างประชากร ทางสงั คม ดังนั้น อาชีพในปัจจบุ ันจะต้องมีการพัฒนาวธิ ีการและศักยภาพในการแขง่ ขันได้ในระดับโลก ซึง่ จะต้องคา้ นึงถึงบริบทภมู ิภาคหลกั ของโลก หรือ “รู้ศกั ยภาพเขา” หมายถึงทวีปเอเซีย ทวีปอเมริกา ทวปี ยุโรป ทวปี ออสเตเลีย และทวปี แอฟริกา และจะต้อง “รู้ศักยภาพเรา” หมายถึงรู้ศกั ยภาพหลกั ของ พ้ืนที่ประเทศไทย คือศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพ้ืนที่ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตของแต่ละพ้ืนที่ และศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพ้ืนที่ ดังนั้นเพ่ือให้ การประกอบอาชีพสอดคล้องกับศักยภาพหลักของพ้ืนที่และสามารถแข่งขันในเวทีโลก จึงได้ก้าหนด กลุ่มอาชีพใหม่ 5 กลุ่มอาชีพ คอื กลุ่มอาชีพใหม่ด้านการเกษตร กลุ่มอาชีพใหม่ด้านพาณิชยกรรม กลุ่มอาชีพใหม่ด้านอุตสาหกรรม กลุ่มอาชีพใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์ และกลุ่มอาชีพใหม่ ด้านบริหารจดั การและบริการ 1. กลมุ่ อาชีพใหม่ดา้ นการเกษตร คอื การพฒั นาอาชีพในด้านการเกษตรเกีย่ วกับการปลกู พืช เลี้ยงสัตว์ การประมง โดยน้า องค์ความรู้ใหม่ เทคโนโลยี/นวัตกรรม มาพัฒนาให้สอดคล้องกับ ศักยภาพหลักของพ้ืนที่ คือศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละพ้ืนที่ ตามลักษณะภูมิอากาศ ศกั ยภาพของภูมิประเทศ และท้าเลที่ตั้งของแต่ละพนื้ ที่ ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และ วิถีของแต่ละพ้ืนที่และศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพ้ืนที่ อาชีพใหม่ด้านการเกษตร เช่น เกษตรอินทรีย์ เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ วนเกษตร ธรุ กิจการเกษตร เปน็ ต้น 2. กลุม่ อาชีพใหมด่ ้านพาณิชยกรรม คอื การพฒั นาหรือขยายขอบข่ายอาชีพ ด้านพาณิชยกรรม เช่น ผู้ให้บริการจา้ หน่ายสินค้าท้ังแบบค้าปลีก และค้าส่งให้แก่ผู้บริโภคทั้งมีหน้า ร้านเป็นสถานที่จัดจา้ หน่าย เช่น ห้างร้าน ห้างสรรพสินคา้ ซุปเปอร์สโตร์ ร้านสะดวกซื้อ และการ ขายท่ไี ม่มีหน้าร้าน เช่น การขายผ่านสื่ออิเล็คทรอนิกส์ 3. กล่มุ อาชีพใหมด่ ้านอุตสาหกรรม คอื การพัฒนาอาชีพทีอ่ าศยั องค์ความรู้ เทคโนโลยี/ นวตั กรรม อาชีพเกีย่ วกับงานช่าง ซึ่งได้แก่ช่างไฟฟูา ช่างไม้ ช่างยนต์ ช่างประปา ช่างปูน และช่าง เชื่อมให้สอดคล้องกบั ความต้องการของตลาดในประเทศ และต่างประเทศและศักยภาพหลักของพ้ืนที่ เช่น ผู้ผลิตชนิ้ ส่วนอิเลคทรอนิกสเ์ ครือ่ งใช้ไฟฟาู หรืออปุ กรณ์อเิ ลคทรอนิกส์โดยทัว่ ไป เช่น IC PCB ผู้ ประกอบรถยนต์ และยานยนต์ประเภทต่างๆ ผู้ผลิต ตัวแทนจ้าหน่าย หรือผู้ประกอบชิ้นส่วนหรือ

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 10 อะไหล่รถยนต์ ผู้ให้บริการซ่อมบา้ รุงรถยนต์ ผู้จดั จ้าหน่ายและศูนย์จ้าหน่ายรถยนต์ทั้งมือหนึ่งมือสอง ผู้ผลิตและจ้าหน่ายเครื่องจักรและเครื่องมือทุกชนิด เช่นเครื่องจักรกลหนัก เครื่องจักรกลเบา ผลิต อุปกรณ์หรือส่วนประกอบพ้นื ฐานของเครื่องใช้ไฟฟูาต่าง ๆ เช่นสายไฟ หลอดไฟ ฉนวนไฟฟูา มอเตอร์ ต่าง ๆ การผลิตอลูมิเนี่ยม ผลิตและตัวแทนจ้าหน่ายผลิตภัณฑ์เหล็ก สเตนเลส ผู้ผลิตจ้าหน่ายวัสดุ ก่อสร้าง วสั ดตุ กแต่ง สขุ ภัณฑ์ การก่อสร้าง อาคาร หรือทีอ่ ยอู่ าศัย 4. กล่มุ อาชีพใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์ ท่ามกลางกระแสการแข่งขันของโลกธุรกิจที่ ไร้พรมแดน และการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยีการสื่อสารและการคมนาคม การแลก เปลี่ยนสินค้าจากที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่ที่อยู่ห่างไกลนั้นเป็นเรื่องง่ายในปัจจุบันเมื่อข้อจ้ากัดของ การข้ามพรมแดนมิใช่อุปสรรคทางการค้าต่อไปจึงท้าให้ผู้บริโภคหรือผู้ซื้อมีสิทธิเลือกสินค้าใหม่ได้ อยา่ งเสรีทงั้ ในด้านคุณภาพและราคา ซึง่ การเรียนรู้และพัฒนาสินค้าและบริการต่าง ๆที่มีอยู่ในตลาด อยแู่ ล้วในยคุ โลกไร้พรมแดนกระท้าได้ง่าย ประเทศที่มีต้นทุนการผลิตต่้า เช่น ประเทศจีน อินเดีย เวยี ดนาม และประเทศในกลุ่มยโุ รปตะวันออก จะมีความได้เปรียบในการแข่งขันด้านราคา ด้วยเหตุนี้ ประเทศผู้นา้ ทางเศรษฐกิจหลายประเทศจึงหนั มาส่งเสรมิ การดา้ เนนิ นโยบายเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ เพอ่ื พัฒนาสินค้าและบริการใหม่ๆ และหลีกเลี่ยงการผลิตสินค้าที่ต้องต่อสู้ด้านราคา โดยหลักการของ เศรษฐกิจสร้างสรรคค์ อื แนวคิดหรือแนวปฏิบตั ิที่สร้าง/เพ่มิ มูลคา่ ของสินค้าและบริการได้โดยไม่ต้องใช้ ทรพั ยากรมากนกั แต่ใช้ความคดิ สติปัญญา และความสร้างสรรคใ์ ห้มากข้นึ ทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) ได้ก้าหนด ยทุ ธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเจริญเติบโตอยา่ งคุณภาพและย่ังยืน ให้ความส้าคัญกับ การปรบั โครงสร้างเศรษฐกิจบนฐานความรู้ ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละภมู ิปัญญา ภายใต้ปัจจยั สนับสนุน ที่เอือ้ อา้ นวยและระบบการแขง่ ขนั ทีเ่ ป็นธรรมเพอ่ื สร้างภูมิคุ้มกันให้กับประเทศ มุ่งปรบั โครงสร้าง และ การลงทุนให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดท้ังภายในและต่างประเทศ สร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับ สาขาบริการที่มีศักยภาพบนพ้ืนฐานของนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์ และเมืองสร้างสรรค์ เพ่ิมผลิตภาพของภาคเกษตรและสร้างมูลค่าเพ่ิมด้วยเทคโนโลยี และ กระบวนการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พัฒนาภาคอุตสาหกรรมสู่อุตสาหกรรมฐานความรู้เชิง สร้างสรรค์ และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน และระบบโลจิสติกส์ สร้าง ความมน่ั คงด้านพลังงาน ควบคไู่ ปกับการปฏิรปู กฎหมาย และกฎระเบียบต่าง ๆทางเศรษฐกิจ และ การบริหารจัดการเศรษฐกิจส่วนรวมอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้เป็นฐานเศรษฐกิจของประเทศที่ เขม้ แขง็ และขยายตวั อย่างมีคณุ ภาพ กลุ่มอาชีพใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์ จึงเป็นอาชีพที่อยู่บนพ้ืนฐานของการใช้องค์ความรู้ (Knowledge) การศึกษา(Education) การสร้างสรรค์งาน(Creativity) และการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) ที่เชื่อมโยงกับพ้ืนฐานทางวัฒนธรรม(culture) การส่ังสมความรู้ของสังคม (Wisdom) และเทคโลโลยี/นวตั กรรมสมยั ใหม่(Technology and Innovation)

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 11 (อาคม เติมพทิ ยาไพสิฐ,2553) ดงั น้ันกลุ่มอาชีพใหม่ด้านความคดิ สร้างสรรค์ จึงเป็นการต่อยอดหรือ การพฒั นาอาชีพในกลุ่มอาชีพเดิม คอื กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม กลุ่มอาชีพอุตสาหกรรม กลุ่มอาชีพ พาณิชยกรรม กลุ่มอาชีพคหกรรม กลุ่มอาชีพหตั ถกรรม และกลุ่มอาชีพศิลปกรรม กลุ่มอาชีพใหม่ด้านความคิดสร้างสรรค์ เช่น แฟช่ันเสื้อผ้า เครื่องประดับ เครื่องส้าอาง ทรงผม สปาสมุนไพร การออกแบบสื่อ/ภาพยนตร์/โทรทัศน์ เครื่องใช้ไฟฟูา เฟอร์นิเจอร์ วัสดุ ก่อสร้างแบบประหยดั พลังงาน เซรามิก ผ้าทอ จักสาน แกะสลกั รถยนต์พลังงานทางเลือก ขากล อัตโนมตั ิเพือ่ ผู้พิการ การท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม ตลาดน้าอโยธยา เปน็ ต้น 5. กลุ่มอาชีพใหม่ด้านบริหารจัดการและบริการ เช่น ธุรกิจบริการท่องเที่ยว ธุรกิจ บริการสุขภาพ ธุรกิจบริการโลจิสติกส์ ธุรกิจภาพยนต์ ธรุ กิจการจัดประชุม และแสดงนิทรรศการ บริการที่ปรึกษาด้านอสงั หาริมทรัพย์ ทีป่ รึกษาทางธุรกิจ งานอาชีพใหม่ท้ัง 5 กลุ่ม ในอนาคตจะมีการเติบโตทางธุรกิจมากข้ึน จึงมีความต้องการ เจ้าหน้าที่ บคุ คล พนักงาน เพ่ือควบคุม และปฏิบัติงานที่มีความรู้ ความสามารถ และทักษะฝีมือ เปน็ จา้ นวนมาก การขยายขอบขา่ ยอาชีพระดับประเทศ ธุรกิจที่มีการขยายขอบข่ายอาชีพในระดับประเทศ มักจะเป็นธุรกิจที่สร้างประสิทธิภาพ ในระบบการจัดการใช้ทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ ก้าลังคนท้ังระดบั บริหารจัดการ และแรงงาน การจัดการเงินทุน การจัดการวัสดุน้าเข้า การผลิต และกระบวนการผลิตให้ได้ผลผลิตสูงสุด และมีของเสียหายน้อยที่สุดเป็นเรื่องส้าคัญในงานอาชีพ ด้านเกษตรกรรม งานอาชีพด้านอตุ สาหกรรม งานอาชีพด้านพาณิชยกรรม งานอาชีพด้านความคิด สร้างสรรค์ และงานอาชีพด้านอา้ นวยการ และอาชีพเฉพาะทาง ดังนั้นการจัดตง้ั ธุรกิจรองลงมา ที่มี ความสัมพนั ธ์สอดคล้อง กับการลดปริมาณการเสียหายให้น้อยที่สุด จนเหลือศูนย์รองรับธุรกิจหลัก จึงเกิดการขยายขอบข่ายอาชีพข้นึ ตัวอยา่ งท่ี 1 การขยายขอบขา่ ยจากอาชีพผลิตกระเป๋าถือสุภาพสตรี การขยายอาชีพระดบั โลก

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 12 การขยายอาชีพระดับโลก หากเราจะมองไปทีป่ ระเทศมหาอ้านาจทางเศรษฐกิจ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา องั กฤษ ฝร่ังเศส เยอรมัน ญี่ปุน ซึ่งเป็นนักคิด นักพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น อุตสาหกรรมรถยนต์ อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกส์ และอื่นๆ ล้วนแต่ท้าลายสิ่งแวดล้อมประเทศ มหาอ้านาจเหล่านี้ จึงขยายขอบข่ายการผลิตออกไปยังประเทศที่ค่าจ้างแรงงานต่้า และหันกลับมา อนุรกั ษ์ศิลปวฒั นธรรม สิ่งแวดล้อม สร้างความสวยงามให้กบั บ้านเมือง และชนบท สร้างเศรษฐกิจ จากการท่องเทีย่ ว หันมาพัฒนาการผลิตอาหาร พืช ผัก ผลไม้ เนือ้ สตั ว์ ในระบบเกษตรอินทรีย์ท่มี ี ความปลอดภัยและคุณภาพสูง เพ่ือสร้างพ้ืนฐานสุขภาพชีวิตประชาชนของเขาให้อยู่ดีมีสุข สู่การมี ปญั ญาอนั ล้าเลิศ ตวั อยา่ งท่ี 1 การขยายขอบขา่ ยอาชีพจากเกษตรอินทรีย์ จากตัวอยา่ งเราจะเหน็ วา่ อาชีพปลูกพชื อินทรีย์เปน็ อาชีพหลกั ทสี่ ามารถขยายขอบข่ายออกไป เป็นอาชีพปศสุ ัตว์ และประมง อาชีพแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตร อาชีพท่องเที่ยวเชิงอนรุ กั ษ์ และ อาชีพจัดการเรยี นรู้เกี่ยวข้องกับเกษตรอินทรีย์

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 13 เรื่องที่ 3 : ความจาเป็นในการมองเหน็ ช่องทางการประกอบอาชพี การมองเหน็ ช่องทางการประกอบอาชีพ โอกาส และความสามารถที่จะน้ามาประกอบอาชีพได้ก่อนผู้อื่น เป็นหัวใจส้าคัญของการ ประกอบอาชีพ หากผู้ประกอบอาชีพตามทีต่ ลาดต้องการ และเป็นอาชีพที่เหมาะสมกับสถานการณ์ ในขณะน้ัน ย่อมท้าให้มีโอกาสประสบความส้าเร็จ สามารถพัฒนาตนเองให้มองเห็นโอกาสในการ ประกอบอาชีพได้ คอื 1. ความชานาญจากงานที่ทาในปัจจุบัน จะเป็นแหล่งความรู้ ความคิด ที่จะช่วยให้ มองเห็นโอกาสในการประกอบอาชีพได้มาก เช่น บางคนมีความช้านาญทางด้านการท้าอาหาร ตัด เย็บเสือ้ ผ้า ซ่อมเครื่องใช้ไฟฟาู ต่อท่อน้าประปา ช่างไม้ ช่างปกู ระเบื้อง ช่างทาสี ฯลฯ ซึ่งสามารถ น้ า ความชา้ นาญดังกล่าวมาพฒั นาและประกอบอาชีพข้นึ มาได้ บางคนเคยท้างานที่โรงงานตัดเย็บเสื้อผ้า เมื่อกลับมาภูมิล้าเนาเดิมของตนเอง ก็น้าความรู้ความสามารถ และความช้านาญมาใช้เป็น ช่องทางการประกอบอาชีพของตนเองได้ 2. ความชอบความสนใจส่วนตัว เป็นอีกทางหนึ่งที่ช่วยให้มองเห็นช่องทางโอกาส ในการ ประกอบอาชีพ บางคนชอบประดิษฐ์ดอกไม้ บางคนชอบวาดรูป ท้าให้บุคคลเหล่านี้ พัฒนางานที่ ชอบ ซึ่งเป็นงานอดิเรกได้กลายเปน็ อาชีพหลัก ทา้ รายได้เป็นอยา่ งดี 3. การฟังความคิดเห็นจากแหล่งต่างๆ พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบุคคล เป็น แหล่งความรู้ และก่อให้เกิดความคดิ ริเริม่ เปน็ อยา่ งดี ในบางครั้งเรามีความคิดแล้ว และได้พูดคุยกับ บคุ คลต่างๆ จะช่วยให้การวเิ คราะห์ความคดิ ชัดเจนข้นึ ช่วยให้มองไปขา้ งหน้าได้อย่างรอบคอบก่อนที่ จะลงมือทา้ งานจริง 4. การศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ การดูวีดีทัศน์ ฟังวิทยุ ดู รายการโทรทัศน์ จะช่วยให้เกิดความรู้และความคดิ ใหม่ ๆ 5. ข้อมูล สถิติ รายงาน ข่าวสารจากหน่วยราชการ และเอกชน รวมทั้งแผนพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศในการมองหาช่องทางในการประกอบอาชีพ ผู้ที่จะมองหาอาชีพ พัฒนาอาชีพ ควรให้ความสนใจข้อมูลต่างๆ ในการติดตามเหตุการณ์ให้ทัน แล้วน้ามาพิจารณา ประกอบการ ตดั สินใจประกอบอาชีพ

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 14 เรือ่ งที่ 4 : ความเปน็ ไปได้ของการขยายอาชพี การประเมนิ ความเปน็ ไปไดใ้ นการนากรอบแนวคิดไปใช้ในการขยายอาชีพได้จริง จากแผนภูมิดังกล่าวแสดงให้เหน็ กรอบแนวคิดในการประเมินความเป็นไปได้ มีองค์ประกอบ ร่วมกนั 6 องคป์ ระกอบ ในแต่ละองคป์ ระกอบมีตัวแปร ดงั นี้ 1. รปู แบบการขยายอาชีพ มีตวั แปรร่วม ดงั นี้ 1.1 ผลผลิต 1.2 กระบวนการผลิต 1.3 ปัจจยั น้าเข้าการผลิต 2. ความยากง่ายของการด้าเนนิ การจัดการ มีตวั แปรรว่ ม ดงั นี้ 2.1 การบริหารจดั การ แรงงาน เงินทุน 2.2 แผนธุรกิจ 3. การรบั ได้ของลกู คา้ มีตวั แปรร่วม ดงั นี้ 3.1 ผลผลิตอยใู่ นความนยิ ม 3.2 เป็นสิ่งจ้าเปน็ ต่อชีวิต 3.3 ราคา 4. การรบั ได้ของสงั คมชุมชน มีตวั แปรร่วม ดังนี้ 4.1 สภาพแวดล้อม 4.2 วัฒนธรรมประเพณี 5. ความเหมาะสมของเทคนิควิทยาการทใี่ ช้ในการขยายอาชีพ 5.1 เทคนิควิทยาการเพอ่ื การลดต้นทุน 5.2 เทคนิควิทยาการเพ่อื การลดของเสีย

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 15 วิธีการวิเคราะห์ การวเิ คราะห์เพอ่ื การตดั สนิ ใจมีความจา้ เป็นที่เจ้าของธรุ กิจจะต้องประเมินตดั สินใจด้วยตนเอง สา้ หรับกรณีทีธ่ รุ กิจมีหนุ้ ส่วนหรือผู้เกี่ยวข้อง ควรจะใช้วธิ ีสนทนาเจาะลึกและวธิ ีความสัมพนั ธร์ ่วมกนั โดยมีวิธกี ารวเิ คราะห์ความสมั พนั ธร์ ะหว่างองคป์ ระกอบด้วยตนเอง ด้วยรายละเอียดและความเปน็ ไป ได้ ความเปน็ พวกเดียวกัน โดยทบทวนหลาย ๆ คร้ังจนมั่นใจแล้วจึงตัดสินใจ เรื่องที่ 5 : การกาหนดวิธีการข้ันตอนการขยายอาชพี และเหตุผลของ การขยายอาชพี เป็นข้ันตอนการปฏิบัติการในอาชีพที่จะต้องใช้องค์ความรู้ที่ยกระดับคุณค่า เพ่ือมาใช้ ปฏิบัติการจึงเป็นกระบวนการของการท้างานที่เริ่มจากการน้าองค์ความรู้ที่จัดท้าในรูปของ คู่มือ คุณภาพหรือเอกสารคมู่ ือด้าเนินงานมาศึกษาวเิ คราะห์จัดระบบปฏิบัติการจัดปัจจยั น้าเข้า ด้าเนินการ ท้างานตามขนั้ ตอน และการควบคุมผลผลิตให้มีคุณภาพเปน็ ไปตามขอ้ กา้ หนดด้าเนินการตรวจสอบหา ข้อบกพร่องในการท้างาน และปฏิบัติแก้ไขข้อบกพร่องเป็นวงจรอย่างต่อเนื่อง และมีการปรับปรุง พัฒนาเอกสารคู่มือด้าเนินงานไปเป็นระยะๆ ก็จะท้าให้การปฏิบัติการในกิจกรรมอาชีพประสบ ความสา้ เร็จสู่ความเขม้ แขง็ ม่นั คง ยงั่ ยืน ตามกรอบความคดิ นี้ 1. การปฏิบตั ิการใชค้ วามรู้ โดยใช้วงจรเด็มมิง่ เปน็ กรอบการท้างาน - P - Plan ด้วยการท้าเอกสารคู่มือด้าเนินงาน (ซึ่งได้มาจากกิจกรรมยกระดับความรู้) มา ศึกษาวเิ คราะห์จดั ระบบปฏิบตั ิการที่ประกอบด้วยกิจกรรมขนั้ ตอน และผู้รับผิดชอบก้าหนดระยะเวลา การทา้ งาน กา้ หนดปัจจัยนา้ เข้าดา้ เนินงานให้สามารถท้างานได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ - D - Do การปฏิบัติการท้างานตามระบบงานที่จัดไว้อย่างเคร่งครัด ควบคุมการผลิตให้ เสียหายน้อยทส่ี ุด ได้ผลผลิตออกมามีคุณภาพเปน็ ไปตามขอ้ ก้าหนด - C - Check การตรวจสอบหาข้อบกพร่องในการท้างานโดย ผู้ปฏิบัติการหาเหตุผลของ การเกิดข้อบกพร่องและจดบนั ทึก

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 16 - A-Action การน้าข้อบกพร่องที่ตรวจพบของคณะผู้ปฏิบัติ การมาร่วมกันเรียนรู้หาแนว ทางแก้ไขขอ้ บกพร่อง จนสรุปได้ผลแล้วนา้ ขอ้ มลู ไปปรบั ปรุงเอกสารคู่มือด้าเนินงานเป็นระยะๆ ก็จะ ทา้ ให้องค์ความรู้สูงส่งข้ึนโดยล้าดับ แล้วส่งผลต่อประสิทธิภาพของธุรกิจ ประสบผลส้าเร็จน้าไปสู่ ความเขม้ แข็งยัง่ ยืน 2. ทุนทางปญั ญา ผลจากการน้าองคค์ วามรู้ไปใช้ มีการตรวจสอบหาขอ้ บกพร่อง และปฏิบัติการ แก้ไขขอ้ บกพร่องเป็นระยะๆ อย่างต่อเนื่องที่ผลท้าให้องค์ความรู้สูงข้ึนเป็น ล้าดับ จนกลายเป็นทุน ทางปญั ญาของตนเอง หรือของชมุ ชนที่จะเกิดผลต่อธุรกิจ ดงั นี้ - องคค์ วามรู้สามารถใช้สร้างผลผลิตที่คนอ่นื ไม่สามารถเทียบเคยี งได้ และไม่สามารถท้าตาม ได้ จึงได้เปรียบทางการแขง่ ขัน - การเปลีย่ นแปลงยกระดับคุณภาพผลผลิตอยา่ งต่อเนือ่ ง ทา้ ให้ลกู คา้ เชื่อมั่น ภักดีต่อการท้า ธรุ กิจร่วมกัน - เปน็ การสร้างทุนทางมนุษย์ผู้ร่วมงานได้เรียนรู้บริหารระบบธุรกิจด้วยตนเอง สามารถเกิด ภมู ิปัญญาในตวั บคุ คล ทา้ ให้ชมุ ชนพร้อมรกุ คบื ขอบข่ายอาชีพออกสู่ความเป็นสากล 3. ธุรกิจสู่ความเขม้ แขง็ ย่งั ยนื การจดั การความรู้ทา้ ให้องคค์ วามรู้สงู ส่งข้นึ โดยล้าดบั การขยาย ของอาชีพจึงเปน็ การทา้ งานทีม่ ีภมู ิคุ้มกนั โอกาสของความเสี่ยงในด้านต่างๆ ต้่าลง ดังนั้นความน่าจะ เปน็ ในการขยายอาชีพจึงประสบความส้าเร็จค่อนข้างสูง เพราะมีการจัดการความรู้ ยกระดับความรู้ น้าไปใช้และปรับปรุงแก้ไขเปน็ ระยะๆ อยา่ งต่อเนือ่ ง จึงส่งผลท้าให้ธรุ กิจเขม้ แขง็ ยัง่ ยืนได้ เพราะรู้จัก และเขา้ ใจตนเองตลอดเวลา การจดั ทาแผนปฏิบัตกิ าร (P) การจดั ท้าแผนปฏิบตั กิ ารทางอาชีพ เป็นการดา้ เนินการที่มีองคป์ ระกอบร่วม ดังนี้ 1. เหตุการณ์หรือขน้ั ตอนการทา้ งาน ซึ่งจะบอกวา่ เหตกุ ารณ์ใดควรทา้ พร้อมกัน หรือควรท้า ทีหลงั เป็นการลา้ ดับขั้นตอนในแต่ละกจิ กรรมให้เป็นแผนการทา้ งาน 2. ระยะเวลาที่ก้าหนดวา่ ในแตล่ ะเหตกุ ารณ์ จะใช้เวลาได้ไม่เกนิ เท่าไร เพอ่ื ออกแบบการใช้ ปจั จัยด้าเนินงานให้สัมพนั ธ์กนั 3. ปจั จยั น้าเข้าและแรงงานเปน็ การระบุปจั จยั น้าเขา้ และแรงงานในแตล่ ะเหตกุ ารณ์ว่าควรใช้ เท่าไร การจัดท้าแผนปฏิบัติการทางอาชีพ มักจะนิยมใช้ผังการไหลของงานมาใช้ออกแบบการท้างาน ให้มองเห็นความสัมพันธ์ร่วมระหว่างเหตุการณ์ ระยะเวลา ปัจจัยน้าเข้าและแรงงานจะช่วยให้ ผู้ปฏิบตั ิงานและผู้จดั การได้ขบั เคลือ่ นการทา้ งานสู่ความส้าเร็จได้ ดังนั้น ในการออกแบบแผนปฏิบัติ

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 17 งาน จ้าเป็นต้องใช้องค์ความรู้ที่สรุปได้ในรูปของเอกสารข้ันตอนการท้างานมาคิดวิเคราะห์ และ สร้างสรรคใ์ ห้เกิดแผนปฏิบตั ิการ ตวั อย่าง วธิ ีดา้ เนินการจัดท้าแผนปฏิบตั ิการพัฒนาคณุ ภาพดินไรท่ นเหนื่อย 1. ศึกษาวิเคราะหอ์ งค์ความรู้เก่ยี วกับขน้ั ตอนการพฒั นาคณุ ภาพดิน มีกิจกรรมที่จะตอ้ งทา 5 กจิ กรรม ประกอบดว้ ย 1. การตรวจสอบวเิ คราะห์คณุ ภาพดนิ ผลการวเิ คราะห์พบว่ามีเหตุทีจ่ ะต้องท้า และเกี่ยวข้องดงั นี้ - เก็บตวั อยา่ งเดิม - ส่งตวั อยา่ งดินให้กองเกษตรเคมี กรมวชิ าการเกษตรวเิ คราะห์ - รอผลการวเิ คราะห์ - ศึกษาผลวเิ คราะห์วางแผนตดั สนิ ใจกา้ หนดพชื ที่ต้องผลิต 2. การไถพรวนหน้าดิน ผลการวเิ คราะห์พบว่ามีเหตกุ ารณ์ที่จะต้องท้าและเกีย่ วข้อง ดังนี้ - ไถบกุ เบิกด้วยผ่าน 3 ระยะ - ไถแปรด้วยผ่าน 7 ระยะ - ไถพรวนให้ดนิ ละเอียดด้วยโรตารี่ 3. การเพ่มิ อินทรียวัตถุใหก้ บั ดนิ ผลการวเิ คราะห์พบวา่ มีเหตุการณ์ที่จะต้องทา้ และ เกี่ยวข้อง ดังนี้ - การหว่านปุ๋ยหมัก - หว่านเมลด็ ปยุ๋ พืชสด - บ้ารุงรกั ษาปุ๋ยพชื สดและวชั พชื ให้งอกงาม - ไถพรวนสับปุ๋ยพชื สดให้ขาดคลกุ ลงดิน 4. การหมกั สงั เคราะหด์ ิน ผลการวเิ คราะห์พบว่ามีเหตกุ ารณ์ทจี่ ะต้องทา้ และเกี่ยวข้องดงั นี้ - ให้จุลนิ ทรีย์ เร่งการยอ่ ยสลาย - ตรวจสอบการยอ่ ยสลาย 5. การสร้างประสิทธภิ าพดิน ผลการวเิ คราะห์พบว่ามีเหตุการณ์ที่จะต้องท้า และเกี่ยวข้อง ดงั นี้ - ใส่จุลนิ ทรียไ์ มโครโลซ่า เพ่อื ยอ่ ยหินฟอสเฟต สร้างฟอสฟอรสั ให้กบั ดิน - จดั ร่องคลมุ หน้าดินด้วยฟางขา้ งเพอ่ื ปูองกันความร้อน รกั ษาความชืน้ และ การเคลือ่ นยา้ ยธาตุอาหารในดิน

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 18 2. วิเคราะหป์ รมิ าณงาน ลักษณะงาน กาหนดการใชเ้ คร่อื งจักรกล ปัจจยั การทางานและ แรงงาน 3. วิเคราะห์งานกาหนดระยะเวลาของความสาเรจ็ ของแตล่ ะเหตุการณ์ และสรปุ ระยะเวลา ทง้ั หมดของกระบวนการ การทางานตามแบบแผนปฏิบตั ิการ (D) การท้างานตามแผนปฏิบัตกิ ารของผู้รบั ผดิ ชอบ ยังใช้วงจรเดม็ มิ่ง เช่นเดียวกนั โดย เริ่มจาก P : ศึกษาเอกสารแผนปฏิบตั ิการให้เข้าใจอยา่ งรอบคอบ D : ท้าตามเอกสารขนั้ ตอนให้เปน็ ไปตามขอ้ กา้ หนดทกุ ประการ C : ขณะปฏิบัตกิ ารต้องมกี ารตรวจสอบทกุ ขน้ั ตอนให้เปน็ ไปตามขอ้ กา้ หนด A : ถ้ามีการทา้ ผิดข้อกา้ หนด ต้องปฏิบัติการแกไ้ ขให้เป็นไปตามขอ้ ก้าหนด การตรวจสอบหาข้อบกพร่อง (C) เป็นขน้ั ตอนที่สา้ คญั ของการปฏิบตั ิการใช้ความรู้ สร้างความเขม้ แขง็ ยัง่ ยืน โดยมี รปู แบบการตรวจ ติดตามขอ้ บกพร่องดงั นี้

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 19 กิจกรรมที่ 3 คาช้แี จง : ให้ผู้เรียนจดั ทา้ แผนปฏิบตั ิการอาชีพของตนเองโดยใช้วงจรเด็มมงิ่ (สมมุติอาชีพได้) 1. การจดั แผนปฏิบตั ิการ (P) ........................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. การท้างานตามแผนปฏิบตั กิ าร (D) ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. การตรวจสอบหาข้อบกพร่อง (C) ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 4. การปฏิบตั กิ ารแก้ไขและพัฒนา (A) ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 20 กิจกรรมที่ 4 คาช้แี จง : การให้ผู้เรียนจดั ทา้ แนวคิดการประเมินความเป็นไปได้ด้วยตนเองนี้ มีจุดประสงค์ เพ่ือฝึก ทักษะการประยุกต์ใช้ทฤษฎีความรู้ต่าง ๆ มาบูรณาการกับประสบการณ์ของตนเอง ให้เป็นกรอบ แนวคิดของตนเอง และเขา้ ใจภารกิจการประเมินความเป็นไปได้อยา่ งแจ่มแจ้ง 1. กรอบแนวคดิ การประเมินความเปน็ ไปได้ของตนเอง ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. รายละเอียดในแต่ละองคป์ ระกอบของกรอบแนวคดิ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 3. เปูาหมายการประเมิน (มีอะไรบ้าง) ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 4. วธิ ีการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 5. วธิ ีการประเมิน ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 21 เรื่องที่ 6 การตดั สินใจขยายอาชพี ด้วยการวิเคราะห์ศกั ยภาพ จากการทีผ่ ู้เรียนได้ศึกษา เรื่องที่ 1 ภารกิจเพ่อื ความมัน่ คงในการท้าธุรกิจ ประกอบด้วยเรื่อง ย่อย ๆ คือ บทบาทหน้าที่ของตนเองที่มีต่อธุรกิจ การบริหารทรัพยากรด้าเนินธุรกิจ การบริหาร การผลิต การจดั การส่งมอบ และการวจิ ัยพฒั นา ซึ่งเน้นเฉพาะการบริหารจัดการของตัวผู้ประกอบการ เอง และเรื่องที่ 2 การวัดและประเมินผลความม่ันคงในอาชีพ ซึ่งต้องเรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบ การวัดและประเมินผลความม่ันคงในอาชีพ วิธีการวัดผลและประเมินผลความมั่นคงในอาชีพ และ การแปรผลการประเมินตนเองเป็นการหาข้อสรุปว่าจะด้าเนินการขยายอาชีพหรือไม่ อย่างไร เพ่อื เปน็ การสร้างความม่งั คงยิง่ ข้ึน ผู้ประกอบการ ควรพจิ ารณาวเิ คราะห์ศักยภาพในการขยายอาชีพ 5 ด้านด้วย ดังนี้ 1. ศักยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติในแต่ละพืน้ ที่ 2. ศกั ยภาพของพ้ืนทีต่ ามลกั ษณะภูมิอากาศ 3. ศกั ยภาพของภมู ิประเทศและท้าเลทตี่ ้ังของแตล่ ะพ้ืนที่ 4. ศกั ยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวถิ ีชีวิตของแต่ละพนื้ ที่ 5. ศกั ยภาพของทรัพยากรมนษุ ยใ์ นแต่ละพนื้ ที่ 1. ศักยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติในแต่ละพื้นท่ี ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิง่ ที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ซึ่งมนุษย์สามารถน้าไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อชีวิตประจ้าวัน และการประกอบอาชีพ ทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ ปุาไม้ แม่น้า ล้าคลอง อากาศ แร่ธาตุต่าง ๆ ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดใช้แล้วหมดไป เช่น แร่ธาตุต่าง ๆ บางชนิดมนุษย์ สามารถสร้างทดแทนข้นึ ใหม่ได้ เช่น ปุาไม้ เมือ่ มนษุ ย์ตัดไปใช้ประโยชน์แล้วก็สามารถปลูกทดแทนข้ึน ใหม่ได้ ดังนั้น การขยายอาชีพต้องพจิ ารณาว่าทรัพยากรที่จะต้องน้ามาใช้ในการขยายอาชีพในพ้ืนที่มี หรือไม่ มีเพียงพอหรือไม่ ถ้าไม่มีผู้ประกอบการต้องพิจารณาใหม่ว่าจะขยายอาชีพที่ตัดสินใจเลือกไว้ หรือไม่ หรือพอจะจดั หาได้ในพ้นื ทีใ่ กล้เคียง ซึ่งผู้ประกอบการต้องเสียค่าขนส่งจะคุ้มค่ากับการลงทุน หรือไม่ เช่น ตดั สินใจจะขยายอาชีพจากเดิมเลี้ยงสุกร 100 ตัว ต้องการเลี้ยงเพ่ิมเป็น 200 ตัว ซึ่งเพ่ิม อีกเท่าตัว จะต้องพิจารณาว่า อาหารสุกรหาได้ในพ้ืนที่หรือไม่ เช่นร้าข้าวในพ้ืนที่มีพอเพียงที่จะเลี้ยง สุกรทีเ่ พิ่มข้นึ หรือไม่ 2. ศักยภาพของพื้นท่ตี ามลกั ษณะภูมิอากาศ ในแต่ละพ้ืนที่จะมีลักษณะภูมิอากาศแตกต่างกัน เช่น ประเทศไทยภาคกลางมีอากาศร้อน ภาคใต้มีฝนตกเป็นเวลานาน ภาคเหนือมีอากาศเย็น โดยเฉพาะอาชีพเกษตรกรรมข้ึนอยู่กับสภาพ ภูมิอากาศเป็นส่วนใหญ่ เช่น ในพ้นื ทีม่ ีการปลกู ลนิ้ จี่ ล้าไย อยแู่ ล้วและมีผลผลิตออกมากในฤดูกาล ท้า

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 22 ให้ราคาตกต้่าต้องการถนอมให้เปน็ ล้าไยตากแห้ง เพอ่ื ให้ได้ราคาดี ดังนั้น ต้องพิจารณาว่าในช่วงนั้นมี แสงแดดพอเพยี งที่จะตากลา้ ไยได้หรือไม่ 3. ศักยภาพของภูมิประเทศและทาเลทต่ี ้ังของแตล่ ะพืน้ ท่ี สภาพภมู ิประเทศและท้าเลทีต่ ้ัง ของแต่ละพื้นที่จะแตกต่างกัน เช่น เป็นภูเขา เป็นที่ราบสูง ที่ ราบลุ่ม แต่ละพืน้ ที่มีผลต่อการขยายอาชีพ เช่น การจดั หาแหล่งท่องเที่ยวเพ่ิมข้ึนในพ้ืนที่ต้องพิจารณา วา่ แหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ในภมู ิประเทศน้ันๆ สามารถดึงดูดนกั ท่องเที่ยวได้หรือไม่ หรือต้องการขยาย สาขาร้านกาแฟสดไปอกี สถานที่หนึ่งกต็ ้องพจิ ารณาทา้ เล ที่ตั้งแห่งใหม่ว่าจะขายกาแฟได้หรือไม่ 4. ศกั ยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถชี ีวิตของแตล่ ะพื้นท่ี แต่ละพ้ืนที่ท้ังในประเทศไทยและต่างประเทศมีศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตที่ แตกต่างกัน ดังนั้นแต่ละพนื้ ทีส่ ามารถน้าเอาสิ่งเหล่านมี้ าใช้เป็นอาชีพได้ เช่น เป็นสถานที่ท่องเที่ยวเข้า ชมศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณีพืน้ บ้าน หรือพาชมวิถีชีวิต อาจจะขยายอาชีพโดยเพ่ิมจ้านวนรอบที่เข้า ชมให้พอเพยี งกบั ตลาดเปูาหมาย 5. ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแตล่ ะพนื้ ท่ี ทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นแต่ละพนื้ ที่ หมายถึง ความรู้ ความสามารถของมนุษยท์ ี่เป็นภมู ิปัญญาท้ัง ในอดีตจนถึงปจั จบุ นั ด้านการประกอบอาชีพต่างๆ ในพ้ืนที่นั้นๆ เมื่ออาชีพน้ันมีความม่ันคงในพ้ืนที่ น้ันๆ แล้วอาจจะขยายไปพ้นื ที่อืน่ ๆ การกระจายความสามารถของทรัพยากรมนุษย์ ก็สามารถท้าได้ โดยการอบรมผู้สนใจในความรู้น้ันๆ ให้สามารถน้าไปขยายยงั พ้ืนที่อื่นๆได้ ผู้ประกอบการที่มีอาชีพมั่นคงโดยผ่านการพัฒนาจนกระทั่งเป็นที่รู้จักกันแพร่หลายก็สามารถ ขยายธุรกิจให้กว้างขวาง โดยการเพ่ิมปริมาณ หรือขยายสาขาให้มากข้ึนได้ โดยน้าศักยภาพทั้ง 5 ด้านมาช่วยประกอบการพจิ าณาด้วย

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 23 กิจกรรมที่ 5 จากการที่ผู้เรียนศึกษาศักยภาพ 5 ด้าน เพ่ือขยายอาชีพมาแล้ว ให้วิเคราะห์ศักยภาพ 5 ด้านในอาชีพทีต่ ัดสินใจขยายอาชีพที่สนใจวา่ จะขยายอาชีพได้อยา่ งไร เพอ่ื ให้อาชีพนั้นมคี วามเป็นไปได้ ลงในแบบบันทึก แบบบันทกึ ต้องการขยายอาชีพ……………………………………........................................................………………. ที่ ศกั ยภาพ 5 ด้าน ทีต่ ้องการ/สอดคล้องกับ ปริมาณ ไมม่ ี หมายเหตุ อาชีพ พอ ไมพ่ อ 1 ทรัพยากรธรรมชาติ 2 ภมู ิอากาศ ภมู ิประเทศและทา้ เล 3 ที่ตั้ง ศิลปะ วฒั นธรรม 4 ประเพณี และวถิ ีชีวิต 5 ทรพั ยากรมนุษย์

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 24 สรปุ ผลการตัดสนิ ใจ ให้เลือกอยา่ งใดอยา่ งหนึง่ ดงั นี้ 1. ตดั สินใจเลือกขยายอาชีพ และให้อธบิ ายเหตผุ ลความเปน็ ไปไดท้ ีจ่ ะขยายอาชีพ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... 2. ตัดสินใจไม่ขยายอาชีพ เนือ่ งจาก ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... เรือ่ งที่ 7 ทกั ษะการใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยีเพือ่ การขยายอาชพี ลักษณะบง่ ช้คี วามสาเร็จของการเรียนรู้ 1. ประเมินประสทิ ธิภาพตัดสินใจยอมรับหรือปฏิเสธนวตั กรรมหรือเทคโนโลยไี ด้ 2. มีความรู้ ความเขา้ ใจและจ้าแนกบทบาทหน้าที่ของนวตั กรรมหรือเทคโนโลยไี ด้ 3. ปฏิบัติการใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยไี ด้อยา่ งคล่องแคล่ว แผนปฏบิ ัติการเรียนรู้ ลกั ษณะบง่ ชีค้ วามสาเร็จ กิจกรรม การวดั ผล ประเมินผล สื่อการเรียนรู้ ของการเรียนรู้ เรียนดว้ ยตนเอง 1. ความสามารถตอบสนอง เอกสารหมายเลข 4 1. ประเมินประสิทธิภาพ 1. ผู้เรียนท้าความเข้าใจเกี่ยวกบั วตั ถุประสงค์ เรื่อง การประเมิน ตัดสินใจ ยอมรบั หรือ ประสิทธิภาพนวัตกรรม ปฏิเสธนวัตกรรมหรือ การประเมินประสิทธิภาพ 2. ประหยัดค่าใช้จ่าย เทคโนโลยี เทคโนโลยีได้ นวัตกรรมหรือเทคโนโลยีจาก 3. ท้าให้งานดา้ เนินไปอย่าง เอกสารใบความรู้ 2. ปฏิบัติการประเมินนวัตกรรม รวดเรว็

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 25 2. มีความเข้าใจ สามารถ เทคโนโลยีท่ภี าครฐั และ 1. บอกบทบาท เอกสารหมายเลข 5 จา้ แนกบทบาท หน้าที่ของ เอกชนเสนอให้ใช้ 2. บอกหน้าที่ เรือ่ ง การวิเคราะห์เพื่อ นวตั กรรมหรือเทคโนโลยีได้ จา้ แนก เรียนด้วยตนเอง บทบาทหน้าทีข่ อง 1. ผู้เรียนนา้ นวตั กรรมหรือ นวตั กรรมเทคโนโลยี เทคโนโลยีทต่ี ดั สินใจใช้มาวิเคราะห์ ศึกษา บทบาท หน้าที่ เพื่อทราบ - รายละเอียดและประยุกต์ใช้ให้ ถูกต้องได้ด้วยการศึกษาตวั อย่าง การวิเคราะห์จากเอกสารใบความรู้ 3. ปฏิบัติการใช้นวัตกรรม เรียนด้วยตนเอง 1. ใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และเทคโนโลยีได้อย่าง คล่องแคล่ว ให้ผู้เรียนศึกษาข้ันตอนการทา้ งาน อย่างคล่องแคล่ว ของนวัตกรรม เทคโนโลยี แล้ว ทา้ ตาม ตรวจสอบหาข้อบกพร่องของ ตนเองในการใช้นวตั กรรม เทคโนโลยี แล้วฝึกการใช้งานจนคล่องแคล่ว ใบความรู้ เรื่อง การประเมนิ ประสิทธิภาพนวัตกรรม เทคโนโลยี กรอบความคิด ความถกู ต้องได้ ตามวัตถปุ ระสงค์ ประสิทธิภาพ ลดต้นทุน รวดเรว็

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 26 จากแผนภูมิสามารถอธิบายได้ว่า ประสิทธภิ าพมีองค์ประกอบร่วมอย่างน้อย 3 องค์ประกอบ คอื (1) ความถกู ต้องเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ (2) มีความรวดเร็ว และ (3) สามารถลดต้นทุนรายจ่ายได้ นอกจากนั้นในแต่ละองค์ประกอบจะต้องมีความสัมพันธ์ต่อกัน หากน้ากรอบแนวคิดนี้มาอธิบายกับ ประสิทธภิ าพของนวัตกรรมหรือเทคโนโลยอี าจจะสรุปได้ว่า ประสิทธภิ าพของนวตั กรรม เทคโนโลยกี ารประกอบอาชีพข้นึ อยกู่ บั องคป์ ระกอบ ดงั นี้ 1. ความสามารถทา้ งานไดถ้ กู ต้องตามวัตถุประสงคแ์ ละมีของเสียน้อย 2. ประหยัดคา่ ใช้จ่าย 3. ทา้ งานได้รวดเรว็ ประเมินการทางานให้ถกู ต้องตามวัตถุประสงค์ของเทคโนโลยี การประเมินความสามารถทา้ งานได้ตามวัตถปุ ระสงคข์ องนวตั กรรม เทคโนโลยี ผู้เรียนต้องคดิ ลักษณะบ่งชีค้ วามส้าเร็จ และตวั ชีว้ ดั ความสา้ เร็จด้วยตนเอง ดงั ตวั อยา่ งนี้ ตวั อย่าง การประเมินการทา้ งานใหถ้ ูกต้องตามวัตถปุ ระสงค์ องคป์ ระกอบการประเมิน ลักษณะบ่งช้คี วามสาเรจ็ เกณฑช์ ีว้ ัดความสาเรจ็ ของงาน 1. การท้าได้ตาม 1. เนือ้ งานทนี่ วัตกรรม เทคโนโลยี 1. ความสามารถขนั้ ต้่าทีย่ อมรับได้ วตั ถปุ ระสงค์ ท้าได้ ร้อยละ 90 ของเนือ้ งาน 2. ความเสียหายของ 2. ผลงานทีเ่ สียหายหรือไม่ผ่าน 2. ความเสียหายขน้ั สูงสุดทีย่ อมรบั ผลงาน คณุ ภาพ ได้ร้อยละ 5 ของงาน

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 27 จากตัวอยา่ งเกณฑ์การประเมิน เพอ่ื ให้เหน็ รปู ธรรมจงึ ขอยกตวั อยา่ งการก้าหนดเกณฑ์การประเมินการ ท้างานไดถ้ กู ต้องของนวตั กรรม เทคโนโลยี ดังนี้ ตัวอย่าง การประเมินเทียบเคยี งค่าใช้จ่ายนวตั กรรม เทคโนโลยี เปูาหมาย : พรวนดินให้ละเอียดบนพ้ืนที่ 3 ไร่ ให้แล้วเสรจ็ ไม่เกนิ 6 ชว่ั โมง (1 วนั ) ใชแ้ รงงานคน ขดุ พรวนดว้ ยจอบ ใช้เครอ่ื งจอบหมุนแบบเดินตามเครอ่ื งยนต์ 5 แรงมา้ 1. ราคานวตั กรรมเทคโนโลยี 1. ราคานวตั กรรมเทคโนโลยี - ต้องใช้คน 15 คน คา่ แรงงาน - รถพรวนแบบเดินตามราคาคนั ละ 40,000 บาท 1 คน/200 บาท/วนั ต้องจ่าย ทา้ งานได้ 4,000 ชัว่ โมง คดิ คา่ ใช้จ่ายชัว่ โมงละ 100 บาท คา่ แรงงาน 3,000 บาท - พ้ืนทีข่ นาด 3 ไร่ ใช้เวลาทา้ งาน 3 ช่วั โมง ต้องเสยี คา่ ใช้จ่าย 300 บาท 2. คา่ ใช้จ่ายระหว่างการใชง้ าน 2. คา่ ใช้จ่ายระหว่างใช้งาน - เครือ่ งดื่มชูก้าลัง 15 ขวด 150 - คา่ น้ามนั เชอื้ เพลิง 3 ช่วั โมง ขนาด 6 ลติ ร เปน็ เงิน 180 บาท บาท - น้าเยน็ 50 บาท - คา่ ใบมีดพรานเสียหาย ประมาณ 300 บาท รวม 200 บาท - คา่ แรงคนงาน 1 คน 200 บาท รวม 680 บาท รวมรายจ่ายทัง้ หมด 3,200 บาท รวมรายจา่ ยท้งั หมดเปน็ เงิน 980 บาท 4. ลดรายจ่ายจากเดิม คา่ ใช้จ่ายโดยแรงงานคน 3,200 บาท คา่ ใช้จ่ายโดยเครือ่ งจอบหมนุ แบบเดนิ ตาม 980 บาท จงึ สามารถลดรายจ่ายได้ 2,220 บาท ประเมินความรวดเร็ว เปน็ การประเมินเทียบเคียงหรอื เปรียบเทยี บระหวา่ งการใช้เวลาทา้ งานจากนวตั กรรมเทคโนโลยี ที่จะน้าเข้ากับนวัตกรรม เทคโนโลยีที่ใช้อยู่เดิม ดังตัวอย่าง การพรวนดินการใช้แรงงานคนกับ เครื่องจกั รกลขนาดเลก็ พบว่า เครื่องจักรกลขนาดเล็กพรวนดิน ใช้เวลาเพยี ง 3 ชั่วโมง แต่แรงงานคน จะต้องใช้เวลาถึง 6 ช่ัวโมง ต้องพบกับความยงุ่ ยากในการจัดการคนให้ท้างานไปตามเปูาหมาย

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 28 สรปุ การตดั สินใจนา้ นวัตกรรม เทคโนโลยีเข้ามาใช้ประกอบอาชีพ จ้าเป็นต้องประเมินให้มองเห็น เหตุผลการน้าเข้ามา ความคุ้มค่า และศักยภาพในการเป็นภูมิคุ้มกันให้อาชีพม่ันคงย่ังยืน จึงต้องมี การประเมินด้วยองค์ประกอบทั้ง 3 ด้านและตัวแปรร่วมต่าง ๆ จึงมีความจ้าเป็นที่จะต้องแสวงหา ความรู้ข้อมลู ให้มากพอทีจ่ ะใช้ประเมินตัดสินใจ ดงั น้ัน การประเมินประสิทธภิ าพนวัตกรรม เทคโนโลยี จึงเป็นส่วนหนึง่ ของการทา้ งานบนฐานความรู้ ใบความรู้ เรื่อง ความหมายและลกั ษณะองคป์ ระกอบในขอบข่ายอาชีพ องคป์ ระกอบในระบบอาชีพ ทุน การพัฒนา ผลผลิต อาชีพม่ันคง ตนเอง ลูกค้า แผนภูมิแสดงความสมั พันธ์องคป์ ระกอบภายในระบบอาชีพ จากแผนภมู ิความสมั พนั ธ์องคป์ ระกอบภายในระบบอาชพี มีองคป์ ระกอบที่สา้ คัญและสง่ ผล กระทบความมัน่ คงของอาชีพ 4 องคป์ ระกอบด้วยกนั คอื (1) ทนุ (2) ผลผลติ (3) ลกู คา้ และ (4) การเรียนรู้พัฒนาตนเองของสถานประกอบการ

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 29 ทนุ ในการประกอบอาชีพ การจัดการทุนเป็นเรื่องส้าคัญ เพราะทุนจะต้องผันแปรส้าคัญต่อ ความมั่นคงของอาชีพ ทุนมีหลายประเภทที่ผู้ประกอบอาชีพ จะน้าเข้ามาบูรณาการใช้ลงทุน ประกอบการ เช่น 1. เงินทุน ได้มาจากการออม จากการสะสมทนุ จากการกู้ยืมสถาบันการเงิน 2. ทนุ ทีด่ ิน เปน็ ที่ต้ังสถานประกอบการ เปน็ ฐานการผลิตที่จะต้องมีการจัดการให้การใช้ที่ดิน เปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพ 3. ทนุ ทางสิ่งแวดล้อม เช่น การเกษตรอินทรีย์ ต้ังบนพ้นื ที่ปุาเขาโดยล้อม ท้าให้ได้ความชื้นและ ปุ๋ยธรรมชาติมาตามลม และไหลมากับน้าฝน ท้าให้ลดต้นทนุ เกีย่ วกับปุ๋ยหมักและจุลินทรีย์ลงได้ ผลผลิต เป็นตัวเปาู หมายการประกอบอาชีพที่จะต้องมีมาตรฐาน ข้อก้าหนดในรูปแบบต่าง ๆ ท้ังในรูป ลายลักษณ์อักษร ในรูปของค่านิยมที่ยอมรับกันท่ัวไปที่ผู้ผลิตจะต้องท้าให้ได้ตามมาตรฐานใน การจัดการให้เกิดผลผลิตมอี งคป์ ระกอบร่วมอยหู่ ลายประการ เช่น 1. คณุ ภาพผลผลิต ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน คา่ นิยมของลกู คา้ 2. กระบวนการผลิต ต้องสามารถลดต้นทนุ ได้ 3. การจดั การผลผลิตส่งมอบให้ลกู คา้ ในสภาพทม่ี ีคุณภาพให้มากทีส่ ดุ 4. ความปลอดภัยของผลผลิต ลูกคา้ เป็นองค์ประกอบที่ส้าคัญเพราะถ้าไม่มีลูกค้าก็จะไม่เกิดการหมุนเวียนทางรายได้ รูปแบบ เศรษฐกิจจะเปน็ การทา้ เพ่อื อยเู่ พ่อื กิน แบ่งปนั กนั ในชุมชน ประเทศชาติคงไม่มีรายได้มาพัฒนาประเทศ การประกอบอาชีพจึงให้ความสา้ คัญกับลูกค้าที่จะต้องสร้างความผูกพันภักดีต่อกันและขยายวงกว้าง ออกไป ทา้ ให้ผลผลิตจา้ หน่ายได้ปริมาณสูงข้นึ ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อความมั่นคง ย่ังยืนของอาชีพ ส่วนบุคคลและสงั คมประเทศชาติ การพฒั นาตนเอง การประกอบอาชีพธรุ กิจ ผู้ประกอบอาชีพจา้ เปน็ ต้องศึกษาวเิ คราะห์สภาพการผลิต การตลาด การลงทนุ คา่ นิยม นวัตกรรมเทคโนโลยีต่าง ๆ ให้สามารถจัดการพัฒนาธุรกิจให้ก้าวหน้าสัมพันธ์กับ การเปลีย่ นแปลงของสงั คมโลก เพ่อื สร้างความม่ันคงในอาชีพให้เติบโตข้นึ ไมใ่ ห้อาชีพตกต่้าและตายลง

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 30 ตัวอย่างที่ 1 อาชีพเขียนปูายประกาศถ้าพัฒนาตนเองไม่ใช้คอมพิวเตอร์และอิงค์เจทก็ยัง สามารถดา้ เนินธรุ กิจตอ่ ไปได้ แต่ถ้าหากไม่ยอมรบั การเปลี่ยนแปลงและเรียนรู้อาชีพเขยี นปูายประกาศก็ จะตายลงท้ังหมดแล้ว ตัวอย่างที่ 2 ร้านโชห่วยที่เรียนรู้พัฒนาตนเอง วิจัยระบุสินค้าจ้าเป็นของคนในชุมชน ต้องใช้ ประจ้าและจา้ นวนมาก แล้วจดั ร้านใหม่บรรจสุ ินค้าที่จา้ เป็น ทา้ ให้ร้านคา้ ไม่รกรงุ รัง ถ้าหากราคาขายที่ เปน็ จริงไมเ่ อาเปรียบ คนในชุมชนกเ็ ตม็ ใจซือ้ ไม่เสียเวลาไปศนู ยก์ ารคา้ ทีต่ ้องมีการเดินทาง ร้านโชห่วยที่ ไม่เรียนรู้พฒั นาตนเอง จึงตายไปจากท้องถิน่ ใบความรู้ เรื่อง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (เกี่ยวเนือ่ งกบั รายวิชาทีผ่ า่ นมา) ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อว่า คนไทยสามารถพัฒนาศักยภาพการคิด การกระท้าให้เข้มแข็งข้ึน เพ่ือสร้างเศรษฐกิจ แก้ปัญหาความยากจนด้วยการสร้างลกั ษณะนิสยั ประจา้ ให้เป็นบุคคลที่จะท้าอะไรต้องคดิ หาเหตุผล คดิ ตัดสินใจระบบความพอดีส้าหรับตนเองหรือชุมชน ก้าหนดแนวทางสร้างภูมิคุ้มกันให้กับอาชีพที่จะท้า เรียนรู้ สร้างความรอบรู้ให้กระจ่างพ่ึงพาตนเองได้ และมีคุณธรรม จริยธรรม ส่งผลให้การพัฒนา เศรษฐกิจของบคุ คล สามารถสร้างความพอเพยี งอยดู่ ีมีสขุ และก้าวถึงความมั่งมีศรีสุข ด้ารงชีวิตอย่าง พอเพยี งเกือ้ กูลสังคมได้ การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาศักยภาพ การคิด การกระท้า ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะ มุ่งเน้นองค์ประกอบแห่งคุณค่า 5 ประการ คอื 1. การพฒั นาทกั ษะการคดิ หาเหตผุ ล 2. การพัฒนาทกั ษะการคดิ ตดั สินใจระบุความพอดีสา้ หรับตนเองและชุมชน 3. การพฒั นาทกั ษะการคดิ กา้ หนดแนวทางสร้างภูมิคุ้มกันให้กบั เรื่องที่จะทา้ 4. การพัฒนาทกั ษะการแสวงหาความรู้และสรปุ องคค์ วามรู้ในเรื่องที่จะท้า 5. การพฒั นาเจตคติเพ่อื การคดิ การกระทา้ ให้เกิดคณุ คา่ ในคุณธรรมและจริยธรรม การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการน้าองค์ประกอบแห่งคุณค่า 5 ประการไ ป บูรณาการกับเหตุการณ์สาระที่น้าเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยการน้ามาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระบุลักษณะ ปฏิสมั พันธ์ท่นี ่าจะเกิดใช้เป็นขอ้ มลู สารสนเทศในการตดั สินใจกา้ หนดแผนพฒั นาระดบั ต่าง ๆ

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 31 การวดั ผลประเมินผล ความส้าเร็จของการใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ควรจะเป็นการประเมิน ตนเองเพ่ือการพัฒนา เพราะผลสา้ เรจ็ ของแต่ละบุคคลแตกต่างกัน จึงเป็นการวัดผล ประเมินผล เพ่ือ บอกตนเองวา่ ขณะนีเ้ ราอยตู่ รงไหน แล้วเราพอหรือยงั มิใช่การตัดสินใจวา่ เก่งกวา่ ใคร ความหมายและลักษณะองคป์ ระกอบแห่งคุณค่า 5 ประการ ความมีเหตุผล หมายถึง การที่เราจะท้าอะไร เราจะต้องศึกษาว่าอะไรเป็นเหตุและ ลักษณะผลทีเ่ กิดเป็นอยา่ งไรดว้ ยการจา้ แนกออกใหไ้ ด้ว่า ถ้าเราต้องการให้เกิดอะไร มีอะไรเปน็ เหตทุ ี่ท้า ให้เกิด เหตทุ ี่ 1 เหตุที่ 2 ผลทีเ่ กิดจากความคดิ เหตุที่ 3 ความพอดี หมายถึง สิ่งที่เราจะท้ามีความพอดีอยตู่ รงไหนที่เราสามารถเขา้ ถึงได้จริง อยา่ งไม่ทุกขย์ ากเดือดร้อนมากนัก ซึ่งเปน็ เรื่องของเอกตบคุ คลดงั ตวั อยา่ ง ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การก้าหนดแนวทางการจัดการปูองกันความเสียหาย ได้แก่ การออมสะสมทุนเพ่ือปูองกันสภาพคล่องทางการเงินและเป็นทุนขยายกิจกรรม เมื่อได้จังหวะเวลาที่ สมควรมาถึง การสร้างศรัทธาให้ลกู คา้ ยอมรับไม่ทอดทงิ้ เลิกซอื้ ขายกับเรา การสร้างคณุ ภาพผลผลิตให้ ลูกคา้ เชื่อถือได้ว่า ผลผลิตที่ซือ้ มีคณุ ภาพแน่นอน การสร้างความรักภักดีต่อคนร่วมงานให้มีความรู้สึก วา่ ท้างานอยกู่ ับเรามีชีวิตปลอดภัยมีอยมู่ ีกินแน่นอน ความรอบรู้ หมายถึง เมือ่ เราคดิ หาเหตหุ าผลวา่ เราจะทา้ อะไรแล้วคดิ ตัดสินใจว่าควร ท้าเท่าไร จะพอดีกับสภาพทเ่ี ปน็ จริงและเขา้ ถึงได้ ดังน้ัน เมื่อตดั สินใจได้และทา้ จรงิ เราจา้ เป็นต้องเรยี นรู้ รายละเอียดต่าง ๆ แสวงหาความรู้ ตรวจสอบความรู้จนกระจ่างบูรณาการเข้ากับประสบการณ์ของ ตนเอง สรปุ เป็นองคค์ วามรู้เพือ่ ใช้ด้าเนินการจริงได้ คุณธรรม หมายถึง ความคดิ เจตนาที่เกีย่ วข้องกับการประกอบอาชีพเป็นไปอย่างมี คุณคา่ สอดคล้องกับศีลธรรม กฎระเบียบ ขอ้ กา้ หนด และไม่สร้างความเดือดร้อนแก่สังคม สรปุ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ เรื่องของความรู้สึก ความมุ่งมน่ั การรู้ทันและเขา้ ใจในสิ่งที่จะท้า คดิ สร้างสรรคแ์ ละรับรู้โลกกวา้ ง เพ่อื การดา้ รงชีวิตอยอู่ ยา่ งพอเพยี งในสงั คม ชมุ ชนของงาน และก้าวเข้า สู่โลกแห่งการแขง่ ขันทางเศรษฐกิจในระบบทุนนิยมได้อยา่ งมีสติปญั ญา ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้ปฏิเสธทุนนิยม แต่จะใช้พลงั แห่งสติปญั ญา พฒั นาตนเอง สังคม ชมุ ชน ร่วมกัน สร้างทุนนิยมใหม่ น้าพาประเทศเข้าสู่ความเปน็ มหาอ้านาจแห่งสันติสุขที่มนั่ คงยัง่ ยนื

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 32 แบบทดสอบกอ่ นเรียน คาช้แี จง ให้นกั ศึกษาเลอื กคาตอบทีถ่ ูกที่สดุ เพียงขอ้ เดียว และตรวจกบั เฉลยทา้ ยเลม่ 1. การขยายขอบข่ายอาชีพ หมายถึง ก. ทา้ อาชีพใหม่ ข. ประกอบอาชีพเพ่มิ จากอาชีพเดิม ค. กิจกรรมอาชีพทีม่ ีอยสู่ ามารถขยายออกเปน็ ขอบข่ายอาชีพ ง. การประกอบอาชีพพร้อมกันหลายอาชีพและสามรถขยายสาขาได้ 2. ตวั อยา่ งอาชีพปลูกพชื อินทรีย์ทเ่ี ปน็ อาชีพหลกั สามารถขยายขอบข่ายไปเป็น อาชีพใด ก. การปลกู พชื หมนุ เวยี น ข. การจัดการเที่ยงเที่ยวเชิงอนรุ ักษ์ ค. การส่งเสริมอาชีพอิสสระสา้ หรบั บคุ คล ง. ประกอบอาชีพที่เกีย่ วกบั เครือขา่ ยการเกษตร 3. เหตผุ ลของการขยายขอบข่ายอาชีพเนือ่ งจาก ก. สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ ข. ปัญหาของประชากรในแต่ละประเทศ ค. สภาพปญั หาทางด้านการประกอบการ ง. สภาพความต้องการของผู้บริโภคท่ไี ม่เพียงพอ 4. การกา้ หนดแนวทางการขยายอาชีพผลจากทางใดมาเป็นตวั กา้ หนด ก. ผลจากการเรียนรู้ ข. ผลจากการวเิ คราะห์ ค. ผลจากการทดลองศกึ ษา ง. ผลจากการคน้ คว้าก่อนทา้ การทดลอง 5. การขยายขอบข่ายจากการสร้างและพัฒนาเครือขา่ ยจากอาชีพ เช่น ก. สร้างธรุ กจิ ขนมหวานเยลลี่ ข. แฟรนชายน์ ชายสี่บะหม่เี กีย๊ ว ค. ศนู ยก์ ลางรบั ซือ้ และขายส่งมะพร้าว ง. จดั บรกิ ารท่องเที่ยวพักผ่อน ชิมสวนผลไม้

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 33 6. การขยายอาชีพจากตลาด ได้แก่ ก. เฟรนชายด์ไอสกรีมวอลล์ ข. สร้างธรุ กิจเครือขา่ ยนาขา้ วอินทรีย์ ค. การบรกิ ารท่องเทีย่ ว กินอาหารเกษตรอนิ ทรีย์ ง. เปน็ ศนู ยก์ ลางรบั ซือ้ และขายสง่ มะพร้าวน้าหอมภายใต้การควบคุมคณุ ภาพ 7. การขยายอาชีพจากการสง่ เสริมสุขภาพ อนามัย หมายถึง ก. การเรยี นรรู้ ะบบนิเวศ ความพอเพยี งไร่นาสวนผสม ข. การสร้างเครือขา่ ยนาข้าวอินทรีย์โดยรวมกลุ่มสมาชิก ค. การจดั บริการท่องเที่ยวพกั ผ่อน กินอาหารเกษตรอนิ ทรีย์ ง. การจดั บรกิ ารสถานพกั ฟ้นื อาหารธรรมชาติไรส้ ารพษิ แบบ Home Stay 8. ปัจจัยในการบรหิ ารจดั การ ประกอบด้วย ก. เงินทนุ แรงงาน ข. เงินทนุ แรงงาน ตลาด ค. แรงงาน ทนุ อปุ กรณ์ การจดั การ ง. แรงงาน ทนุ อปุ กรณ์ ตลาด และการจดั การ 9. การจัดการตลาด ได้แก่ ก. ผู้บริโภค ผู้ผลิต ผู้จ้าหน่าย ข. ผู้บริโภค ผู้ผลิต และจ้าหน่าย ค. แหล่งขาย ผู้ซอื้ ผู้ผลิต การส่งเสริมการขาย ง. แหล่งขาย การส่งเสริมการตลาด ระบบการเงิน 10. การแสวงหาความรู้โดยวธิ ีใดบ้าง “ กรณีตัวอยา่ งการการแสวงหาความรู้เรื่องการพฒั นาคุณภาพดิน” ก. จากการอ่านต้ารา หรือเอกสารวชิ าการ ข. จากการไปพบผรู้ ู้ดูของจริง ฟงั สงั เกต และสัมผสั ค. จากการทบทวนประสบการณ์ของตนเอง ง. จากทกุ วธิ ีท่กี ล่าวมา 11. ภารกิจในสร้างความม่นั คงในอาชีพเป็นเรื่องทีต่ ้องสร้างด้วยตนเอง มีภารกิจใดบ้าง ก. บทบาทหน้าที่ของตนเองที่มีต่อธุรกิจ ข. การบริหารทรัพยากรด้าเนนิ ธรุ กิจ ค. การบริหารการผลติ ง. ไม่มีข้อใดผิด

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 34 12. การทา้ แผนปฏิบตั กิ ารทางอาชีพ ขอ้ ใดคอื องคป์ ระกอบร่วมทถี่ ูกต้อง ก. การปฏิบตั ิงานพร้อมปจั จยั เข้า ข. เหตุการณ์หรือขนั้ ตอนการท้างาน ค. การกา้ หนดแรงงานในแต่ละเหตกุ ารณ์ ง. ระยะเวลาที่ไม่สามารถก้าหนดเหตุการณ์ 13. การบรหิ ารการผลิต หมายถึง ก. ควบคุมระยะเวลาการท้างาน ข. การจัดส่งเอกสารส่งมอบ ค. การตรวจสอบคดั เลือกผลิตภณั ฑ์ ง. การควบคุมการดา้ เนนิ งานให้เกดิ ผลในกิจกรรมที่บรหิ าร 14. การบริหารทรัพยากร หมายถึง ก. บทบาทหน้าทีข่ องเจ้าของธุรกิจ ข. ผลทีเ่ กิดจากการจดั การ ค. หน้าที่ควบคุมการใช้ทรพั ยากร ง. การบรหิ ารจดั การองค์ 15. การวจิ ัยพฒั นาอาชีพ หมายถึง ก. การคน้ คว้าขอ้ มลู วธิ กี ารและสรปุ ผลให้อาชีพเจริญ ข. การส้ารวจกิจกรรมของอาชีพเพ่อื ขยายงานอาชีพ ค. การติดตามผลการดา้ เนินงานเพ่อื พัฒนาอาชีพ ง. การประเมินธรุ กจิ ในแตล่ ะปีเพื่อทราบถงึ ผลประกอบการ 16. รูปแบบการขยายอาชีพ มีตัวแปรร่วมดงั นี้ ก. แรงงาน ข. สภาพแวดล้อม ค. การบริหารจดั การ ง. ปจั จัยนา้ เข้าการผลิต 17. การตัดสินใจในธุรกิจ เปน็ บทบาทหน้าที่ของผู้ใด ก. ผู้จัดการธุรกิจ ข. ผู้ร่วมกิจการ ค. เจ้าของธรุ กิจ ง. พนักงานธุรกิจ

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 35 18. ลักษณะใดทีบ่ ง่ ชถี้ งึ ความส้าเร็จของการเรียนรู้ ก. สามารถด้าเนินธรุ กจิ ได้เปน็ อยา่ งดี ข. สามารถบริหารจัดการธรุ กิจให้มน่ั คงยง่ิ ข้นึ ค. สามารถสรปุ ผลการประเมินบง่ ชีข้ อ้ บกพร่องทีต่ ้องแก้ไขและพฒั นาได้ ง. สามารถประเมินความเปน็ ไปได้ของตนเองโดยใช้การติดตามผล 19. เมื่อนักศึกษาได้เรียนรู้เนอื้ หาในรายวชิ าช่องทางการขยายอาชีพ แล้วนกั ศกึ ษาจะต้องปฏิบัติ เพ่มิ เติมอยา่ งไร ก. เตรียมตวั ใช้ความรู้ในการสอบปลายภาค ข. นา้ ความรู้ไปประกอบอาชีพ ค. ศึกษา คนั ควา้ เพม่ิ เติมจากสือ่ และแหลง่ เรียนรู้อื่น ง. ท้ากิจกรรมตามทกี่ ้าหนดไว้ 20. รายวชิ าช่องทางการขยายอาชีพ เป็นรายวชิ าทีใ่ ห้ผเู้ รียนได้รับความรดู้ ้านใด ก. ทางด้านการตลาด ข. ทางการตัดสินใจในงานอาชีพ ค. รู้จักการวเิ คราะห์ลกั ษณะงาน ขอบข่ายงาน ปัจจยั การน้าไปสู่งานอาชีพ ง. เรียนด้านอาชีพเฉพาะทางเพ่ือใช้ในการตัดสินใจในการ ************************

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 36 แบบฝึกหัด ปัจจยั จาเป็นเพือ่ นาอาชพี ไปสูค่ วามมัน่ คง คาชแ้ี จง ให้ให้ผู้เรียนคดิ วเิ คราะห์จากประสบการณ์ตนเองวา่ การประกอบอาชีพควรจะต้องมีความรู้ อะไรบ้าง ทีใ่ ช้พัฒนาอาชีพให้เขม็ แขง็ โดยอาศยั องค์ประกอบของการคดิ ตามตัวอยา่ งนี้ ตวั อยา่ ง ผลการวเิ คราะห์ การเลยี้ งโคขนุ องคป์ ระกอบ ระบุองคป์ ระกอบ ความรู้ที่จาเปน็ ตอ้ งใช้ 1. การเลีย้ งโคขุน ผลผลิต (1) การคดั เลือกพนั ธ์โค (1 ) คุณภาพ (2) เทคนิคการเลยี้ งโคขนุ (ตัวอย่าง) (2) น้าหนกั การเปลีย่ นแปลง (3) อาหารส้าหรับโค 2............................................... ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ 3............................................. ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................ ................................................

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 37 แบบฝึกหดั การปฏิบัติการตรวจสอบระบบการสรา้ งความมน่ั คง คา้ ชีแ้ จง ให้นกั ศกึ ษาแตล่ ะคนไดใ้ ช้ประสบการณ์เชิงประจักษ์มานึกคดิ วา่ เพ่อื ความเขม้ แข็ง ในอาชีพเราควรมีภารกิจและกจิ กรรมอะไรบ้าง ภารกจิ หรือความมนั่ คงในอาชีพ กจิ กรรมที่ควรจะมสี าหรบั ตนเองรายละเอียด 1. บทบาทหน้าที่เจ้าของธรุ กิจ ………………………......................……………………………… ………………………….....................…………………………… 2. การบริหารทรพั ยากรด้าเนนิ การ ………………………......................……………………………… ………………………….....................…………………………… 3. การบรหิ ารการผลิต ………………………......................……………………………… ………………………….....................…………………………… 4. การจดั การสง่ มอบ ………………………......................……………………………… ………………………….....................…………………………… 5. การวจิ ยั พัฒนา ………………………......................……………………………… ………………………….....................…………………………… 6. อืน่ ๆ ตามที่ผู้เรียนเหน็ วา่ ควรจะมี ………………………......................……………………………… ………………………….....................…………………………… แบบฝึกหดั ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง (การบ้าน) 1. ให้ผู้เรียนจดั ท้ารายงาน 1 เล่ม เกีย่ วกบั แผนการขยายอาชีพของเกษตรกรเพ่อื ให้อยู่ไดใ้ นเศรษฐกิจ สงั คมปัจจบุ นั ประกอบด้วย 1.1 รปู แบบการขยายอาชีพ(วาดFlow Chart) ตวั อยา่ งหน้า 13 1.2 วเิ คราะห์และประเมินการน้าเทคโนโลยมี าใช้จะทา้ ให้คมุ้ คา่ หรือไม่ เพราะอะไร ลองศกึ ษาจากการประเมินประสทิ ธิภาพนวตั กรรม เทคโนโลยี หน้าที่ 24

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 38 แบบทดสอบหลังเรยี น 1. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ประโยชน์ของการมีอาชีพ 6. ประเทศใดต่อไปนที้ ี่ไม่ได้จดั วา่ มีการขยาย ก. ท้าให้มีรายได้เลี้ยงตนเองและครอบครัว อาชีพระดบั โลก ข. ทา้ ให้เสริมสร้างลกั ษณะนิสยั ทด่ี ีมีความ ก. สหรัฐอเมริกา ข. องั กฤษ รบั ผิดชอบ ค. ญี่ปนุ ง. อียิปต์ ค. ช่วยสร้างสรรคค์ วามเจริญให้แก่สงั คม 7. การกา้ หนดแนวทางขยายอาชีพไม่จา้ เป็นต้อง และประเทศชาติ ยดึ เหตผุ ลทางด้านใด ก. สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ ง. ช่วยเวยี นการใช้ทรพั ยากรเพอ่ื สนองความ ข. สภาพแวดล้อมทางการศกึ ษา ต้องการได้มาก 2. ขอ้ ใดเปน็ กลุ่มอาชีพใหม่ทก่ี ้าหนดเพ่อื ค. สภาพแวดล้อมทางสงั คม สามารถแขง่ ขนั กีฬาในเวทโี ลก ง. สภาพแวดล้อมทางสิง่ แวดล้อม ก. กลุ่มอาชีพด้านการเกษตร 8. ขอ้ ใดเปน็ องคป์ ระกอบของหลกั การขยาย ข. กลุ่มอาชีพด้านบรหิ ารจดั การและบริการ อาชีพที่เป็นความคดิ รวบยอด ค. กลุ่มอาชีพด้านความคดิ สร้างสรรค์ ก. ปจั จยั นา้ เขา้ เพ่อื การขยายอาชีพ ง. ถกู ทกุ ขอ้ ทกี่ ล่าวมา ข. ปัจจยั นา้ ออกเพ่อื การขยายอาชีพ 3. ห้างร้าน ห้างสรรพสินค้า ซุปเปอรส์ โตร์ ค. กระบวนการผลิต ร้านสะดวกซือ้ เป็นกลุ่มอาชีพด้านใด ง. ขอ้ ก และ ค ก. ด้านอุตสาหกรรม 9. กจิ กรรมต่อเนื่องจากการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ข. ด้านพาณิชยกรรม คอื กิจกรรมใด ค. ด้านบริหารจดั การและบรกิ าร ก. การประยกุ ต์ใช้ความรู้ ง. ด้านความคดิ สร้างสรรค์ ข. การสรุปองคค์ วามรู้ ค. การกา้ หนดหัวขอ้ ความรู้ 4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ง. การแสวงหาความรู้ ปัจจบุ ันเป็นฉบบั ที่เท่าใด ก. ฉบบั ที่ 10 ข. ฉบับที่ 11 10. ขอ้ ใด ไม่ใช่ หลกั การพฒั นาตนเองเพ่อื ค. ฉบับที่ 12 ง. ฉบบั ที่ 13 พฒั นาอาชีพ ก. การพฒั นาตนเองตามแนวพระราชดา้ ริ 5. ขอ้ ใดเป็นองคป์ ระกอบของอาชีพ ข. การพัฒนาตนเองตามแนวพทุ ธศาสนา ก. การจัดการการผลิต ค. หลักการครองเรือน ข. การจัดการการตลาด ง. คณุ ธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชีพ ค. การตรวจสอบและวเิ คราะห์คณุ ภาพการ ผลิต และการตลาด ง. ขอ้ ก และ ข ถกู

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 39 11. ขอ้ ใดเป็นการขยายขอบข่ายอาชีพจาก 16. ขอ้ ใดคอื การขยายอาชีพ การตลาด ก. ฟาร์มหมู CP ก. ธรุ กจิ แปรรปู หมจู ากฟาร์มหมูของตนเอง ข. สร้างธุรกิจปุ๋ยหมักจากข้หี มู ข. ธรุ กิจปุ๋ยหมักจากข้หี มู ค. เพาะเหด็ นางฟาู ค. ศนู ยก์ ลางรบั ซือ้ และขายส่ง ง. ปลกู ยางพารา ง. เฟรนชาย 17. ขอ้ ใด ไม่ใช่ การขยายขอบข่ายอาชีพ 12. ในเวทโี ลกไดก้ ้าหนดกลุ่มอาชีพใหม่ไว้กกี่ ลุ่ม ด้านการท่องเที่ยว ก. 4 กลุ่ม ก. จัดบริการท่องเที่ยวพกั ผ่อน ข. 5 กลุ่ม ข. ท่องเทีย่ วชิมผลไม้ ค. 6 กลุ่ม ค. ท่องเที่ยวรับประทานอาหารธรรมชาติ ง. 7 กลุ่ม ปลอดสารพษิ ง. โฮมสเตยเ์ รียนรู้วิถีชีวติ ชุมชน 13. ขอ้ ใด ไม่ใช่ กลุ่มอาชีพใหม่ ก. ด้านการเกษตร 18. ขอ้ ใดจัดอยใู่ นกลุ่มอาชีพใหมด่ ้านบรกิ าร ข. ด้านอตุ สาหกรรม จดั การ ค. ด้านความคดิ สร้างสรรค์ ก. บริการทีป่ รกึ ษาด้านอสังหาริมทรัพย์ ง. ด้านประติมากรรม ข. การเลยี้ งสัตว์ ค. การทา้ เกษตรอินทรีย์ 14. ขอ้ ใดเปน็ วธิ ีการแสวงหาความรู้โดยใช้ ง. คลนิ ิกรักษาโรคทว่ั ไป กระบวนการทถี่ กู ต้อง ก. อ่าน บันทกึ สรปุ 19. การสร้างธรุ กจิ การทา้ ปุ๋ยชีวภาพจากฟาร์ม ข. ฟัง สรุป แก้ไข หมทู ่มี ีอยเู่ ดิมเปน็ การขยายขอบข่ายอาชีพ ค. สงั เกต สรุป ปรับปรุง ด้านใด ง. ฟัง บนั ทึก แก้ไข ก. ด้านอตุ สาหกรรม ข. ด้านการเกษตร 15. “ต้องมุ่งมนั่ ทา้ งานด้วยความซื่อสตั ยแ์ ละมี ค. ด้านการบริหารจดั การ คุณธรรม” เป็นหลกั การพฒั นาตนเองตาม ง. ด้านความคดิ สร้างสรรค์ แนวพระราชดา้ ริ ในขอ้ ใด ก. การสร้างสรรคแ์ ละพฒั นา 20. ขอ้ ใดไม่ใช่เหตุผลของการขยายขอบข่ายอาชีพ ข. การวางแผนในการทา้ งาน ก. สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกจิ ค. การรู้จกั ประยกุ ต์ใช้ ข. สภาพแวดล้อมทางสังคม ง. การมีสตแิ ละสงบส้ารวม ค. สภาพแวดล้อมภูมิประเทศ ง. สภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรม

รายวชิ าช่องทางขยายอาชีพ (อช31001) 40