ประวัติ บริษัทไบเออร์สด๊อรฟ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ไบเออร์เอจี

ประวัติ บริษัทไบเออร์สด๊อรฟ
ประวัติ บริษัทไบเออร์สด๊อรฟ

สำนักงานใหญ่ที่เลเวอร์คูเซิน

ประเภทAktiengesellschaft

การซื้อขาย

FWB: BAYN
DAX Component
ISINDE000BAY0017 
ประวัติ บริษัทไบเออร์สด๊อรฟ
อุตสาหกรรม

  • วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
  • ยา
  • เคมี

ก่อตั้ง1 สิงหาคม 1863; 159 ปีก่อน[1]
ผู้ก่อตั้งฟรีดริช เบเยอร์
สำนักงานใหญ่เลเวอร์คูเซิน, รัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน, ประเทศเยอรมนี

พื้นที่ให้บริการ

ทั่วโลก

บุคลากรหลัก

  • แวร์เนอร์ เบามันน์ (CEO)
  • นอร์เบิร์ต วินเคลโยฮันน์ (ประธานคณะกรรมการกำกับดูแล)

ผลิตภัณฑ์ยาสำหรับสัตว์, การสร้างภาพทางการแพทย์, ยาทั่วไปและเฉพาะทาง, ผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อสตรี, ยาจำหน่ายหน้าเคาน์เตอร์, (อดีต) รักษาเบาหวาน, ยาฆ่าแมลง, เมล็ด, เทคโนโลยีชีวภาพพืช
รายได้
ประวัติ บริษัทไบเออร์สด๊อรฟ
44.081 พันล้านยูโร (2021)[2]

รายได้จากการดำเนินงาน

ประวัติ บริษัทไบเออร์สด๊อรฟ
3.353 พันล้านยูโร (2021)[2]

รายได้สุทธิ

ประวัติ บริษัทไบเออร์สด๊อรฟ
1 พันล้านยูโร (2021)[2]
สินทรัพย์
ประวัติ บริษัทไบเออร์สด๊อรฟ
120.241 พันล้านยูโร (2021)[2]
ส่วนของผู้ถือหุ้น
ประวัติ บริษัทไบเออร์สด๊อรฟ
33.168 พันล้านยูโร (2021)[2]

พนักงาน

99,637 คน (2021)[2]
เว็บไซต์www.bayer.com

ไบเออร์ เอจี (อังกฤษ: Bayer AG; ออกเสียง ไบเออร์ แต่ตามต้นฉบับภาษาเยอรมัน และชาวต่างชาตินิยมออกเสียงเป็น เบเยอร์) (NYSE: BAY, TYO: 4863) เป็นบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเคมีและยา บริษัทก่อตั้งในปี ค.ศ. 1863 สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมืองเลเวอร์คูเซิน ประเทศเยอรมนี บริษัทเป็นที่รู้จักดีว่าเป็นเจ้าของชื่อทางค้าว่า แอสไพริน

เกี่ยวกับ ไบเออร์ เอจี[แก้]

ในปี 2003 บริษัทได้จัดรูปองค์กรใหม่เป็นรูปบริษัทโฮลดิ้ง โดยกลุ่มธุรกิจหลักให้อยู่ในความควบคุมของไบเออร์ เอจี ซึ่งบริษัทเหล่านี้ได้แก่

  • Bayer CropScience AG
  • Bayer HealthCare AG
  • Bayer Material Science AG
  • Bayer Chemicals AG

และมีบริษัทด้านบริการ 3 แห่งคือ

  • Bayer Technology Services GmbH
  • Bayer Business Services GmbH
  • Bayer Industry Services GmbH & Co.OHG.

ประวัติ[แก้]

  • ค.ศ. 1863 ไบเออร์ เอจี ก่อตั้งในเยอรมนี โดย ฟรีดริช ไบเออร์ (Friedrich Bayer) และหุ้นส่วนของเขาชื่อ โยฮันน์ ฟรีดริช เวสคอต (Johann Friedrich Weskott)
  • ค.ศ. 1899 จดทะเบียนชื่อการค้า แอสไพริน ชื่อผลิตภัณฑ์ยาหลักของบริษัทในขณะนั้น โดยยาตัวนี้มีชื่อเคมีว่ากรดอะซิทิลซาลิไซลิก (acetylsalicylic acid) ซึ่งผลิตมาจากกรดซาลิไซลิก (salicylic acid) หรือ ซาลิซิน (salicin)
  • ค.ศ. 1904 ใช้สัญลักษณ์กากบาทไบเออร์ (Bayer cross) เป็นโลโก้ประจำบริษัท
  • ค.ศ. 1978 ไบเออร์ เอจี ซื้อไมลส์ แลเบอราตอรี (Miles Laboratories) เนื่องจากไมลส์ แลเบอราตอรีเป็นผู้ผลิตแอสไพรินมาตลอดหลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ซึ่งไบเออร์ถูกรวมกับบริษัทอื่นเป็นชื่ออีเก ฟาร์เบิน (IG Farben) และหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ไบเออร์ถูกแยกสลายอีกครั้งโดยทรัพย์สินไปอยูกับสเตอร์ลิงดรักส์ (Sterling Drugs) บริษัทในเครือสเตอร์ลิง วินทรอป (Sterling Winthrop) และสิทธิในการผลิตแอสไพรินไปอยู่กับไมลส์ แลเบอราตอรี
  • ค.ศ. 1994 ไบเออร์ เอจี ซื้อธุรกิจยา OTC (over the counter) เพื่อให้ได้สิทธิ์ในโลโก้กากบาทไบเออร์คืนมา

ยาที่ไบเออร์ค้นพบและเป็นที่รู้จักกันดีมีดังนี้:

  • แอสไพริน (Aspirin) — ยาบรรเทาปวดยอดนิยม
  • เฮโรอีน (Heroin-diamorphine) — ยาเสพติดให้โทษ
  • เมทาโดน (Methadone) — ยาบรรเทาปวด
  • แก๊สมัสตาร์ด (Mustard gas) — อาวุธเคมี
  • ทาบุน (Tabun) — ก๊าซประสาท
  • ซิโปรโฟลซาซิน (Ciprofloxacin) — ยาปฏิชีวนะ ใช้รักษาโรคแอนแทรกซ์
  • ลีวิตรา (Levitra) — รักษาภาวะหย่อนสมรรถภาพทางเพศ

อ้างอิง[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "History of Bayer: 1863–1881". Bayer AG.
  2. ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Bayer AG Annual Report 2021" (PDF). Bayer AG. สืบค้นเมื่อ 11 April 2022.

ข้อมูล[แก้]

  • Bangen, Hans (1992). Geschichte der medikamentösen Therapie der Schizophrenie. Berlin: VWB-Verlag. ISBN 3-927408-82-4.
  • Dickerman, Michael (2017). "Monowitz". ใน Bartrop, Paul R.; Dickerman, Michael (บ.ก.). The Holocaust: An Encyclopedia and Document Collection. Volume 1. Santa Barbara: ABC-CLIO. pp. 439–440.
  • Strzelecka, Irena (2000). "Experiments". ใน Długoborski, Wacław; Piper, Franciszek (บ.ก.). Auschwitz, 1940–1945. Central Issues in the History of the Camp. Volume 2: The Prisoners, their Life and Work. Oświęcim: Auschwitz-Birkenau State Museum.
  • Fernandez, Humberto; Libby, Therissa A. (2011). Heroin: Its History, Pharmacology & Treatment. Center City, MN: Hazelden Publishing.
  • Hager, Thomas (2006). The Demon under the Microscope. Harmony Books. ISBN 1-4000-8214-5.
  • Hayes, Peter (2001) [1987]. Industry and Ideology: IG Farben in the Nazi Era. Cambridge: Cambridge University Press.
  • Jacobs, Steven Leonard (2017). "I G Farben". ใน Bartrop, Paul R.; Dickerman, Michael (บ.ก.). The Holocaust: An Encyclopedia and Document Collection. Volume 1. Santa Barbara: ABC-CLIO. pp. 312–314.
  • Jeffreys, Diarmuid (2009) [2008]. Hell's Cartel: IG Farben and the Making of Hitler's War Machine. London: Bloomsbury Publishing PLC.
  • Kumar, B. Rajesh (2012). Mega Mergers and Acquisitions: Case Studies from Key Industries. New York: Palgrave Macmillan. ISBN 978-1137005908.
  • Lewis, Derek; Zitzlsperger, Ulrike (2016). "Bayer AG". Historical Dictionary of Contemporary Germany. Lanham, MA, and Plymouth: Rowman & Littlefield.
Lifton, Robert Jay; Hackett, Amy (1998). "Nazi Doctors". ใน Berenbaum, Michael; Gutman, Yisrael (บ.ก.). Anatomy of the Auschwitz Death Camp. Bloomington: Indiana University Press. pp. 301–316.
  • Rees, Laurence (2006) [2005]. Auschwitz: A New History. New York: PublicAffairs.
  • Sánchez-Serrano, Ibis (2011). The World's Health Care Crisis: From the Laboratory Bench to the Patient's Bedside. Elsevier. ISBN 978-0123918758.
  • Sneader, Walter (2005). Drug Discovery: A History. John Wiley & Sons. ISBN 978-0471899792.
  • Schrör, Karsten (2016). Acetylsalicylic Acid. Weinheim: Wiley-VCH.
  • Tammen, Helmuth (1978). Die I.G. Farbenindustrie Aktiengesellschaft (1925–1933): Ein Chemiekonzern in der Weimarer Republik. Berlin: H. Tammen. ISBN 3-88344-001-9.
  • The United Nations War Crimes Commission (1949). "Law Reports of Trials of War Criminals. Volume X: The I.G. Farben and Krupp trials" (PDF). London: His Majesty's Stationery Office. pp. 1–67. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 11 December 2008.
  • Vardanyan, Ruben; Hruby, Victor (2016). Synthesis of Best-Seller Drugs. Academic Press.

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • "The original Bayer Aspirin". wonderdrug.com. Bayer AG.
  • Blaschke, Stefan (1999). Unternehmen und Gemeinde: Das Bayerwerk im Raum Leverkusen 1891–1914. Cologne: SH-Verlag. ISBN 3-89498-068-0
  • Cornwell, John (2004). Hitler's Scientists: Science, War, and the Devil's Pact. London: Penguin Books.
  • Lesch, John E., บ.ก. (2000). The German Chemical Industry in the Twentieth Century. Dordrecht: Springer Netherlands.
  • Plumpe, Gottfried (1990). Die I.G. Farbenindustrie AG: Wirtschaft, Technik und Politik 1904–1945. Berlin: Duncker & Humblot.
  • Stokes, Raymond (1988). Divide and Prosper: The Heirs of I.G. Farben under Allied Authority, 1945–1951. Berkeley: University of California Press.
  • Stokes, Raymond (1994). Opting for Oil: The Political Economy of Technological Change in the West German Chemical Industry, 1945–1961. New York: Cambridge University Press.
  • Tenfelde, Klaus (2007). Stimmt die Chemie? : Mitbestimmung und Sozialpolitik in der Geschichte des Bayer-Konzerns. Essen: Klartext. ISBN 978-3-89861-888-5
  • Tully, John (2011). The Devil's Milk: A Social History of Rubber. New York: Monthly Review Press.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • เว็บไซต์ทางการ
  • Documents and clippings about ไบเออร์ ในหอจดหมายเหตุข่าวสารศตวรรษที่ 20 ของ ZBW