การประยุกต์การแปลงทางเรขาคณิต ม.2 PDF

การแปลงทางเรขาคณิต 1

บทนําของการแปลงทางเรขาคณิต

รูปแบบการแปลง
แบบทหี นึง การแปลงทีเป็ นการเคลือนทีคงรูป(rigid motion) สมั พนั ธ์กบั การเทา่ กนั ทกุ ประการ
การแปลงแบบนีรูปทีเกิดขนึ จะยงั คงรักษาภาวะร่วมเส้นตรง(collinearity) กลา่ วคอื ระยะหา่ งระหวา่ งจดุ
ตลอดจนมีรูปร่างลกั ษณะและขนาดเทา่ เดมิ กบั รูปต้นแบบ เรียกการแปลงแบบนีวา่ สมมิต(ิ isometry) การ
แปลงทีมีลกั ษณะดงั กลา่ วได้แก่ การเลือนขนาน(translation) การสะท้อน(reflection) และการหมนุ

(rotation)

แบบทสี อง การแปลงทีเกียวกบั การเปลียนขนาด(dilation) อาจยอ่ หรือขยายภาพ การแปลงแบบนี
สมั พนั ธ์กบั ความคล้าย

ในทีนีจะกลา่ วเฉพาะแบบทีหนงึ เทา่ นนั
นิยาม เรียกรูปเรขาคณิตก่อนการแปลงวา่ รูปต้นแบบ(pre image) และรูปเรขาคณิตทีได้หลงั จากการแปลง
เรียกวา่ ภาพ(image)ทีได้จากการแปลง และเรียกจดุ บนภาพทีได้จากการแปลงจดุ บนภาพต้นแบบเรียกวา่
เป็ นจดุ ทีสมนยั กนั (correspond)

การแปลงทางเรขาคณิต(Transformations) ทีการเคลือนไหวของรูปเรขาคณิต(Motion
Geometry) โดยการเลือนขนาน การสะท้อน และการหมนุ ของรูปหนงึ ซงึ พบได้ในสิงรอบตวั เรา หรือการ
เคลือนไหวของสิงตา่ งๆก็สามารถจําลองออกมาได้ในรูปของการแปลง รวมไปถงึ งานศลิ ปะตา่ งๆ ดงั รูป

การแปลงทางเรขาคณติ 2

1. การเลือนขนาน(Translation)

การเลือนทางขนาน เป็นการแปลงแบบหนงึ ทีจดุ ทกุ จดุ บนระนาบของรูปต้นแบบเคลือนทีไปในทิศทาง

เดียวกนั ตามแนวเส้นตรงและเป็นระยะทางเทา่ ๆกนั M

VA

U B N

ทศิ ทางการเลอื นหรือเวกเตอร์ P ภาพ(image)

รูปต้นแบบ(pre image) C

จากความหมายของการเลือนทางขนาน จากรูป 
UV
จะได้วา่ AM , BN และ CP ยาวเท่ากนั และขนานกนั กบั

เรียก UV ทศิ ทางการเลือน(slide arrow)หรือเวกเตอร์(vector)

กจิ กรรมที 1 ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการเลือนรูปต้นแบบตามทศิ ทาง 
UV

ทีกําหนดในแตล่ ะข้อตอ่ ไปนี

(1)  U    V    ( 2)        U 
               





                   V







(3)         (4)        
               
  V      U            V 










                  U







การแปลงทางเรขาคณิต 3  
AB CD
กิจกรรมที 2 ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการเลือนรูปต้นแบบตามทศิ ทาง ,

   A      D         

         B          




               C    































กิจกรรมที 3 ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการเลือนรูปต้นแบบตามเวกเตอร์

  a                






                  b 








                c   




การแปลงทางเรขาคณิต 4

การเลือนขนานในระบบพกิ ดั แกนมุมฉาก

ในระบบแกนมมุ ฉาก เราสามารถกําหนดจดุ บนระนาบได้ด้วยคอู่ นั ดบั (x, y)

และตอ่ ไปนีจะกําหนดทิศทางการเลือนหรือเวกเตอร์ด้วยสญั ลกั ษณ์ a
 b 

โดยที a เป็นการเลือนขนานตามแนวแกน X

ถ้า a < 0 เป็ นการเลือนขนานตามแนวแกน X ไปทางซ้าย

ถ้า a > 0 เป็ นการเลือนขนานตามแนวแกน X ไปทางขวา

ถ้า a = 0 ไมม่ ีการเลือนขนานตามแนวแกน X

และ b เป็นการเลือนขนานตามแกน Y

ถ้า b < 0 เป็ นการเลือนขนานตามแนวแกน Y ลงไปข้างลา่ ง

ถ้า b > 0 เป็ นการเลือนขนานตามแนวแกน Y ขนึ ไปข้างบน

ถ้า b = 0 ไมม่ ีการเลือนขนานตามแนวแกน Y

กจิ กรรมที 4 กําหนดรูปสามเหลียม ABC มีจดุ ยอดมมุ คอื จดุ A(–3, 2) B(1, 4) และ C(5, –1)
จงสร้างรูปสามเหลียม ABC
และจงสร้างภาพ(image) ของ ABC ทีได้เลือนขนานทางขวา 5 หนว่ ย และขนึ บน 7 หนว่ ย

Y

10
8
6
4
2

6 4 2 0 2 46 X
2 8 10 12 14

จากภาพทีสร้ างได้ จดุ จากภาพ(image) ข้อสังเกต
จดุ จากภาพต้นแบบ (pre image)
__________ __________
A(–3, 2)  __________ __________
__________ __________
B(1, 4) 

C(5, –1) 

การแปลงทางเรขาคณติ 5

กจิ กรรมที 5 กําหนดรูปสีเหลียม ABCD มีจดุ ยอดมมุ คือ จดุ A(–6, 10) B(–4, 7) C(3, 8)

และ D(1, 11)จงสร้างรูป ABCD และจงสร้างภาพ(image) ของ ABCD

ทีได้เลือนขนานตามเวกเตอร์ 9
 10

Y

10 X
8 2 4 6 8 10 12 14
6
4
2

6 4 2 0
2

จดุ จากภาพต้นแบบ (pre image) จดุ จากภาพ(image) ข้อสังเกต

A(–6, 10)  __________ __________
__________ __________
B(–4, 7)  __________ __________
__________ __________
C(3, 8) 

D(1, 11) 

กิจกรรมที 6 จากตารางทีกําหนดให้ จงหาจดุ ทีได้จากการเลือนขนานตอ่ ไปนี

จดุ ของรูปต้นแบบ ทิศทางการเลือนขนาน จดุ บนภาพ

(pre image) (image)
A(–2, 8)
เลือนขนานทางซ้าย 12 หนว่ ย
เลือนขนานขนึ บน 5 หนว่ ย

B(–25, 7)  20 
 10
C(1 ,  3)  5
2 4  3 
 1.3 
D(2.4, 5.5 )  7.8 

การแปลงทางเรขาคณิต 6

กิจกรรมที 7 กําหนดภาพต้นแบบดงั รูปข้างลา่ ง จงเขียนภาพ(image)ของรูปต้นแบบเมือเลือนขนานด้วย

ทีได้เลือนขนานตาม  3 และ 3
 4   4 

Y

6

4

2 X

8 6 4 2 0 2468
2
4

6

กิจกรรมที 8 กําหนดจดุ บนภาพต้นแบบ และจดุ บนภาพ(image)ทีได้จากการเลือนขนาน
จงหาทิศทางการเลือนขนานหรือเวกเตอร์ของการเลือนขนาน

จดุ ของรูปต้นแบบ จดุ บนภาพ ทศิ ทางการเลือนขนานหรือเวกเตอร์ของการเลือนขนาน

(pre image) (image)

A(–2, 8) A(3, 5)

B(–25, 7) B(2, 9)

C(1 ,  3) C( 5 ,  13)
2 4 2 4

D(2.4, 5.5 ) D(9, 10)

E(2x, y) E(2x  5, y  3)

การแปลงทางเรขาคณติ 7

สรุป การเลือนขนาน(Translation)

สมบัตกิ ารเลือนขนานดังนี

1 กําหนดด้วยทิศทางและขนาดทีเรียกวา่ เวกเตอร์

2. แตล่ ะจดุ ทีสมนยั กนั ระหวา่ งรูปต้นแบบ(pre image)กบั ภาพ(image)มีระยะหา่ งเทา่ กนั

3. รูปต้นแบบและรูปทีได้จากการเลือนขนานจะเทา่ กนั ทกุ ประการ

นนั คือการเลือนขนานจะไมท่ ําให้รูปร่างและขนาดของรูปต้นแบบเปลียนแปลง

เทคนิคการเลือนขนาน
1. การเลือนจดุ ไปในแนวทแยงจะประกอบด้วยการเลือนทางขนานในแนวระดบั และแนวดงิ

2. ถ้าเลือนจดุ (a, b) ไปทางขวา h หนว่ ย ไปด้านบน k หนว่ ย

จะได้จดุ ใหมจ่ ากการเลือนคือ (a + h, b + k)

3. ถ้าเลือนจดุ (a, b) ไปทางซ้าย h หนว่ ย ไปด้านบน k หนว่ ย

จะได้จดุ ใหมจ่ ากการเลือนคือ (a – h, b + k)

4. ถ้าเลือนจดุ (a, b) ไปทางขวา h หนว่ ย ไปด้านล่าง k หนว่ ย

จะได้จดุ ใหมจ่ ากการเลือนคือ (a + h, b – k)

5. ถ้าเลือนจดุ (a, b) ไปทางซ้าย h หนว่ ย ไปด้านล่าง k หนว่ ย

จะได้จดุ ใหมจ่ ากการเลือนคือ (a – h, b – k)

6. การหาทิศทางการเลือนขนานหรือเวกเตอร์ทีใช้เลือนขนาน

เมือทราบจดุ ในภาพต้นแบบคอื จกุ A(a, b) และจดุ บนภาพ(image) คือจดุ A(a, b)

จะได้เวกเตอร์คือ  a  a  ( image ลบด้วย pre image )
 b  b 

การแปลงทางเรขาคณิต 8

ใบงานที 1
การเลือนขนาน

วนั ที …….. เดอื น ………………… พ.ศ. ………….

1. ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการเลือนรูปต้นแบบตามทิศทางทีกําหนดแตล่ ะข้อตอ่ ไปนี


             c      
  a      b         d   
























การแปลงทางเรขาคณิต 9

2. จงเลือนขนานรูปสามเหลียม ABC ไปด้วยเวกเตอร์ตอ่ ไปนี

a c
bB

A
C

3. จงอธิบายวา่ รูปตอ่ ไปนีเกิดจากการเลือนขนานด้วยเวกเตอร์ใด
รูป 1 รูป 2

รูป 3

รูป 4

จงตอบคําถามตอ่ ไปนี จดุ บนภาพ ทศิ ทางการเลือนขนานหรือเวกเตอร์ของการเลือนขนาน
จดุ ของรูปต้นแบบ
(image)
(pre image)
รูปที 3
รูปที 1 รูปที 4
รูปที 2 รูปที 1
รูปที 3 รูปที 3
รูปที 4 รูปที 1
รูปที 2

การแปลงทางเรขาคณิต 10

4. กําหนด  ABC มีพกิ ดั เป็ น A(-1,2) , B(0,-2) และ C(7,3) จงวาดรูป  ABC

ซงึ เกิดจากเลือนขนานรูป  ABC ไปทางขวา 4 หนว่ ยและเลือนลง 3 หนว่ ย

Y
6

X

-1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

-6

จดุ A คอื ................................. จดุ B คอื ............................ จดุ C คือ ................................

5. กําหนดรูป ABCD มีจดุ ยอดมมุ คือ จดุ A(12, 10) B(14, 7) C(8, 5) และ D(10, 10)
จงสร้างรูป ABCD และจงสร้างภาพ(image) ของ ABCD

ทีได้เลือนขนานตามเวกเตอร์  8 
 12

Y

10 X
8 2 4 6 8 10 12 14
6
4
2

6 4 2 0
2

การแปลงทางเรขาคณิต 11

6. จงหาพกิ ดั ของจดุ ตอ่ ไปนีทีเกิดจากการเลือนขนาน

(1) เลือนจดุ (2,3) ไปทางขวา 3 หนว่ ย และเลือนลง 4 หนว่ ย

จะได้พิกดั ของจดุ ใหมเ่ ป็น ..............................................

(2) เลือนจดุ (-2,-1) ไปทางขวา 4 หนว่ ย และเลือนขนึ 5 หนว่ ย

จะได้พกิ ดั ของจดุ ใหมเ่ ป็น ..............................................

(3) เลือนจดุ (0,-7) ไปทางซ้าย 5 หนว่ ย และเลือนลง 7 หนว่ ย

จะได้พกิ ดั ของจดุ ใหมเ่ ป็น ..............................................

(4) เลือนจดุ (-3,8) ไปทางซ้าย 10 หนว่ ย และเลือนขนึ 9 หนว่ ย

จะได้พิกดั ของจดุ ใหมเ่ ป็น ..............................................

7. กําหนดรูป ABC มีจดุ ยอดมมุ คอื จดุ A(–6, 10) B(–3, 6) C(–4, 11) และ D(2, 8)
(1) จงสร้างรูป ABC
(2) ถ้า A(3,2) เป็ นภาพ(image)ของจดุ A จงสร้างภาพ(image) ของ ABC

Y

10 X
8 2 4 6 8 10 12 14
6
4
2

6 4 2 0
2

8. กําหนดจดุ บนภาพต้นแบบ และจดุ บนภาพ(image)ทีได้จากการเลือนขนาน

จงหาทิศทางการเลือนขนานหรือเวกเตอร์ของการเลือนขนาน

จดุ ของรูปต้นแบบ จดุ บนภาพ เวกเตอร์ของการเลือนขนาน

(pre image) (image)

A(8, –2) A(12, 5)

B(–3, 7) B(9, 15)

C( 3a , 5a ) D(3a,  2a)

D(x+y, y–x) E(x 2  y, y 5  x)

การแปลงทางเรขาคณิต 12

9. กําหนดจดุ A, B เป็ นจดุ บนภาพ(image)ทีได้จากการเลือนขนานของจดุ A, B

ซงึ เป็นจดุ บนรูปต้นแบบ ตามลําดบั จงหาคําตอบในแตล่ ะข้อตอ่ ไปนี
(1) ถ้า A(1,2) , A(3, 4) , B(2, 3) , B(x  2, 3y) จงหาคา่ ของ x และ y

………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………..

(2) ถ้า A(1,2) , A(3,5) , B(2  x,5) , B(8, 3  y) จงหาคา่ ของ x และ y

………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………..

(3) ถ้า A(x,2) , A(4, y  3) , B(3,10) , B(2x  1, 2) จงหาคา่ ของ x และ y

………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………..

(4) ถ้า A(5,2y) , A(3x, 7) , B(13, y) , B(2x  1, 12) จงหาคา่ ของ x และ y

………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………..

10. กําหนดรูป ABC โดยทีมีรูป PQR เป็ นภาพของการเลือนขนาน
ให้จดุ P , Q และ R เป็ นจดุ ทีจากการเลือนขนาน จดุ A , B และ C ตามลําดบั
ถ้า A(–1, 1) , C(–3, 3) , Q(2, 2) และ R(0, 0)

จงวาดกราฟของรูป ABCและ PQR พร้อมทงั หาผลบวกพืนทีของสามเหลียมทงั สอง

การแปลงทางเรขาคณิต 13

11. กําหนดภาพต้นแบบดงั รูปข้างลา่ ง จงเขียนภาพ(image)ของรูปต้นแบบเมือเลือนขนานด้วย

(1) จงเลือนขนานรูปต้นแบบรูปที 1 ด้วยเวกเตอร์ 3 และเลือนขนานภาพทีได้ด้วยเวกเตอร์เดมิ


 3 
 

ตอ่ ไปอีก จนได้ภาพครบ 6 ภาพ

(2) จงเลือนขนานรูปต้นแบบรูปที 1 ด้วยเวกเตอร์  3 และเลือนขนานภาพทีได้ด้วยเวกเตอร์เดมิ


 3 

ตอ่ ไปอีก จนได้ภาพครบ 6 ภาพ

Y X
6
4 2468
2

8 6 4 2 0
2
4
6

การแปลงทางเรขาคณติ 14

2. การสะท้อน(Reflection)

การสะท้อน เป็ นการแปลงแบบหนงึ ทีจดุ ทกุ จดุ บนระนาบของรูปต้นแบบเคลือนทีข้ามเส้นตรงเส้นหนงึ
ซงึ เปรียบเสมือนกระจกหรือเรียกวา่ เส้นสะท้อน โดยทีเส้นนีจะแบง่ ครึงและตงั ฉากกบั ส่วนของเส้นตรงทีเชือม
ระหวา่ งแตล่ ะจดุ จดุ บนรูปต้นแบบและแตล่ ะจดุ บนภาพทีสมนยั กนั

อยา่ งในชีวิตประจําวนั เชน่ รถพยาบาลฉกุ เฉินของโรงพยาบาลตา่ งๆ

จากความหมายของการสะท้อนข้างต้น อธิบายได้ด้วยรูปดงั นี

l

P P

Q Q

S S

จากรูป
กําหนดเส้นตรง l เป็ นเส้นสะท้อน และ P, Q และ S เป็ นจดุ บนระนาบจะมีจดุ P, Q และ S
เป็นภาพทีได้จากการสะท้อนจดุ P, Q และ S ตามลําดบั โดยที
1. ถ้าจดุ ของรูปต้นแบบไมอ่ ยบู่ นเส้นสะท้อน จะได้ว่าเส้นสะท้อนจะแบง่ ครึงและตงั ฉากกบั ส่วนของ
เส้นตรงทีเชืองระหวา่ งจดุ ของภาพและจดุ ของรูปต้นแบบ

เชน่ จากรูปข้างต้น
จดุ P ไมอ่ ยบู่ นเส้นตรง l แล้วเส้นตรง l จะแบง่ ครึงและตงั ฉากกบั PP
จดุ Q ไมอ่ ยบู่ นเส้นตรง l แล้วเส้นตรง l จะแบง่ ครึงและตงั ฉากกบั QQ

2. ถ้าจดุ ของรูปต้นแบบอยบู่ นเส้นสะท้อน จะได้วา่ จดุ ของภาพและจดุ ของรูปต้นแบบเป็นจดุ เดยี วกนั
เชน่ จากรูปข้างต้น
จดุ S อยบู่ นเส้นตรง l แล้วจดุ S และจดุ S เป็ นจดุ เดียวกนั

การแปลงทางเรขาคณติ 15

กจิ กรรมที 1 ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนจดุ แตล่ ะจดุ จากรูปต้นแบบ

เมือกําหนดให้ l เป็นเส้นสะท้อนในแตล่ ะข้อตอ่ ไปนี

(1) (2)
l
R

B C P l
A D
Q S

กิจกรรมที 2 ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนจดุ แตล่ ะจดุ จากรูปต้นแบบ
เมือกําหนดให้ l เป็นเส้นสะท้อนในแตล่ ะข้อตอ่ ไปนี

(1) (2)

A l l P R

C
B

S

Q

D 

การแปลงทางเรขาคณติ 16

กจิ กรรมที 3 ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนรูปต้นแบบแตล่ ะรูป

เมือกําหนดให้ l เป็นเส้นสะท้อน

l

กิจกรรมที 4 ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนรูปต้นแบบแตล่ ะรูป
เมือกําหนดให้ l เป็นเส้นสะท้อน

l

การแปลงทางเรขาคณติ 17

กจิ กรรมที 5 ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนรูปต้นแบบแตล่ ะรูป เมือ lเป็ นเส้นสะท้อน

l

กจิ กรรมที 6 กําหนดให้ l1 l2 เป็ นเส้นสะท้อน
ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนรูปต้นแบบทีกําหนดให้เทียบกบั เส้น l1
และสะท้อนภาพแรกทีได้เทียบกบั l2

l1 l2

ข้อสงั เกต ……………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………...

การแปลงทางเรขาคณติ 18

การสะท้อนในระบบพกิ ดั แกนมุมฉาก

ในระบบแกนมมุ ฉาก เราสามารถกําหนดจดุ บนระนาบได้ด้วยคอู่ นั ดบั (x, y)
และตอ่ ไปนีจะกลา่ วถงึ การสะท้องในระบบแกนมมุ ฉาก ให้นกั เรียนศกึ ษากิจกรรมทีและหาข้อสรุป

กิจกรรมที 7 กําหนดรูป ABC มีจดุ A(–10, –4), B(–4, 2) และ C(–6, 6)
(1) จงสร้างรูปABC
(2) โดยให้แกน Y เป็ นแกนสะท้อน จงสร้างภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนของABC

Y 2 4 6 8 10 12 X

6
4
2

12 10 8 6 4 2 0
2
4
6

จากภาพทีสร้ างได้ ข้อสังเกต
จดุ จากรูปต้นแบบ(pre image) จดุ จากภาพ(image)
______________________
A(–10, –4)  __________ ______________________
______________________
B(–4, 2)  __________

C(–6, 6)  __________

สรุปแนวคดิ การสะท้อน เมือมรแกน X เป็ นแกนสะท้อน นกั เรียนพบวา่ …………………………………

……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………...

การแปลงทางเรขาคณติ 19

กิจกรรมที 8 กําหนดรูป ABCD มีจดุ A(–8, –2), B(–4, 4), C(10, 2) และ D(3, –6)

(1) จงสร้างรูป ABCD

(2) โดยให้แกน X เป็ นแกนสะท้อน จงสร้างภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนของ ABCD

Y

6
4
2

12 10 8 6 4 2 0 2 4 6 8 10 12 X
2
4
6

จดุ จากรูปต้นแบบ(pre image) จดุ จากภาพ(image) ข้อสังเกต

A(–8, –2)  __________ ______________________
______________________
B(–4, 4)  __________ ______________________
______________________
C(10, 2)  __________

D(3, –6)  __________

สรุปแนวคดิ การสะท้อน เมือมรแกน X เป็ นแกนสะท้อน นกั เรียนพบวา่ …………………………………

……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………...

สรุป Y
จาก กิจกรรมที 7 และกิจกรรมที 8
P(a, b)
จดุ P สะท้อนเทียบกบั แกน X จะได้ 

…………………………………………… 0X

จดุ P สะท้อนเทียบกบั แกน Y จะได้

……………………………………………

การแปลงทางเรขาคณติ 20

กจิ กรรมที 9 กําหนดรูป ABC มีจดุ A(8, 2), B(10, –6) และ C(16, 6)

(1) จงสร้างรูปABC

(2) ให้เส้นตรง x = 5 เป็ นแกนสะท้อน จงสร้างภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนของABC

Y

6 X
4
2 24 6 8 10 12 14 16

8 6 4 2 0
2
4
6

กจิ กรรมที 10 กําหนดรูป PQRS มีจดุ P(–6, –3), Q(–2, 4) R(4, 2) และ S(10, 0)
(1) จงสร้างรูป PQRS
(2) ให้เส้นตรง y = –3 เป็ นแกนสะท้อน จงสร้างภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อน PQRS

Y X
4
2 2 4 6 8 10 12 14 16

8 6 4 2 0
2
4
6
8

การแปลงทางเรขาคณติ 21

กจิ กรรมที 11 กําหนดรูป ABC มีจดุ A(4, –5), B(7, 0) และ C(12, 2)

(1) จงสร้างรูปABC

(2) ให้เส้นตรง l เป็ นแกนสะท้อน จงสร้างภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนของABC

Yl

6 X
4
2 24 6 8 10 12 14 16

8 6 4 2 0
2
4
6

กจิ กรรมที 12 กําหนดรูป PQRS มีจดุ P(4, –2), Q(4, 5) R(10, 3) และ S(12, –4)
(1) จงสร้างรูป PQRS
(2) ให้เส้นตรง l เป็ นแกนสะท้อน จงสร้างภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อน PQRS

lY

4

2 X

8 6 4 2 0 2 4 6 8 10 12 14 16
2
4
6
8

การแปลงทางเรขาคณิต 22

กจิ กรรมที 13 จงพจิ าณาวา่ รูป ข เป็ นภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนเพียงครังเดียวของรูป ก หรือไม่

หากเป็นภาพทีเกิดจากการสะท้อนให้นกั เรียนเขียนเส้นสะท้อน

(1) (2)

(3) (4)

(5) (6)

(7) (8)

การแปลงทางเรขาคณติ 23

กิจกรรมที 14 ในแตล่ ะข้อตอ่ ไปนี ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนรูปต้นแบบ

เมือ lเป็นเส้นสะท้อน

l

l
l

จากกิจกรรมที 14 ค้นพบวา่ ………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….

การแปลงทางเรขาคณติ 24

สรุป การสะท้อน (Reflection) มีสมบตั ดิ งั นี

1. การสะท้อนเป็นการเปลียนแปลงตําแหนง่ อนั เป็ นผลจากการพลิก ซงึ กําหนดด้วยเส้นสะท้อน

2. ระยะหา่ งจากจดุ ต้นแบบกบั เส้นสะท้อน เทา่ กบั ระยะจากจดุ ทีได้จากการสะท้อนกบั เส้นสะท้อน

3. รูปทีมีเส้นสะท้อนอยภู่ ายในและสะท้อนได้รูปเดมิ เรียกวา่ รูปสมมาตร

และเรียกเส้นสะท้อนนนั วา่ แกนสมมาตร

4. รูปทีได้จากการสะท้อนขนาดเทา่ เดมิ รูปร่างเหมือนเดมิ และเทา่ กนั ทกุ ประการ

5. เส้นสะท้อนจะแบง่ ครึงและตงั ฉากกบั สว่ นของเส้นตรงทีเชือมระหวา่ งจดุ แตล่ ะจดุ บนรูปต้นแบบ

กบั จดุ บนรูปทีได้จากการสะท้อนทีสมนยั กนั

6. ถ้ามี x = h เป็ นเส้นสะท้อน จะได้วา่ คา่ y ของจดุ ทีได้จากการสะท้อนคงเดมิ

แตค่ า่ x เปลียนไป m = 2|a – h| จากคา่ เดมิ ในด้านตรงข้ามของเส้นสะท้อนกบั จดุ ต้นแบบ

x=h

(a, b) (a + m, b)

(c – m, d) (c, d)

7. ถ้ามี y = k เป็ นเส้นสะท้อน จะได้วา่ คา่ x ของจดุ ทีได้จากการสะท้อนคงเดมิ
แตค่ า่ y เปลียนไป n = 2|b – k| จากคา่ เดมิ ในด้านตรงข้ามของเส้นสะท้อนกบั จดุ ต้นแบบ

(c, d + n)

(a, b)

y=k

(a, b – n)

(c, d)

8. ถ้ามี y = x เป็นเส้นสะท้อน จะได้วา่ จดุ บนภาพทีได้จากการสะท้อนจะสลบั กนั ระหวา่ ง
คา่ x และ y ของจดุ บนต้นแบบ เชน่ สะท้อนจดุ (–2, 4)  (4, –2)

9. การหาเส้นสะท้อน
(1) ถ้าคา่ y เปลียนแปลงแสดงวา่ เส้นสะท้อนคือ y = k
เมือ k = ผลบวกของคา่ y ของจดุ ทีสมนยั กนั แล้วหารสอง
(2) ถ้าคา่ x เปลียนแปลงแสดงว่าเส้นสะท้อนคอื x = h
เมือ h = ผลบวกของคา่ x ของจดุ ทีสมนยั กนั แล้วหารสอง
(3) ถ้าคา่ x และ y ของจดุ ต้นแบบและจดุ ทีได้จากการสะท้อนสลบั กนั แสดงวา่ เป็นการ
สะท้อนด้วย y = x

การแปลงทางเรขาคณิต 25

ใบงานที 2
การสะท้อน

วนั ที …….. เดอื น ………………… พ.ศ. ………….

1. จงหาเส้นสะท้อนของการสะท้อนในแตล่ ะข้อตอ่ ไปนี (2)

(1)

(3) (4)

(5) (6)

(7) (8)

การแปลงทางเรขาคณติ 26

2. ในแตล่ ะข้อตอ่ ไปนี จงเขียนภาพทีได้จากการสะท้อน เมือกําหนดให้ l เป็นเส้นสะท้อน

(1) (2)

l l

(3) (4)

l l

(5) (6)

l l

(7) (8)

l l

การแปลงทางเรขาคณติ 27

3. กําหนดรูปต้นแบบ 2 รูป และให้ l1 l2 เป็ นเส้นสะท้อน
ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนรูปต้นแบบทีกําหนดให้เทียบกบั เส้น l1
และสะท้อนภาพแรกทีได้เทียบกบั l2

l1

l2

4. กําหนดให้ l1 l2, l3, l4 เป็ นเส้นสะท้อน

ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนรูปต้นแบบทีกําหนดให้เทียบกบั เส้น l1
และสะท้อนภาพแรกทีได้เทียบกบั l2 และสะท้อนภาพทีสองทีได้เทียบกบั l3
ทําเชน่ นีเรือยๆไป จนกวา่ ภาพทีได้จากการสะท้อนจะกลบั มาเป็ นภาพต้นแบบดงั เดมิ

l1 l2 l3

l4

การแปลงทางเรขาคณิต 28

ใบงานที 3
การเลือนขนาน

วนั ที …….. เดือน ………………… พ.ศ. ………….

1. กําหนดรูป ABCD มีจดุ A(2, 0), B(–4, 4), C(6, 6) และ D(2, 3) จงสร้างรูป ABCD
และ โดยให้แกน X เป็ นเส้นสะท้อน จงสร้างภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนของ ABCD

Y

6 2 4 6 8 10 12 X
4
2

12 10 8 6 4 2 0
2
4
6

2. กําหนดรูป PQRS มีจดุ P(–2, –4), B(–10, 0), C(–6, 6) และ D(–4, 2) จงสร้างรูป PQRS
และโดยให้แกน Y เป็ นเส้นสะท้อน จงสร้างภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนของ PQRS

Y

6 2 4 6 8 10 12 X
4
2

12 10 8 6 4 2 0
2
4
6

การแปลงทางเรขาคณิต 29

3. กําหนดรูปต้นแบบ

และโดยให้แกน Y เป็ นเส้นสะท้อน จงสร้างภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อน

Y

10
8
6
4
2

12 10 8 6 4 2 0 2 4 6 8 10 12 X
2
4

4. กําหนดรูปต้นแบบ y2
และโดยให้เส้นตรง y = 2 เป็ นเส้นสะท้อน จงสร้างภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อน
X
Y
8

6

4

2

12 10 8 6 4 2 0 2 4 6 8 10 12
2
4
6

การแปลงทางเรขาคณติ 30

5. กําหนดรูปต้นแบบ

และโดยให้เส้นตรง x = 3 เป็ นเส้นสะท้อน จงสร้างภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อน

Y

x3

10

8

6

4

2

12 10 8 6 4 2 0 2 4 6 8 10 12 X
2
4

6. กําหนดรูปต้นแบบ
และโดยให้เส้น l เป็ นเส้นสะท้อน จงสร้างภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อน

Y

l8

6
4

2

12 10 8 6 4 2 0 2 4 6 8 10 12 X
2
4
6

การแปลงทางเรขาคณติ 31

7. จงตอบตําถามตอ่ ไปนี

(1) กําหนดให้จดุ P(1, 2) เป็ นภาพทีได้จากการสะท้อนจดุ A(1, –6) จงหาเส้นสะท้อน

……………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………….

(2) กําหนดให้จดุ P(–1, –4) เป็ นภาพทีได้จากการสะท้อนจดุ A( –9, –4) จงหาเส้นสะท้อน

……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….

(3) กําหนดให้จดุ P(3, 6) เป็ นภาพทีได้จากการสะท้อนจดุ A(3, 18) จงหาเส้นสะท้อน

……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….

(4) กําหนดให้จดุ P(–14, 4) เป็ นภาพทีได้จากการสะท้อนจดุ A( –2, 4) จงหาเส้นสะท้อน

……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….

(5) กําหนดให้จดุ P(3, 6) เป็ นภาพทีได้จากการสะท้อนจดุ A(6, 3) จงหาเส้นสะท้อน

……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….

(6) กําหนดให้จดุ P(–14, 4) เป็ นภาพทีได้จากการสะท้อนจดุ A( 4, –14) จงหาเส้นสะท้อน

……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….

(7) กําหนดให้จดุ P(–2, 4) เป็ นภาพทีได้จากการสะท้อนจดุ A(–4, 2) จงหาเส้นสะท้อน

……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….

(8) กําหนดให้จดุ P(8, 5) เป็ นภาพทีได้จากการสะท้อนจดุ A( –5, –8) จงหาเส้นสะท้อน

……………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………….

การแปลงทางเรขาคณิต 32

3. การหมุน(Rotation)

การหมุน (Rotation) เป็ นการแปลงทีจดุ ทกุ จดุ ของรูปต้นแบบเคลือนทีไปเป็ นมมุ เดียวกนั รอบจดุ ตรึง
อยกู่ บั ทีทีกําหนดหรือเรียกวา่ จุดหมุน การหมนุ จะทวนเขม็ นาฬกิ าหรือตามเข็มนาฬิกา ตามขนาดของมมุ
และทิศทางทีต้องการหมนุ โดยทวั ไปถ้าไมร่ ะบทุ ิศทางการหมนุ จะถือวา่ เป็นการหมนุ ทวนเข็มนาฬิกา

ตวั อยา่ งสิงตา่ งๆทีเกียวกบั การหมนุ เชน่

จากความหมายของของการหมนุ ข้างต้น อธิบายดงั รูป

การหมนุ บนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตทีมีจดุ O

ทีตรึงจดุ หนงึ เป็นจดุ หมนุ แตล่ ะจดุ P บนระนาบ

P  P มีจดุ P เป็ นภาพทีได้จากการหมนุ จดุ P รอบจดุ O
ตามทิศทางทีกําหนดด้วยมมุ ขนาด k องศา โดยที

1. ถ้าจดุ P ไมใ่ ชจ่ ดุ O (ไมเ่ ป็ นจดุ หมนุ )
k แล้ว OP  OP และขนาดของ POP  k
O 2. ถ้าจดุ P เป็ นจดุ เดยี วกบั จดุ O

แล้วจดุ P และ P เป็ นจดุ เดียวกนั

ตอ่ ไปนีเป็นรูปแบบการหมนุ ทีแบง่ ตามตาํ แหนงึ ของจดุ หมนุ A
กรณีที 1 กําหนดให้ O เป็นจดุ หมนุ ทีอยบู่ นรูปต้นแบบ

A B

B B B 60 A
60 60 C O
O A 60

60

กรณีที 2 กําหนดให้ O เป็นจดุ หมนุ ทีไมอ่ ยบู่ นรูปต้นแบบ A C
C
A

B C B B
A
A
B

O C O

C

การแปลงทางเรขาคณิต 33

กิจกรรมที 1 กําหนดจดุ P, Q, R เป็ นรูปต้นแบบ โดยให้จดุ O เป็ นจดุ หมนุ
จงหาภาพทีได้จากการหมนุ รอบจดุ O ทวนเขม็ นาฬกิ าด้วยมมุ ขนาด k

(1)

P
Q

k 

O

R

(2)

k

O
P

R Q

จากกิจกรรมที 2 พบวา่ ………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..

การแปลงทางเรขาคณิต 34

กิจกรรมที 2 กําหนดรูป ABC เป็ นรูปต้นแบบ โดยให้จดุ O เป็ นจดุ หมนุ

จงหาภาพของ ABC ทีได้จากการหมนุ รอบจดุ O ทวนเข็มนาฬกิ าด้วยมมุ ขนาด k

(1)

CB

A

O

k

(2)

O B

k
A

C

จากกิจกรรมที 2 พบวา่ ………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………..

การแปลงทางเรขาคณติ 35

การหมุนในระบบพกิ ัดฉาก

กิจกรรมที 3 กําหนดรูป ABC มีจดุ A(–8, 2), B(–4, 2), C(–4, 7) จงสร้างภาพของ ABC

ทีได้จากการหมนุ ทวนเขม็ นาฬกิ ารอบจดุ กําเนดิ เป็นมมุ 180

Y

6 2 4 6 8 10 12 X
4
2

12 10 8 6 4 2 0
2
4
6

A(–8, –2)  _______ B(–4, 2)  ______ C(–4, 7)  _______

กจิ กรรมที 4 กําหนดรูป ABCD มีจดุ A(2, 1), B(2, 6), C(5, 6) และ D(5, 1) จงสร้างภาพของ
ABCD ทีได้จากการหมนุ ตามเข็มนาฬกิ ารอบจดุ กําเนิดเป็ นมมุ 180

Y

6
4
2

12 10 8 6 4 2 0 2 4 6 8 10 12 X
2
4
6

A(2, 1)  _____ B(2, 6)  _____ C(5, 6) _____ D(5, 1)  _____

การแปลงทางเรขาคณติ 36

กจิ กรรมที 5 กําหนดรูป ABC มีจดุ A(4, 2), B(9, 4), C(5, 9) จงสร้างภาพของ ABC

ทีได้จากการหมนุ ทวนเข็มนาฬิการอบจดุ กําเนดิ เป็นมมุ 90

Y
10

8

6
4
2

12 10 8 6 4 2 0 2 4 6 8 10 12 X
2

4

A(4, 2)  _______ B(9, 4)  ______ C(5, 9)  _______

กจิ กรรมที 6 กําหนดรูป ABC มีจดุ A(–3, –2), B(–8, –7) และ C(–4, –9) จงสร้างภาพของ
ABC ทีได้จากการหมนุ ตามเขม็ นาฬกิ ารอบจดุ กําเนิดเป็ นมมุ 270

Y

2

12 10 8 6 4 2 0 2 4 6 8 10 12 X
2

4

6

8

10

A(–3, –2)  _______ B(–8, –7)  ______ C(–4, –9)  _______

การแปลงทางเรขาคณติ 37

สรุปจากกจิ กรรม

สมบัตกิ ารหมุน

จากกิจกรรมที 2 ถงึ กิจกรรมที 6 นกั เรียนจะพบสมบตั ิของการหมนุ ดงั นี

(1) รูปต้นแบบกบั ภาพทีได้จากการหมนุ สามารถทบั กบั สนิทพอดี โดยไมต่ ้องพลิกรูป

หรือกลา่ ววา่ รูปต้นแบบกบั ภาพทีได้จากการหมนุ เทา่ กนั ทกุ ประการ

(2) จดุ บนรูปต้นแบบและการภาพทีได้จากการหมนุ จดุ นนั แตล่ ะคจู่ ะอยบู่ นวงกลมเดียวกนั และ

มีจดุ หมนุ เป็นจดุ ศนู ย์กลาง แตว่ งกลมเหลา่ นีไมจ่ ําเป็นต้องมีรัศมียาวเทา่ กนั

B B
A

C A
C

O

การตรวจสอบการหมุน
หรือกลา่ ววา่ ภาพทีได้จากการแปลงรูปต้นแบบจะเป็ นผลจากการหมนุ ก็ตอ่ เมือ

(1) สามารถเลือนรูปต้นแบบทบั กบั ภาพได้สนทิ พอดีโดยไมใ่ ช้การพลิกรูป และ
(2) สามารถหาจดุ หมนุ ได้

การหาจุดของการหมุน

โดยอาศยั สมบตั ขิ องสามเหลียมหน้าจวั ทีวา่

“เส้นแบง่ ครึงและตงั ฉากกบั ด้าน(ทีไมใ่ ช้ด้านคทู่ ีเทา่ กนั ) จะผา่ นจดุ ยอดทีอยตู่ รงข้ามด้านนนั ”

จะสามารถหาจดุ หมนุ ได้ B A

B

C
C A

O

การแปลงทางเรขาคณติ 38

การหาจุดหมุนเมือกาํ หนดรูปต้นแบบและภาพจากการหมุน

กจิ กรรมที 7 กําหนดรูป ABC เป็ นภาพทีได้จากการหมนุ ABC

จงหาจดุ หมนุ ทศิ ทางของการหมนุ และขนาดของมมุ ทีใช้ในการหมนุ (ตอบโดยการเขียนมมุ )

วธิ ีทาํ
แนวคดิ โดยอาศยั วงเวียนและสนั ตรง มีการสร้างดงั นี

(1) ลาก AA

(2) สร้ าง PQ แบง่ ครึงและตงั ฉากกบั AA

(3) ลาก CC

(4) สร้ าง RS แบง่ ครึงและตงั ฉากกบั CC
 
(5) ให้ O เป็นจดุ ตดั ของ PQ และ RS จะได้วา่ O เป็นจดุ หมนุ

(6) ลาก OB และ OB จะได้มมุ BOB เป็ นขนาดของมมุ ในการหมนุ

B A C
C B

A

การแปลงทางเรขาคณิต 39

กจิ กรรมที 8 ในแตล่ ะข้อตอ่ ไปนี กําหนดรูป ABC เป็ นภาพทีได้จากการหมนุ ABC

จงหาจดุ หมนุ ทิศทางของการหมนุ และขนาดของมมุ ทีใช้ในการหมนุ (ตอบโดยการเขียนมมุ )

C
(1)

AB C
A

B

(2) A C
B C B

A

การแปลงทางเรขาคณติ 40

กจิ กรรมที 9 การพจิ ารณาภาพทไี ด้จากการหมุนหรือไม่

ขันตอนการสาํ รวจ

(1) ให้นกั เรียนใช้กระดาษลอกลายรูปต้นแบบ รูป ก

(2) ให้นกั เรียนเลือนรูปต้นแบบทีลอกลายไว้ให้ไปทบั กบั รูป ข

(3) สงั เกตวา่ รูปใดทีสามารถเลือนให้ทบั สนิทโดยไมใ่ ช้การพลิกรูป

(4) ให้นกั เรียนสงั เกตวา่ รูปใดทีสามารถเลือนให้ทบั สนทิ โดยไมพ่ ลกิ สามารถหาจดุ หมนุ ได้หรือไม่

สรุป จากขนั ตอน (1) – (4)

จงพิจาณาวา่ รูป ข ในแตล่ ะข้อตอ่ ไปนีเป็นภาพทีได้จากการหมนุ รูป ก หรือไม่ จงอธิบาย

(1) A
B C

C

B

A

(2) S S

R R
Q

P

(3) M N M N

PQ P Q

การแปลงทางเรขาคณติ 41

ใบงานที 4
การหมุน

วนั ที …….. เดอื น ………………… พ.ศ. ………….

1. จงสร้างภาพทีได้จากการหมนุ รูปตอ่ ไปนีรอบจดุ O ตามทิศทางและขนาดของมมุ ตามทีกําหนดให้
(1) ทวนเข็มนาฬกิ า 45 องศา

O

(2) ตามเขม็ นาฬกิ า 90 องศา

O

(3) ทวนเขม็ นาฬกิ า

O

การแปลงทางเรขาคณิต 42

(4) ตามเข็มนาฬกิ า 90 องศา

O

(5) ทวนเขม็ นาฬิกา 180 องศา

O

(6) ทวนเข็มนาฬกิ า 60 องศา

O

การแปลงทางเรขาคณิต 43

2. ในแตล่ ะข้อตอ่ ไปนี กําหนดรูป ข เป็นภาพทีได้จากการหมนุ ภาพต้นแบบ รูป ก

จงหาจดุ หมนุ และทศิ ทางของการหมนุ

(1)

รูป ข
รูป ก

(2)

รูป ก

รูป ข

(3) รูป ก
รูป ก
รูป ข

(4)

รูป ข

การแปลงทางเรขาคณิต 44

3. กําหนดรูป ABC ดงั รูป จงสร้างภาพของ ABC ทีได้จากการหมนุ ทวนเข็มนาฬิการอบจดุ กําเนดิ

เป็ นมมุ 90 Y

6 2 4 6 8 10 12 X
4 A
2
C
4 2 0 B
2
4
6

4. กําหนดรูป ABC ดงั รูป จงสร้างภาพของ ABC ทีได้จากการหมนุ ทวนเข็มนาฬกิ ารอบจดุ กําเนิด

เป็ นมมุ 180 Y

6

4

2

6 4 2 0 2 46 8 10 X
2 C
B
4

6
A

การแปลงทางเรขาคณติ 45

ใบงานที 5
การหมุน

วนั ที …….. เดือน ………………… พ.ศ. ………….

1. จงหาพกิ ดั ทีได้จากการหมนุ จดุ ตอ่ ไปนีบนระนาบรอบจดุ กําเนดิ O(0, 0)

รูปต้นแบบ ตามเข็มนาฬกิ าด้วย ภาพทีจากการหมนุ ตามเข็มนาฬกิ าด้วย
มมุ 180 ทวนเขม็ นาฬิกาด้วย มมุ 90
A(3, 6)
B(–2, –5) มมุ 90
C(–3, 7)
D(8, -6)

E(4, 8)
F(0, –5)
G(–6,0)

2. จากข้อ 1 จงเขียนทกุ จดุ ทีเป็ นรูปต้นแบบ และภาพทีได้จากการหมนุ ทงั หมดลงบนแกน XY เดียวกนั

Y

6
4
2

12 10 8 6 4 2 0 2 4 6 8 10 12 X
2
4
6

การแปลงทางเรขาคณติ 46

3. กําหนดรูป ABO ดงั รูป จงสร้างภาพของABO ทีได้จากการหมนุ ทวนเข็มนาฬกิ ารอบจดุ O(0,0)

เป็ นมมุ 90 และหมนุ ภาพทีสร้างได้รอบจดุ O ทวนเขม็ นาฬิกาเป็ นมมุ 90 และทําเชน่ นีอีก 2 ครัง

Y

6 B
4
A
2 46

6 4 2 0 O 2 8 10 X
2

4

6

3. กําหนดรูปต้นแบบดงั รูป จงสร้างภาพ ทีได้จากการหมนุ ทวนเขม็ นาฬกิ ารอบจดุ O(0,0)เป็ นมมุ 45
และหมนุ ภาพทีสร้างได้รอบจดุ O ทวนเขม็ นาฬิกาเป็นมมุ 45 และทําเชน่ นีจํานวน 7 ครัง

Y

6

4

2

8 6 4 2 OX
2 4 6 8 10

2

4

6

การแปลงทางเรขาคณติ 47

4. ความสัมพนั ธ์ระหว่างการเลือนขนาน การสะท้อน และการหมุน

ให้นกั เรียนสํารวจแนวคดิ ความสมั พนั ธ์การการแปลงแบบตา่ งๆ จากการทํากิจกรรมตอ่ ไปนี
กิจกรรมที 1 กําหนดให้ l1 l2 เป็ นเส้นสะท้อนทีขนานกนั

ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการสะท้อนรูปต้นแบบทีกําหนดให้เทียบกบั เส้น l1
และสะท้อนภาพแรกทีได้เทียบกบั l2

(1)

l2 l1

(2) l1

l2

การแปลงทางเรขาคณิต 48

(3) l1

l2

(4)

l1

l2

ข้อสงั เกต ……………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………...

การแปลงทางเรขาคณติ 49

กจิ กรรมที 2 กําหนดให้ l1 l2 เป็ นเส้นสะท้อน และกําหนดให้ P เป็ นจดุ ของการหมนุ
ให้นกั เรียนเขียนภาพ(image)ทีได้จากการหมนุ ตามเข็มนาฬิกา 180 รอบจดุ P

แล้วสะท้อนภาพทีได้เทียบกบั เส้น l1 แล้วนําภาพทีสะท้อนได้สะท้อนเทียบกบั l2

l1

l2


P

กจิ กรรมที 3 กําหนดให้รูปต้นแบบและภาพทีได้จากการแปลงทางเรขาคณิต
จงหาเวกเตอร์การเลือนขนาน หรือเส้นสะท้อน หรือจดุ ของการหมนุ

Y

4 ภาพ
2
6 4 2 0 X
2468

2

รูปต้นแบบ

4

6