ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะปรินิพพานนั้น

ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะปรินิพพานนั้น
��͹�ʴ稹Ծ�ҹ��硹��� ��������ѧ�ç�ô���ѷ�л�ԾҪ����� ��оط���һ�зҹ ���ҷ���ʧ�� ���ҷ����繾�оط����������繤����ش���� ����������ͧ���¡ѹ �� ����ͧ˹������� �Ѻ���ʧ���ѧ����¤����¡�ҹ�ѹ�ѡ������� ��� ����� '������' ��� '�ѹ�' �����ʵç�Ѻ��������� '�س' ����ѵ���� '��ҹ'
ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะปรินิพพานนั้น
��оط���ҵ��������� ��з�������ؾ�����ҡ������¡��кǪ�����ѧ�� ���ͷ����͹���� ����ҡ������ '������' ���� '�س' ��ǹ����ԡ�ط����͹���ؾ���� �֧���¡��з�������ؾ���ҡ��ҵ���� '�ѹ�' ���� '��ҹ'
ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะปรินิพพานนั้น
�������Ƿç�Դ�͡�������ʧ���駻ǧ��Ŷ�� ��ҷ�ҹ����ʧ������������ͧ�����ͧ�� �ç����͹������ǡ���������¨���������������������ѧ���������͡�ʶ��
ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะปรินิพพานนั้น
��ҡ������ͧ����ͧ� ��һ�ԹԾ�ҹ�ٵ� ��� ����վ��ʧ��ͧ��㴷�Ŷ����оط����� ���ʧ��·�赹���������
ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะปรินิพพานนั้น
����͡�͹��оط���Ҩ��ʴ稹Ծ�ҹ��� ��оط���������ç�����ǡͧ�������Ѻ���˹� �繾����ʴһ���ͧ���ʧ���׺��ͨҡ���ͧ������͹�����ʴ����ʹ���� ����ͧ��������վ��ʧ�� ͧ��㴷�Ŷ����оط���� ���оط���ҡ������觾��ʧ�����Ѵਹ��͹�йԾ�ҹ��� ����ԡ���ٻ�
ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะปรินิพพานนั้น
���ʺ͡����ҹ������ "�١�͹�ҹ��� ������� �Թ�¡�� ���������ʴ���� ��� �ѭ�ѵ������´� ������Шѡ�繾����ʴҢͧ�ǡ��ҹ�׺᷹��ҵ�Ҥ� ����������ǧ� ����"
ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะปรินิพพานนั้น
�������� ��оط���ҵ����繻Ѩ������ҷ�����ش������� "�ԡ�ط������! �Ѵ�����Ң���͹ �ǡ��ҹ��������� ��觷�����·���Դ����š�դ��������������繸����� ��ҹ������¨���˹�ҷ���ѹ�� ����ª���赹��Ф�����������稺�Ժ�ó���¤���������ҷ�Դ"
ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะปรินิพพานนั้น
��ѧ�ҡ����������������ա��� ����з�觹Ծ�ҹ������ش���¢ͧ�׹�ѹ��� �� ��� ��͹ � �����ѹ�����Ң� � ���������з�駤�����͡�͡�ҹ�о����繾ط��٪ҹ���ͧ

ธรรมะชุดใหญ่ เรียกว่าอภิญญาเทสิตธรรม (ธรรมที่ทรงแสดงแล้ว ด้วยความรู้ยิ่ง) พระพุทธองค์ทรงแสดงแก่ภิกษุสงฆ์ทั้งหมดในกรุงเวสาลี ที่ป่ามหาวัน สามเดือนก่อนทรงปรินิพพาน

สติปัฏฐาน การตั้งสติ 4 อย่าง สัมมัปปธาน ความเพียรชอบ 4 อย่าง อิทธิบาท ธรรมอันให้บรรลุความสำเร็จ 4 อย่าง อินทรีย์ ธรรมอันเป็นใหญ่ในหน้าที่ของตน 5 อย่าง พละ ธรรมอันเป็นกำลัง 5 อย่าง โพชฌงค์ ธรรมอันเป็นองค์ประกอบให้ได้ตรัสรู้ 7 อย่าง

และมรรค ข้อปฏิบัติหรือทางดำเนิน 8 อย่าง (รวม 37 ประการ)

(พระไตรปิฎกฉบับประชาชน มหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์)

เมื่อทรงแสดงพระเจตนาจะเสด็จปรินิพพานที่กรุงกุสินารา พระอานนท์ พระพุทธอุปัฏฐาก กราบทูลว่า กุสินาราเป็นเมืองเล็ก ขอให้เสด็จไปเมืองใหญ่ เช่น จัมปา ราชคฤห์ สาวัตถี โกสัมพีดีกว่า

ตรัสว่า กุสินาราเคยเป็นราชธานี นามกุสาวดี ของพระเจ้ามหาสุทัสสนะจักรพรรดิ ซึ่งพร้อมด้วยรัตนเจ็ดประการ จักรแก้ว ช้างแก้ว ฯลฯ ทรงสำเร็จด้วยฤทธิ์ทั้ง 4 รูปงาม อายุยืน โรคน้อย และเป็นที่รักของพราหมณ์และประชาชน

เมื่อพระเจ้ามหาสุทัสสนะทรงเบื่อหน่ายทางโลก สั่งลดการเข้าเฝ้า พระนางสุภัททา พระราชเทวี ได้ทูลให้เห็นแก่บ้านเมืองและราษฎร ทรงปรารภถึงความเบื่อหน่ายว่า

แม้ทรงเป็นมหาจักรพรรดิ มีนครอยู่ในปกครองมากมาย ก็อยู่ครอบครองได้เพียงนครเดียว มีปราสาทมากหลายก็อยู่ได้ปราสาทเดียว มีบัลลังก์มากมายก็นั่งได้บัลลังก์เดียว

มีสตรีมากมายก็มีสตรีที่ปฏิบัติรับใช้ได้คราวละคนเดียว มีถาดอาหารมากมายก็บริโภคได้อย่างมากเพียงจุทะนานเดียว

จนเมื่อเสด็จเลียบฝั่งของแม่น้ำหิรัญวดี สู่ป่าไม้สาละของมัลลกษัตริย์ ใกล้กรุงกุสินารา ให้ตั้งเตียงผินพระเศียรไปทางทิศอุดร บรรทมมีสติสัมปชัญญะ ตรัสปรารภการบูชาด้วยการประพฤติธรรมว่ายอดเยี่ยม

ทรงแสดงวิธีปฏิบัติในสตรี ตามที่พระอานนท์กราบทูลถามว่า...ไม่ควรมอง ถ้าจำเป็นจะมอง ก็ไม่ควรพูดด้วย ถ้าจำเป็นต้องพูดด้วยก็ให้ตั้งสติ

พระอานนท์เลี่ยงไปยืนร้องไห้ ด้วยคิดว่าท่านยังเป็นเสขะ สำเร็จเพียงพระโสดาบัน ยังไม่บรรลุอรหัตผล พระพุทธเจ้าทรงเรียกไปตรัสปลอบใจ ภิกษุผู้รับใช้พระพุทธเจ้าทั้งในอดีตและอนาคต อย่างยิ่งได้เท่าพระอานนท์

แล้วทรงพระดำรัสตรัสสั่งความแก่พระอานนท์ว่า ธรรมและวินัยที่เราแสดงแล้ว จักเป็นศาสดาของท่านทั้งหลายเมื่อเราล่วงลับไป

จากนั้นตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายเข้าเฝ้า แล้วตรัสว่า

“ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย บัดนี้เราเตือนท่าน สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา ท่านทั้งหลายจงยังความไม่ประมาทให้ถึงพร้อมเถิด” นี่เป็นปัจฉิมวาจาของพระตถาคต

เนื้อหาในพระสูตรตอนนี้ชี้ว่าทุกคำสอนของพระพุทธเจ้า มีเป้าหมายที่การพ้นทุกข์ และธรรมะที่จะใช้ในการพ้นทุกข์นั้นแม้มีมากมาย...แต่สรุปตรง “ความไม่ประมาท”

รัฐบาลสั่งเลิกกฎระเบียบ...ที่ใช้ป้องกันโควิด-19 แล้ว อย่าได้ด่วนสรุป เราเอาชนะโรคและพ้นทุกข์แล้ว

มีพระพุทธวจนะบทหนึ่ง ปมาโท มัจจุโน ปทัง ความประมาทเป็นหนทางแห่งความตาย พยายามท่องจำและทบทวนกันไว้ให้ดี.

ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะปรินิพพานนั้น

๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๔

ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ : 

.

“วันวิสาขบูชา” เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้องกับพุทธประวัติของพระพุทธเจ้า คือ เป็นวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ซึ่งทั้งสามเหตุการณ์ล้วนเกิดขึ้นตรงกันในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ชาวพุทธจึงเรียกการบูชาในวันนี้ว่า “วันวิสาขบูชา” ซึ่งย่อมาจาก “วิสาขปุรณมีบูชา” หมายถึง “การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ” ถ้าปีใดมีอธิกมาส คือ มีเดือนแปดสองหน ก็จะเลื่อนไปเป็นกลางเดือนเจ็ด อย่างเช่นในปี ๒๕๖๔ ที่มีเดือนแปดสองคน

ใน พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค

๓. มหาปรินิพพานสูตร (๑๖) พระพุทธองค์ทรงตรัสกับพระอานนท์ ความว่า

"ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกท่านพระอานนท์มารับสั่งว่า

ดูกรอานนท์ บางทีพวกเธอจะพึงมีความคิดอย่างนี้ว่า ปาพจน์มีพระศาสดาล่วงแล้ว พระศาสดาของพวกเราไม่มี ก็ข้อนี้ พวกเธอไม่พึงเห็นอย่างนั้น ธรรมและวินัยอันใด เราแสดงแล้ว บัญญัติแล้วแก่พวกเธอ ธรรมและวินัยอันนั้น จักเป็นศาสดาของพวกเธอ โดยกาลล่วงไปแห่งเรา"

และพระพุทธองค์ได้กล่าวปัจฉิมวาจา หรือปัจฉิมโอวาท เป็นคำสอนครั้งสุดท้ายก่อนจะปรินิพพานว่า

“วยธมฺมา สงฺขารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ”

แปลว่า

“สังขารทั้งหลาย มีความเสื่อมสลายไปเป็นธรรมดา ท่านทั้งหลายจง (ยังประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่น) ให้ถึงพร้อม ด้วยความไม่ประมาทเถิด”

พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐  พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค

๓. มหาปรินิพพานสูตร (๑๖). เข้าถึงได้โดย https://84000.org/tipitaka/book/v.php?B=10&A=1888&Z=3915

ภาพจิตรกรรมพระวิหารวัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน ด้านทิศตะวันตก เป็นภาพปริพพานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พร้อมกับเหล่าสาวกที่อยู่ในอากัปกิริยาโศกเศร้า