มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

Show

มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท

สัญลักษณ์ของอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม[1] หรือ มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (อังกฤษ: intangible cultural heritage, ย่อ: ICH) ได้รับการสนับสนุนจากยูเนสโก โดยมุ่งเน้นไปยังวัฒนธรรมส่วนที่ในทางกายภาพนั้นจับต้องไม่ได้

ใน พ.ศ. 2544 ยูเนสโกได้ทำการสำรวจ[2] เพื่อพยายามให้นิยามและจัดทำอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Convention for the Safeguarding of the Intangible Cultural Heritage) จนแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2546[3] เพื่อการคุ้มครองและสนับสนุนวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้

ปัจจุบัน (ธันวาคม 2564) ยูเนสโกขึ้นทะเบียนมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้แล้วทั้งสิ้น 629 รายการ ใน 139 ประเทศทั่วโลก[4]

นิยาม[แก้]

มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท

หน้ากากโน; ญี่ปุ่นเป็นประเทศแรกที่ออกกฎหมายมาคุ้มครองและส่งเสริมมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้[5]

ตามอนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ พ.ศ. 2546 คำว่า "มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ (Intangible Cultural Heritage)" นิยาม ดังนี้[6]

“มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้” หมายถึง การปฏิบัติ การเป็นตัวแทน การแสดงออก ความรู้ ทักษะ ตลอดจนเครื่องมือ วัตถุ สิ่งประดิษฐ์ และพื้นที่ทางวัฒนธรรมอันเป็นผลจากสิ่งเหล่านั้น ซึ่งชุมชน กลุ่มชน และในบางกรณีปัจเจกบุคคลยอมรับว่าเป็นส่วนหนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรมของตน มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้นี้ซึ่งถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่งเป็นสิ่งซึ่งชุมชนและกลุ่มชนสร้างขึ้นใหม่อย่างสม่ำเสมอเพื่อตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมของตน เป็นปฏิสัมพันธ์ของพวกเขาที่มีต่อธรรมชาติและประวัติศาสตร์ของตน และทำให้คนเหล่านั้นเกิดความรู้สึกมีอัตลักษณ์และความต่อเนื่อง ดังนั้นจึงก่อให้เกิดความเคารพต่อความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ เพื่อให้เป็นไปตามจุดประสงค์ของอนุสัญญาฉบับนี้ จะมีการพิจารณาเฉพาะมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้เท่าที่สอดคล้องกับบทบัญญัติที่มีอยู่ด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศเท่านั้น รวมทั้งข้อกำหนดให้มีการเคารพซึ่งกันและกันระหว่างชุมชนทั้งหลาย กลุ่มชน และปัจเจกบุคคล และต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ประวัติศาสตร์มุขปาฐะ[แก้]

มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้แตกต่างจากประวัติศาสตร์มุขปาฐะเล็กน้อย (ประวัติศาสตร์มุขปาฐะเป็นการบันทึก สงวนไว้ และตีความซึ่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์โดยอยู่บนประสบการณ์ส่วนบุคคลและความคิดเห็นของผู้เล่า) มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้มุ่งไปที่การสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรม 'ไว้กับ' ผู้คนหรือชุมชนโดยปกป้องกระบวนการที่ทำให้ประเพณีและความรู้ที่สืบทอดกันมาสามารถส่งทอดต่อไปได้ ในขณะที่ประวัติศาสตร์มุขปาฐะมุ่งไปที่การเก็บและรักษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์จากปัจเจกชนหรือกลุ่มบุคคล

ในประเทศไทย[แก้]

นิยามศัพท์ของคำว่า "Intangible Cultural Heritage" ในบริบทของประเทศไทยมีผู้นิยามไว้หลากหลาย เช่น มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ มรดกทางวัฒนธรรมที่ไม่ใช่กายภาพ และมรดกวัฒนธรรมทางจิตใจ เป็นต้น

ความสับสนของการนิยามความหมายของ "Intangible Cultural Heritage" ในประเทศไทยดังกล่าว ก่อให้เกิดการถกเถียงเป็นวงกว้าง กระทรวงวัฒนธรรมในฐานะผู้รับผิดชอบจึงได้หาบทสรุปโดยการเปิดเวทีรับความคิดเห็น และมีมติให้ใช้คำว่า "มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม" แทนคำว่า "มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้" ตามที่บัญญัติไว้ใน พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. 2559 อย่างไรก็ตาม การนิยามความหมายของคำว่า "มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม" ในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาฯ ที่ทางการไทยจัดทำ และคำว่า "Intangible Cultural Heritage" ใน อนุสัญญาว่าด้วยการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ พ.ศ. 2546 ที่ยูเนสโกจัดทำ มีความแตกต่างกันบางประการ[7][8]

การสงวนรักษา[แก้]

ก่อนที่จะมีอนุสัญญาของยูเนสโก ได้มีความพยายามของประเทศต่าง ๆ ในการสงวนรักษามรดกทางวัฒนธรรมให้คงอยู่ต่อไป[9] ญี่ปุ่นเป็นประเทศแรกในโลกที่ออกกฎหมายในการคุ้มครองสมบัติทางวัฒนธรรมเมื่อ พ.ศ. 2493 ซึ่งคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมทั้งประเภทที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้[5][10] ประเทศอื่น ๆ อาทิ เกาหลีใต้ ฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา ไทย ฝรั่งเศส โรมาเนีย สาธารณรัฐเช็ก และโปแลนด์ต่างก็มีโครงการคล้ายกันในเวลาต่อมา[10]

อนุสัญญาที่ยูเนสโกประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2546 (มีผลเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2549) กำหนดให้ประเทศภาคีจัดทำรายชื่อมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ และดำเนินการเพื่อให้มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ สามารถดำรงสืบทอดอยู่ต่อไปได้ นอกจากนี้ยังเปิดช่องให้ระดมเงินบริจาคระหว่างประเทศสมาชิกยูเนสโกมาใช้เพื่อการทำนุบำรุงมรดกที่ขึ้นทะเบียนแล้วอีกด้วย[10] ยูเนสโกยังมีโครงการอื่นเกี่ยวกับวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ เช่น โครงการขึ้นทะเบียน "Proclamation of Masterpieces of the Oral and Intangible Heritage of Humanity" ซึ่งเริ่มต้นด้วย 19 รายการเมื่อ พ.ศ. 2544 เพิ่มเติมเป็น 28 รายการเมื่อ พ.ศ. 2546 และเป็น 43 รายการใน พ.ศ. 2548 เหล่านี้ดูเหมือนว่าจะเป็นการแก้ไขความไม่สมดุลในโครงการขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลก (World Heritage Sites) ที่ซีกโลกใต้เองมักจะเสียเปรียบเพราะมีอนุสาวรีย์หรือสิ่งก่อสร้างที่สำคัญจำนวนไม่มากเท่าซีกโลกเหนือ [10] และท้ายที่สุดโครงการนี้ได้รับการทดแทนโดยการจัด "มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม" หรือ "มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้" โดยองค์การยูเนสโก (UNESCO Intangible Cultural Heritage Lists) ใน พ.ศ. 2551

ประเภทการสงวนรักษา[แก้]

การขึ้นทะเบียนตามอนุสัญญามรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ มี 3 รายการ ได้แก่

  1. รายการตัวแทนมรดกทางวัฒนธรรมของมนุษยชาติ (Representative List of the Intangible Cultural Heritage of Humanity)
  2. รายการที่ต้องได้รับการสงวนรักษาอย่างเร่งด่วน (Intangible Cultural Heritage in Need of Urgent Safeguarding)
  3. รายการที่เป็นแบบอย่างที่ดีในการสงวนรักษา (Register of Good Safeguarding Practices)

สถิติ[แก้]

อันดับประเทศที่มีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมมากที่สุด[แก้]

อันดับประเทศจำนวนรายการที่ขึ้นทะเบียน (ธันวาคม 2563)[11]
1
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
จีน
42[12]
2
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
ฝรั่งเศส
23[13]
3
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
ญี่ปุ่น
22[14]
4
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
เกาหลีใต้
21[15]
5
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
สเปน
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
ตุรกี
20[16][17]
6
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
โครเอเชีย
17[18]
7
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
อิหร่าน
16[19]
8
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
มองโกเลีย
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
อาเซอร์ไบจาน
15[20][21]
9
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
เบลเยียม
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
อิตาลี
14[22][23]
10
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
อินเดีย
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
เวียดนาม
13[24][25]
11
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
โคลอมเบีย
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
เปรู
12[26][27]
12
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
อินโดนีเซีย
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
เม็กซิโก
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
คาซัคสถาน
11[28][29][30][31]
13
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
โมร็อกโก
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
โอมาน
10[32][33]
14
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
บราซิล
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
คีร์กีซสถาน
9[34]
15
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
กรีซ
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
มาลี
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
โปรตุเกส
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
อุซเบกิสถาน
8[35]
16
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
แอลจีเรีย
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
อาร์มีเนีย
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
ออสเตรีย
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
โบลิเวีย
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
บัลแกเรีย
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
โรมาเนีย
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
ซาอุดีอาระเบีย
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
สโลวาเกีย
,
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
เวเนซุเอลา
7[36][37][38]

มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท

อันดับประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมมากที่สุด[แก้]

ข้อมูล ณ วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2564[39]

ประเทศ จำนวน
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
เวียดนาม
14
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
อินโดนีเซีย
12
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
มาเลเซีย
6
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
กัมพูชา
5
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
ฟิลิปปินส์
5
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
ไทย
3
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
ลาว
1
มรดกทางวัฒนธรรมจากพระพุทธศาสนาแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
 
สิงคโปร์
1

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมสำหรับประเทศไทย[แก้]

รายการที่ขึ้นทะเบียนแล้ว (Inscribed)[แก้]

หมายเหตุ: ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมฯ[40]
  • โขน ละครรำสวมหน้ากากในไทย (ขึ้นบัญชี พ.ศ. 2561)[41]
  • นวดไทย การนวดแผนไทย (ขึ้นบัญชี พ.ศ. 2562)[42]
  • โนรา นาฏศิลป์ในภาคใต้ของไทย (ขึ้นบัญชี พ.ศ. 2564)[43]

รายการที่เสนอขึ้นทะเบียนแล้ว อยู่ระหว่างการพิจารณาของยูเนสโก (On-going nominations)[แก้]

  • ต้มยำกุ้ง[44]
  • สงกรานต์ไทย[45]

รายการที่เตรียมเสนอขึ้นทะเบียน หรือกำลังศึกษาความเป็นไปได้เพื่อขึ้นทะเบียน[แก้]

  • มวยไทย[46]
  • ผีตาโขน[47]
  • กัญชาไทย[48]
  • ข้าวแกง – โดยอาจเสนอขึ้นทะเบียนร่วมกับประเทศสิงคโปร์ ในรายการ "Hawker culture in Singapore (วัฒนธรรมอาหารริมทางของสิงคโปร์)" ที่ขึ้นทะเบียนแล้วเมื่อ พ.ศ. 2563[49]
  • ข้าวเหนียวมะม่วง[50]

ดูเพิ่ม[แก้]

  • แหล่งมรดกโลก
  • ความทรงจำแห่งโลก

อ้างอิง[แก้]

  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-26. สืบค้นเมื่อ 2016-03-03.
  2. "Meeting of 2001". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 2007-06-20.
  3. "Official website". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 2007-06-20.
  4. Browse the Lists of Intangible Cultural Heritage and the Register of good safeguarding practices
  5. ↑ 5.0 5.1 Yang Jongsung (2003). Cultural Protection Policy in Korea: Intangible Cultural Properties and Living National Treasures. Jimoondang International. pp. 33ff. ISBN 1931897050.
  6. Article 2 – Definitions For the purposes of this Convention, 1. The “intangible cultural heritage” means the practices, representations, expressions, knowledge, skills – as well as the instruments, objects, artefacts and cultural spaces associated therewith – that communities, groups and, in some cases, individuals recognize as part of their cultural heritage. This intangible cultural heritage, transmitted from generation to generation, is constantly recreated by communities and groups in response to their environment, their interaction with nature and their history, and provides them with a sense of identity and continuity, thus promoting respect for cultural diversity and human creativity. For the purposes of this Convention, consideration will be given solely to such intangible cultural heritage as is compatible with existing international human rights instruments, as well as with the requirements of mutual respect among communities, groups and individuals, and of sustainable development.
  7. มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ : บทเรียนจากเพื่อนบ้าน (Heritage of the Nations: lessons learned from the neighboring countries) วิภาวดี โก๊ะเค้า ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  8. มาตรา ๓ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๙ บัญญัติว่า “มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” หมายความว่า ความรู้ การแสดงออก การประพฤติปฏิบัติ หรือทักษะ ทางวัฒนธรรมที่แสดงออกผ่านบุคคล เครื่องมือ หรือวัตถุ ซึ่งบุคคล กลุ่มบุคคล หรือชุมชน ยอมรับและรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน และมีการสืบทอดกันมาจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่งโดยอาจมีการปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมของตน
  9. Deacon, Harriet (et al.) (2004). "The Subtle Power of Intangible Heritage: Legal and Financial Instruments for Safeguarding Intangible Heritage" (PDF). Human Sciences Research Council. p. 21. ISBN 0796920745. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-10-12. สืบค้นเมื่อ 2013-11-04.
  10. ↑ 10.0 10.1 10.2 10.3 Kurin, Richard (1 May 2004). "Safeguarding Intangible Cultural Heritage in the 2003 UNESCO Convention: a critical appraisal". Museum International. 56 (1–2): 66–77. doi:10.1111/j.1350-0775.2004.00459.x.
  11. "Map of the Intangible Cultural Heritage". UNESCO.
  12. "China - intangible heritage".
  13. "France - intangible heritage".
  14. "Japan - intangible heritage".
  15. "Republic of Korea - intangible heritage".
  16. "Spain - intangible heritage".
  17. "Turkey - intangible heritage".
  18. "Croatia - intangible heritage".
  19. "Iran - intangible heritage".
  20. "Mongolia - intangible heritage".
  21. "Azerbaijan - intangible heritage".
  22. "Belgium - intangible heritage".
  23. "Italy - intangible heritage".
  24. "India - intangible heritage".
  25. "Viet Nam - intangible heritage".
  26. "Colombia - intangible heritage".
  27. "Peru - intangible heritage".
  28. "Indonesia - intangible heritage".
  29. "Mexico - intangible heritage".
  30. "United Arab Emirates - intangible heritage".
  31. "Kazakhstan - intangible heritage".
  32. "Morocco - intangible heritage".
  33. "Oman - intangible heritage".
  34. "Brazil - intangible heritage".
  35. "Portugal - intangible heritage".
  36. "Romania - intangible heritage".
  37. "UNESCO - Saudi Arabia". ich.unesco.org (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-20. สืบค้นเมื่อ 2019-01-26.
  38. https://ich.unesco.org/en/lists?text=&inscription=&country=00014&type=
  39. Browse the Lists of Intangible Cultural Heritage and the Register of good safeguarding practices
  40. Thailand and the 2003 Convention
  41. [1]
  42. [2]
  43. [3]
  44. [4]
  45. ["ครม.เห็นชอบเสนอยูเนสโกขึ้นทะเบียน"สงกรานต์ไทย" เป็นมรดกโลก - โพสต์ทูเดย์ สังคมทั่วไป" https://www.posttoday.com/social/general/618657]
  46. โขน:กระทรวงวัฒนธรรมเตรียมเสนอนวดไทย โนรา และมวยไทย ให้ยูเนสโก หลังโขนได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกทางวัฒนธรรมโลก
  47. จัดใหญ่"ผีตาโขน"เล็งขึ้นบัญชีมรดกวัฒนธรรมโลก... อ่านต่อที่ : https://d.dailynews.co.th/education/649093/
  48. เสนอขึ้นทะเบียน "กัญชาไทย" เป็นมรดกโลก
  49. ผลักดัน “ข้าวแกง” มรดกภูมิปัญญาฯร่วม “สตรีทฟู้ด”
  50. [5]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • Definitions of Intangible Cultural Heritage as of States, IGOs and NGOs in 2001
  • Official website of the Convention for the Safeguarding of Intangible Cultural Heritage
  • Full text of the Convention
  • พระราชบัญญัตส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๕๙ Archived 2017-11-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

มรดกทางพุทธศาสนาแบ่งออกเป็นกี่ประเภท

การจัดประเภทของมรดกวัฒนธรรมในฐานะศาสนสถานและศาสนาวัตถุ แบ่งตามลักษณะทางพุทธ- สถาปัตยกรรมและความสำคัญ สามารถแบ่งออกได้5 ประเภท ได้แก่(1) เจติยสถาน สถานที่อันมีความ สำคัญแก่การสักการะบูชา หรือน้อมจิตระลึกถึงองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เช่น พระสถูปเจดีย์แบบ ต่างๆ พระพุทธปรางค์ พระมหาธาตุเจดีย์ พระมณฑปที่ประดิษฐานรอย ...

มรดกทางวัฒนธรรมของพระพุทธศาสนาคืออะไร

๑) พระพุทธศาสนาเป็นมรดกทางวัฒนธรรม พระพุทธศาสนาได้ก่อให้เกิดมรดกทางวัฒนธรรม ประเพณี และการ ดำเนินชีวิตแก่สังคมไทยอย่างกว้างขวางในหลายรูปแบบ ซึ่งสามารถจำแนก รายละเอียดได้ ดังนี้ มรดกทางด้านรูปธรรม พระพุทธศาสนา มีส่วนต่อการสร้างสรรค์งานอันเป็นเอกลักษณ์

มรดกทางวัฒนธรรมแบ่งออกเป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ได้แบ่ง มรดกทางวัฒนธรรมออกเป็นสองประเภท คือ มรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องได้หรือ (Tangible Cultural Heritage) และมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ หรือ (Intangible Cultural Heritage) โดยมีสาระส าคัญดังนี้

พระพุทธศาสนามีความสําคัญในแง่มรดกอย่างไร

พระพุทธศาสนาอยู่คู่กับสังคมไทยมานาน วิถีชีวิตของชาวไทยส่วนมากจะเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา ชาวไทยร้อยละ ๙๕ นับถือพระพุทธศาสนา ได้นำหลักการปฏิบัติทางพระพุทธศาสนามาเป็นแนวทางแห่งการดำเนินชีวิตจนกลายเป็นรากฐานทางวัฒนธรรม และเอกลักษณ์มรดกของชาติไทยตราบเท่าทุกวัน พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานของวัฒนธรรม