ทําฟัน โรงพยาบาลรัฐ เสาร์ อาทิตย์

ทําฟัน โรงพยาบาลรัฐ เสาร์ อาทิตย์

ตารางการปฏิบัติงานของแพทย์ สาขาทันตกรรม
08.30 - 12.00 น.

วันจันทร์ - วันศุกร์

ผู้ป่วยทั่วไป

13.00-16.00 น.

วันจันทร์ - วันศุกร์

ผู้ป่วยนัด ฉุกเฉิน

16.00 - 20.00 น.

วันจันทร์ - วันพฤหัสบดี

คลินิคพิเศษนอกเวลา

                                            หมายเหตุ   เริ่มจ่ายคิวที่ทันตกรรม เวลา 6.00 น. จำกัดจำนวนคิวในแต่ละวัน

คลินิกพิเศษกลุ่มงานทันตกรรม

เปิดบริการ      

จันทร์ - พฤหัสบดี    16.00 - 20.00 น.

ให้บริการ

อุดฟัน, ขูดหินปูน, ถอนฟัน(ธรรมดา) ทันตกรรมป้องกัน(เคลือบฟลูออไรด์) โดยมีอัตราค่าบริการ เท่ากับ ในเวลาราชการ

สิทธิที่สามารถมารับบริการ  

1. ชำระเงินเอง               3. ข้าราชการ

                2. ประกันสังคม               4. บัตรทอง (กรณีฉุกเฉิน)

ติดต่อเพื่อขอรับบริการ ได้ที่ เคาน์เตอร์ แผนกทันตกรรม
หรือ โทรนัดหมายล่วงหน้า ที่เบอร์ 0-2328-6901 -15 ต่อ 10296

ติดต่อเรา

คลินิกทันตกรรมพิเศษ

อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา ชั้น 2

หมายเลขโทรศัพท์กลาง 0-2200-7777 ต่อ 2222-35

หมายเลขโทรศัพท์สายตรง 0-2200-7799

หมายเลขโทรสาร 0-2200-7751

หมายเลขโทรศัพท์ภายใน 2222-35

หมายเลขโทรศัพท์มือถือ 090-197-0097 , 098-250-6037 , 063-225-0584

หมายเลขโทรศัพท์ จุดชำระเงิน (เจ้าหน้าที่การเงิน) 02-200-7777 ต่อ 2236

เวลาให้บริการทางทันตกรรม

  • ในเวลาราชการ จันทร์-ศุกร์ เวลา 8:30 – 16:30 น.
  • นอกเวลาราชการ จันทร์-ศุกร์ เวลา 16:30 -20:00 น.
  • เสาร์-อาทิตย์ เวลา 8:30 – 16:30 น.
  • คลินิกปิดบริการทุกวันพุธช่วงบ่าย และอาทิตย์สัปดาห์ที่ 3 ของเดือน

ทําฟัน โรงพยาบาลรัฐ เสาร์ อาทิตย์

สิทธิการรับบริการ ของโรงพยาบาลทันตกรรม

สิทธิเบิกจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาลด้วยบัตรประชาชน (ประเภทผู้ป่วยนอก)

ทําฟัน โรงพยาบาลรัฐ เสาร์ อาทิตย์

การใช้สิทธิเบิกจ่ายตรงค่ารักษาด้วยบัตรประชาชน สำหรับผู้มีสิทธิที่เบิกกับกรมบัญชีกลาง

ทําฟัน โรงพยาบาลรัฐ เสาร์ อาทิตย์

สิทธิประกันสังคม

กรณีทันตกรรม (อุดฟัน ถอนฟัน ขูดหินปูน ผ่าฟันคุดและใส่ฟันเทียม)

ผู้ประกันตนมีสิทธิเข้ารับการบริการทางการแพทย์ ณ สถานพยาบาลใดก็ได้ในกรณี อุดฟัน ถอนฟัน  ขูดหินปูน ผ่าฟันคุด โดยสำรองเงินจ่ายไปก่อนและนำหลักฐานมาขอเบิกเงินคืนได้ในอัตราปีละไม่เกิน 900 บาท/ปี (เงื่อนไขการเบิกเงินเป็นไปตามประกาศประกันสังคม) และมีสิทธิใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ฐานอคริลิก (พลาสติก) 1-5 ซี่ ในวงเงินไม่เกิน 1,300 บาท ตั้งแต่ 6 ซี่ขึ้นไปจะเบิกได้ไม่เกิน 1,500 บาท ภายในระยะเวลา 5 ปี ตั้งแต่วันที่ใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ฐานอคริลิก ครึ่งปากบน 2,400 บาท ครึ่งปากล่าง 2,400 บาท ทั้งปาก 4,400 บาท

หลักฐานที่ต้องใช้ในการยื่นคำขอรับประโยชน์กรณีทันตกรรม

1. แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีทันตกรรม

2. ใบรับรองแพทย์ ใบเสร็จรับเงิน

3. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาบัตรรับรองสิทธิฯ

4. กรณีขอรับเงินทางธนาคาร ให้แนบสำเนาสมุดบัญชีเงินฝากประเภทออมทรัพย์หน้าแรก ซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชี

ข้อควรรู้เกี่ยวกับการใช้สิทธิการรักษาทางทันตกรรม

ทําฟัน โรงพยาบาลรัฐ เสาร์ อาทิตย์

ทําฟัน โรงพยาบาลรัฐ เสาร์ อาทิตย์

สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ หรือ สิทธิบัตรทอง

สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติหรือที่ถูกเรียกว่า ” บัตรทอง หรือ บัตร 30 บาท “ อันเป็นหลักประกันด้านสุขภาพภายใต้ พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 โดยรัฐบาลให้มีการจัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายให้คนไทยได้เข้าถึงบริการ ด้านการเพทย์และสาธารณสุข การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล รวมถึงการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต

ผู้ที่สามารถใช้สิทธิบัตรทอง
  1. ผู้ที่มีสัญชาติไทย
  2. ผู้มีเลขประจำตัวประชาชน 13 หลักของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
  3. ผู้ที่ไม่มีสิทธิประกันสุขภาพอื่น เช่น สิทธิประกันสังคม สิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ เป็นต้น
เอกสารที่ต้องเตรียมก่อนเข้ารับบริการ
  1. บัตรประจำตัวประชาชน กรณีเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ให้ใช้ใบเกิดหรือเอกสารที่ระบุเลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก พร้อมบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ปกครอง (เพื่อรับรองการใช้สิทธิ)
  2. บัตรโรงพยาบาลทันตกรรม หรือ บัตรนัดหมายตรวจ
  3. ใบส่งตัวจากสถานพยาบาล/หน่วยงานต้นสังกัด (ถ้ามี)
สิทธิประโยชน์ทางทันตกรรม

สิทธิประโยชน์ทางทันตกรรมในสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(บัตรทอง) ผู้รับบริการจะได้รับการคุ้มครองในรายการรักษา มีดังนี้: อุดฟัน / ถอนฟัน / ขูดหินปูน / ผ่าฟันคุด / การให้ฟลูออไรด์เสริมในกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อโรคฟันผุ / การรักษาโพรงประสาทฟันน้ำนม/การเคลือบหลุมร่องฟันในเด็กอายุไม่เกิน 15 ปี และการใส่ฟันเทียม(ฐานพลาสติก)

เงื่อนไขการเข้ารับบริการ

ผู้รับบริการที่มีสิทธิบัตรทอง เฉพาะในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร – นำบัตรประชาชนเพื่อตรวจสอบและยืนยันตัวตนก่อนเข้ารับบริการ (ทุกครั้งที่รับบริการ) สามารถรับการรักษาตามสิทธิประโยชน์ทางทันตกรรมที่สปสช.กำหนด

ผู้รับบริการที่มีสิทธิบัตรทอง นอกเขตพื้นที่กรุงเทพฯ หรือ ต่างจังหวัด – นำบัตรประชาชนเพื่อตรวจสอบและยื่นหนังสือใบส่งตัวจากสถานพยาบาล/หน่วยงานต้นสังกัด(ก่อนเข้ารับบริการ) กรณีไม่มีหนังสือใบส่งตัว แต่มีความจำเป็นต้องรับการรักษาเร่งด่วน (ให้ติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อสอบถาม)

หน่วยงานที่รับผิดชอบ: ศูนย์ประสานสิทธิการรักษาฯ ชั้น1อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ 50 พรรษา  โทร.02-2007777 (เบอร์ภายใน1033)