เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3 พลเมืองดิจิทัล

ค่มู อื คร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมท่ี 5 | โรงเรียนอจั ฉริยะ 45 เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) 2 ใหน้ กั เรยี นสรา้ งระบบการเปดิ ปดิ ไฟในหอ้ งเรยี น โดยถา้ มนี กั เรยี นเดนิ เขา้ มาในหอ้ งใหไ้ ฟเปดิ อตั โนมตั ิ และถ้าไม่มผี ใู้ ดอยู่ในหอ้ งใหไ้ ฟปดิ อตั โนมัติ พร้อมควบคมุ ปรมิ าณแสง ถ้ามแี สงมากให้เปิดไฟครงึ่ ห้อง แต่ถา้ แสงสวา่ งน้อยให้เปิดไฟท้ังห้อง 2.1 การออกแบบระบบ 2.2 อปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการสรา้ งระบบ ลักษณะการใช้งาน อปุ กรณ์ 2.3 กลุ่มบล็อกคำ�สั่งท่ใี ช้ ลกั ษณะการใช้งาน บล็อกค�ำ สัง่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

46 กจิ กรรมที่ 5 | โรงเรยี นอจั ฉริยะ ค่มู ือครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) 2.4 ขน้ั ตอนการท�ำ งานของโปรแกรม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือคร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมท่ี 5 | โรงเรยี นอัจฉรยิ ะ 47 เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) ใบกิจกรรมท่ี 5.4 (ก) ระบบควบคมุ หอ้ งเรยี นผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ ดว้ ย beebotte 1 ชอ่ื -สกลุ เลขที่ 2 ช่ือ-สกุล เลขที่ 1 ใหน้ กั เรียนสร้างระบบการเปิด-ปิดเครอ่ื งปรบั อากาศในห้องเรียน oho.ipst.ac.th/m6/5411 (จ�ำ ลอง NeoPixel เป็นไฟแสดงสถานะของเครื่องปรับอากาศ) ทสี่ ามารถควบคุมผ่านอินเทอร์เน็ตหรอื สมารต์ โฟนได้ โดยมอี ีเวนต์ท่ี ใช้งานดงั นี้ 1 สรา้ งระบบควบคมุ https://beebotte.com/ 2 ต้งั คา่ เชื่อมตอ่ กบั โปรแกรม รหัส wifi ช่อื wifi Secret Key https://beebotte.com/ ชือ่ อปุ กรณ์ ชื่อ Resource ทีใ่ ช้เกบ็ ขอ้ มลู ใน beebotte สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

48 กิจกรรมท่ี 5 | โรงเรยี นอจั ฉริยะ คูม่ อื ครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) 3 หนา้ จอ OLED แสดงผล Air off เมอื่ ปิดเครื่องปรับอากาศ และแสดงผล Air on เมอ่ื เปิดเครื่องปรบั อากาศ ตดั คา่ ขอ้ ความจาก beebotte จ�ำ ลองเปดิ เครือ่ งปรบั อากาศ จำ�ลองปิดเครอ่ื งปรับอากาศ 2 ให้นกั เรยี นสรา้ งห้องเรียนเพิม่ อีก 1 ห้อง โดยระบบควบคมุ การเปิด-ปิด ยงั สามารถควบคมุ เครอื่ งปรับอากาศไดท้ ้ัง 2 หอ้ ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื คร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมท่ี 5 | โรงเรยี นอจั ฉรยิ ะ 49 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) ใบกิจกรรมท่ี 5.4 (ข) ระบบควบคุมหอ้ งเรยี นผ่านอนิ เทอรเ์ นต็ ดว้ ย hivemq 1 ชือ่ -สกุล เลขท่ี 2 ชอ่ื -สกลุ เลขที่ 1 ให้นักเรียนสร้างระบบการเปิด-ปิดเคร่ืองปรับอากาศในห้องเรียน ท่ี สามารถควบคุมโดยใช้อุปกรณ์ท่ีอยู่อีกห้องหน่ึง ผ่านอินเทอร์เน็ตได้ โดยมขี ้ันตอนการท�ำ งานดังน้ี 1.1 ตง้ั ค่าเช่อื มตอ่ กับ hivemq.com oho.ipst.ac.th/m6/5412 HOST = broker.hivemq.com PORT = 1883 ตั้งช่อื MQTT SUBSCRIBE (Topic) ตอ้ งไมซ่ ้ำ�กัน เช่น ชือ่ โรงเรียน/ชือ่ อุปกรณ์ เปน็ ต้น 1.2 เขยี นโปรแกรมควบคมุ เคร่อื งปรับอากาศ ผา่ น hivemq.com ตรวจสอบช่อื อปุ กรณ์จาก hivemq ตรวจสอบสถานะจาก hivemq จำ�ลองเปิดเครือ่ งปรบั อากาศ จ�ำ ลองปิดเคร่ืองปรบั อากาศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

50 กจิ กรรมท่ี 5 | โรงเรยี นอจั ฉรยิ ะ ค่มู อื ครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) ตรวจสอบการกดปมุ่ แจ้งสถานะปิดกบั hivemq แจง้ สถานะเปดิ กับ hivemq 3 ใหน้ กั เรยี นสร้างหอ้ งเรยี นเพิ่มอกี 1 ห้อง โดยระบบควบคมุ การเปดิ -ปิด ยงั สามารถควบคมุ เครอ่ื งปรบั อากาศได้ทงั้ 2 หอ้ ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือคร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 6 | AR - VR 51 เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) คาบท่ี 29 - 32 | เวลา 4 ชวั่ โมง กิจกรรมท่ี 6 AR - VR 1 ตวั ชี้วดั 5 ความรเู้ ดมิ ท่นี ักเรียนต้องมี ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำ�เสนอและ - แบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรม และ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมี 6 สาระสำ�คัญ ผลต่อการด�ำ เนนิ ชวี ติ อาชีพ สงั คม และวฒั นธรรม Augmented Reality (AR) หรอื ความเปน็ จริงเสริม เป็นการรวมสภาพแวดล้อมจริงกับวัตถุ 2 สาระการเรยี นรู้ เสมือนเข้าด้วยกัน กระบวนการทำ�งานของ AR 2.1 แนวคดิ และความส�ำ คญั ของเทคโนโลย ี เป็นการนำ�เข้าสภาพแวดล้อมจริงผ่านกล้องถ่ายรูป AR และ VR ซึ่งจะนำ�ไปแสดงเป็นฉากหลัง และเพิ่มวัตถุเสมือน 2.2 การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี AR และ VR ซอ้ นทบั ฉากหลงั เพอื่ ใหไ้ ดภ้ าพซอ้ นทบั ทเ่ี สมอื นจรงิ Virtual Reality (VR) หรือความเป็นจริง 3 จดุ ประสงค์ ให้ผเู้ รียนสามารถ เสมือน เป็นเทคโนโลยีที่นำ�เสนอภาพและเน้ือหาท่ี 3.1 อธิบายแนวคิดและความสำ�คัญของ สร้างด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อจำ�ลองโลกในความจริง เทคโนโลยี AR และ VR โดยมีจุดมุ่งหมายให้ผู้ใช้รู้สึกเสมือนอยู่ในสภาพ 3.2 ค้นหาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยี AR แวดลอ้ มจรงิ ผา่ นประสาทสมั ผสั ตา่ ง ๆ เชน่ การมอง และ VR เห็น การไดย้ ิน การสัมผสั 4 ทักษะและกระบวนการ 4.1 ทกั ษะการวเิ คราะห์ 4.2 ทกั ษะการแก้ปัญหา 4.3 ทักษะการส่ือสารและการรว่ มมอื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

52 กจิ กรรมที่ 6 | AR - VR คูม่ ือครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) 7 สอ่ื และอุปกรณ์ 7.1 ใบกจิ กรรม ใบกิจกรรมท่ี เร่อื ง เวลา (นาที) 6.1 เทา่ ไหร่ถึงจะพอ 60 6.2 D.I.Y. Google Cardboard VR 120 7.2 ใบความรู้ - 7.3 อ่นื ๆ หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ของสถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8 แนวทางการจัดการเรียนรู้ 8.1 การจดั เตรียม 8.1.1 ใบกิจกรรมที่ 6.1 เทา่ ไหร่ถงึ จะพอ ตามจำ�นวนผู้เรียน 8.1.2 ใบกิจกรรมที่ 6.2 D.I.Y. Google Cardboard VR ตามจ�ำ นวนกลมุ่ 8.2 ขัน้ ตอนการดำ�เนินการ 8.2.1 ผู้สอนนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยให้ผู้เรียนชมวิดีโอ เร่ือง “Introducing AR view” และ “Google Earth VR” หรือ “VR Flight Simulator U.S. Air Force” ตามล�ำ ดบั พรอ้ มตง้ั ค�ำ ถาม “เทคโนโลยที ป่ี รากฏในวดิ โี อชว่ ยอ�ำ นวยความสะดวกในชวี ติ ประจ�ำ วนั ไดอ้ ย่างไร” แนวค�ำ ตอบ จำ�ลองการผ่าตดั ของแพทย์ จำ�ลองตัวอย่างสินคา้ ก่อนการตัดสินใจซอ้ื จ�ำ ลองการบินของนกั บิน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื คร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 6 | AR - VR 53 เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) 8.2.2 ผู้เรยี นศกึ ษาหัวขอ้ ท่ี 2.4 เทคโนโลยเี สมอื นจริง ในหนงั สอื เรียน 8.2.3 ผู้เรียนท�ำ ใบกิจกรรมที่ 6.1 เท่าไหร่ถงึ จะพอ 8.2.4 ผู้สอนตั้งคำ�ถาม “กลุ่มใดใช้เงินค่ากระเบื้องและวอลเปเปอร์น้อยท่ีสุด” พร้อมให้กลุ่ม ดงั กล่าวนำ�เสนอวิธกี ารปฏิบัติและขัน้ ตอนการคำ�นวณ และอภปิ รายรว่ มกัน 8.2.5 ผู้สอนตั้งคำ�ถามเพ่ิมเติม เช่น “มีวิธีอื่นในการคำ�นวณค่ากระเบ้ืองและวอลเปเปอร์ท่ี อยากนำ�เสนออกี หรือไม”่ พรอ้ มแลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ะหว่างกัน 8.2.6 ผเู้ รยี นศึกษาและทำ�ใบกิจกรรมท่ี 6.2 D.I.Y. Google Cardboard VR 8.2.7 ผู้สอนและผู้เรียนรว่ มกนั สรปุ ความร้ทู ีไ่ ด้ และยกตัวอยา่ ง AR และ VR เพิ่มเตมิ 9 การวดั และประเมนิ ผล 9.1 ประเมินจากใบกจิ กรรม 9.2 สังเกตพฤตกิ รรมการทำ�งานกลมุ่ 10 สอ่ื และแหล่งข้อมลู 10.1 วดิ ีโอเรอ่ื ง “Introducing AR view” https://youtu.be/uhdOzpblrm0 10.2 วดิ ีโอเรื่อง “Google Earth VR” https://youtu.be/SCrkZOx5Q1M 10.3 วดิ โี อเรื่อง “VR Flight Simulator U.S Air Force” https://youtu.be/18rLyCEsdOQ 11 ข้อเสนอแนะ กจิ กรรม “เท่าไหรถ่ งึ จะพอ” ใช้แอปพลเิ คชันช่อื Magic Plan ซ่งึ เป็นเคร่อื งมือในการ ออกแบบแปลนบ้าน (floor plan) และตกแต่งภายใน โดยแสดงผลในรปู แบบโครงสรา้ ง ภาพ 3 มิติ ที่สามารถใช้ได้ท้ังระบบปฏิบัติการ Andriod และ iOS เป็นอีกหน่ึง แอปพลิเคชันที่ใช้เทคโนโลยี AR เข้ามาช่วยในการจับภาพและวัดขนาดของ โครงสร้างของห้องในแต่ละมุม แต่ละจุด ท่ีประกอบไปด้วย ขนาด ความกว้าง ความยาว ความสูงหรือความลึก จนได้เป็นแปลนบ้าน แบบ 3 มติ ิ ผสู้ อนอาจหาแอปพลเิ คชนั อน่ื ทม่ี กี ารท�ำ งานใกลเ้ คยี งกนั เพ่อื ใหส้ ามารถปฏบิ ัตกิ จิ กรรมในลกั ษณะเดียวกนั ได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

54 กจิ กรรมท่ี 6 | AR - VR คู่มอื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) ใบกจิ กรรมท่ี 6.1 เท่าไหรถ่ ึงจะพอ 1 ชือ่ -สกลุ เลขท่ี 2 ชื่อ-สกลุ เลขท่ี ใหศ้ ึกษาการใช้งานแอปพลิเคชัน ดงั นี้ สมมุติให้นักเรียนเป็นช่างรับ 1 ศึกษาวิธกี ารใช้งานแอปพลิเคชนั จาก เหมาก่อสร้าง ซึ่งมีหน้าท่ีปูกระเบื้อง และตดิ วอลเปเปอรร์ อบหอ้ ง นกั เรยี น https://youtu.be/6k-SrZW3CLo จะต้องใช้กระเบ้ืองและวอลเปเปอร์ 2 ดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน Magic Plan จาก จ�ำ นวนทงั้ หมดอยา่ งละเทา่ ใด และจะ ต้ อ ง จ่ า ย เ งิ น ซื้ อ ท้ั ง ก ร ะ เ บ้ื อ ง แ ล ะ App Store หรอื Google Play แลว้ ติดตงั้ ลง วอลเปเปอรเ์ ทา่ ใดใหป้ ระหยดั ทีส่ ดุ ในสมารต์ โฟนของตนเอง 3 สมคั รสมาชกิ ในแอปพลเิ คชนั และยนื ยนั ตวั ตน หมายเหตุ กำ�หนดประเภทของห้อง จากอีเมลที่ใช้สมัคร (หากไม่สมัครจะไม่ เปน็ หอ้ งนง่ั เลน่ (Living Room) โดย สามารถดแู บบแปลนในรปู แบบสามมติ ไิ ด้) จะต้องตั้งค่าในแอปพลิเคชันเป็น 4 ให้นกั เรยี นใช้แอปพลเิ คชนั Magicplan จาก Living Room สมารต์ โฟน แล้วท�ำ การวัดขนาดรอบห้องและ ความสูงของห้อง จากนั้นอ่านค่าท่ีได้จากการ วัดแล้วทำ�การคำ�นวณจำ�นวนกระเบ้ืองและ วอลเปเปอร์ท่ีจะต้องใช้ และบนั ทึกข้อมูล โดย มสี ถานการณ์ดังน้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือคร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมที่ 6 | AR - VR 55 เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) ก�ำ หนดใหร้ าคาและขนาดของวสั ดตุ ่าง ๆ เป็นดงั นี้ ขนาดของกระเบื้อง 30 x 30 ซม. วอลเปเปอร์ขนาด 90 x 200 ซม. ราคาแผน่ ละ 78 บาท ราคาแผ่นละ 1,600 บาท ท่ี รายการ จำ�นวน (แผน่ ) ราคาต่อแผน่ (บาท) คิดเปน็ เงนิ (บาท) 1 กระเบ้ือง รวม 2 วอลเปเปอร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

56 กจิ กรรมท่ี 6 | AR - VR ค่มู อื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) ใบกิจกรรมที่ 6.2 D.I.Y. Google Cardboard VR ชือ่ -สกลุ ชน้ั เลขท่ี คำ�ช้ีแจง: ให้นักเรียนประดิษฐ์แว่น IPST VR Cardboard และสำ�รวจสถานที่ท่ีตนเองสนใจผ่าน แอปพลเิ คชัน Google Street View และตอบคำ�ถาม ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ประดษิ ฐ์แวน่ IPST VR Cardboard Google Cardboard วสั ดุอุปกรณ์ 1 แมแ่ บบ IPST VR Cardboard 2 กระดาษลัง 3 เวลโครเทป (เทปตีนตุ๊กแก) 4 ขวดนำ�้ พลาสติกทรงมน 5 กาวสำ�หรบั ตดิ พลาสติก แมแ่ บบและข้นั ตอนการประดษิ ฐ์ ชมจากวดิ ีโอสาธติ oho.ipst.ac.th/m6/vr สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มอื คร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 6 | AR - VR 57 เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) ตอนที่ 2 สำ�รวจโลกผา่ น Google Street View 1 ศกึ ษาวิธกี ารใช้งานแอปพลเิ คชนั จาก https://youtu.be/7IPUbwH8XT8 2 ดาวน์โหลดแอปพลเิ คชัน Street View จาก App Store หรือ Google Play แลว้ ติดต้ังลงในสมารท์ โฟนของตนเอง ค�ำ ถาม 1 นกั เรียนเลอื กส�ำ รวจสถานท่ใี ดบ้าง เพราะอะไร 2 นกั เรยี นเหน็ อะไรบา้ งจากการสำ�รวจสถานทด่ี ังกลา่ ว 3 นักเรยี นสามารถน�ำ เทคโนโลยี VR ชว่ ยอ�ำ นวยความสะดวกในชวี ิตประจำ�วนั ไดอ้ ย่างไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

58 กิจกรรมท่ี 7 | พลเมอื งดจิ ิทลั คู่มอื ครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) กิจกรรมที่ 7 พลเมอื งดจิ ทิ ลั คาบที่ 33 - 34 | เวลา 2 ชว่ั โมง 1 ตัวชี้วัด 5 ความรเู้ ดมิ ที่นกั เรียนตอ้ งมี ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำ�เสนอและ - แบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรมและ วิเคราะห์การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 สาระสำ�คัญ ผลตอ่ การด�ำ เนนิ ชวี ติ อาชพี สงั คมและวัฒนธรรม การเปน็ พลเมอื งดจิ ทิ ลั (Digital citizenship) เป็นแนวคดิ และแนวปฏิบัติทสี่ ำ�คญั ของพลเมือง ใน 2 สาระการเรียนรู้ การเรยี นรู้ การใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และ 2.1 การเปน็ พลเมอื งดจิ ิทัล การปอ้ งกันตนเองจากความเส่ียงตา่ ง ๆ รวมท้งั ร้จู ัก 2.2 ความฉลาดทางดจิ ิทัล เคารพสิทธิของตนเองและผู้อ่ืน มีความรับผิดชอบ ต่อสังคมในโลกยุคใหม่ ไปจนถึงผลกระทบของ 3 จุดประสงค์ ให้ผเู้ รยี นสามารถ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ทม่ี ตี อ่ สงั คม การเปน็ พลเมอื งดจิ ทิ ลั 3.1 ปฏิบัติตนตามบทบาทของการเป็น จำ�เป็นต้องมีความฉลาดทางดิจิทัล (DQ : Digital พลเมอื งดจิ ทิ ัลยุคใหม่ intelligence Quotient) ซ่ึงครอบคลุมท้ังความรู้ 3.2 ใช้ความฉลาดทางดิจิทัลในการอยู่ร่วม ทกั ษะ ทศั นคตแิ ละคา่ นยิ มทจ่ี �ำ เปน็ ตอ่ การใชช้ วี ติ ใน กนั ในสังคมออนไลน์ ฐานะสมาชกิ ของโลกออนไลน์ ทกั ษะการใช้สอื่ และ การเข้าสังคมในโลกออนไลน์ มีความสามารถทาง 4 ทักษะและกระบวนการ สังคม อารมณ์และการรับรู้ สามารถเผชิญกับ 4.1 ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ ความท้าทายในการสร้างการเปล่ียนแปลงสังคม 4.2 ทักษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ เชงิ บวก 4.3 ทกั ษะการสอื่ สารและร่วมมือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือคร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 7 | พลเมืองดจิ ิทลั 59 เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) 7 ส่อื และอุปกรณ์ 7.1 ใบกิจกรรม ใบกิจกรรมที่ เร่อื ง เวลา (นาที) 7.1 เสน้ ทางการเป็นพลเมอื งดจิ ทิ ัล 30 7.2 ใบความรู้ - 7.3 อื่นๆ หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ของสถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8 แนวทางการจัดการเรียนรู้ 8.1 การจดั เตรียม 8.1.1 ใบกิจกรรมที่ 7.1 เสน้ ทางการเปน็ พลเมอื งดิจิทลั ตามจำ�นวนกลมุ่ 8.1.2 แบบส�ำ รวจการเป็นพลเมืองดจิ ิทัลยคุ ใหม่ ตามจำ�นวนผูเ้ รยี น 8.2 ขั้นตอนการดำ�เนินการ 8.2.1 ผสู้ อนน�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยถามผเู้ รยี นวา่ “ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ของนกั เรยี นมคี วามเกยี่ วขอ้ ง กับเทคโนโลยีดิจทิ ลั อะไรบา้ ง และใช้งานเทคโนโลยดี ิจิทัลน้นั อยา่ งไร” ผู้สอนเน้นย�้ำ ให้ ผู้เรียนทราบว่า ในชีวิตประจำ�วัน ผู้เรียนมีบทบาทเกี่ยวข้องกับการเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship) 8.2.2 ผเู้ รยี นดวู ดิ โี อเกย่ี วกบั พลเมอื งดจิ ทิ ลั โดยตง้ั ประเดน็ ค�ำ ถาม “การเปน็ พลเมอื งดจิ ทิ ลั ยคุ ใหม่ควรมคี ณุ ลกั ษณะอยา่ งไร” และรว่ มกนั อภปิ รายประเด็นความรจู้ ากวดิ โี อ 8.2.3 ผเู้ รียนศึกษาหัวข้อ 3.1 การเปน็ พลเมืองดิจิทัล และ 3.2 การป้องกันตนเองและผู้อ่ืน จากหนังสือเรียน แล้วร่วมกันอภิปรายแนวทางการเป็นพลเมืองดิจิทัลรวมถึง การปอ้ งกนั ตนเองและผอู้ ่นื 8.2.4 ผู้สอนถามผู้เรียนว่า “เมื่อผู้เรียนเป็นพลเมืองดิจิทัลแล้ว ผู้เรียนอาจจะต้องประสบกับ ภัยจากสงั คมออนไลน์อยา่ งไรบา้ ง” สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

60 กิจกรรมท่ี 7 | พลเมืองดิจิทลั ค่มู อื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) 8.2.5 ผู้เรียนดูวิดีโอเก่ียวกับภัยคุกคามในสังคมออนไลน์ และให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันสรุป ประเดน็ สาระทไ่ี ดจ้ ากการดูวิดโี อ 8.2.6 ผู้สอนกล่าวเน้นยำ้�ผู้เรียนว่า “การปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัยคุกคามในสังคม ออนไลน์ นอกจากจะมี IQ (ความฉลาดทางเชาวป์ ัญญา) และ EQ (ความฉลาดทาง อารมณ)์ แล้ว ผู้เรียนจะต้องมี DQ (ความฉลาดทางดิจทิ ัล) ดว้ ย” 8.2.7 ผ้เู รยี นดูวิดโี อเรื่อง “DQ : ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั ” 8.2.8 ผู้สอนแบง่ ผเู้ รยี นออกเปน็ กลุม่ กล่มุ ละ 5-6 คน และแตล่ ะกลุม่ ท�ำ ใบกจิ กรรมที่ 7.1 เส้นทางการเป็นพลเมืองดิจทิ ัล 8.2.9 ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายสรุปความรู้และความเข้าใจในบทบาทหน้าท่ีของผู้ เรียนในฐานะพลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล และทำ�แบบสำ�รวจการเป็น พลเมืองดจิ ิทัลยคุ ใหม่เพือ่ ประเมินผเู้ รียน 9 การวดั และประเมนิ ผล 9.1 ประเมินจากการท�ำ กจิ กรรม 9.2 สงั เกตพฤตกิ รรมจากการมสี ่วนร่วมในชัน้ เรียน 9.3 ประเมินจากแบบส�ำ รวจการเปน็ พลเมอื งดิจิทลั ยุคใหม่ 10 ส่อื และแหลง่ ขอ้ มูล 10.1 วดิ ีโอเกยี่ วกบั พลเมืองดจิ ิทัล https://www.youtube.com/watch?v=u9ASzo-m2qo https://www.youtube.com/watch?v=NbjF3Ei-WNs https://www.youtube.com/watch?v=Xi8O6dIxPzY 10.2 วิดโี อเก่ยี วกับภยั คุกคามในสังคมออนไลน์ https://www.youtube.com/watch?v=9ITCQ67274Q https://www.youtube.com/watch?v=ZosESE-5N48 https://www.youtube.com/watch?v=HhMfUmT3EHU สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื คร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมท่ี 7 | พลเมืองดจิ ทิ ลั 61 เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) 10.3 วิดีโอเรอ่ื ง “DQ : ความฉลาดทางดิจทิ ัล” https://youtu.be/1IwZLH82PYM 10.4 วดิ ีโอเรอ่ื ง “ชวั ร์ก่อนแชร์ : ภูมคิ ุม้ กนั โซเชียล 2562” https://www.youtube.com/watch?v=J90Xx0LusAg 11 ขอ้ เสนอแนะ ผ้สู อนเลอื กวิดีโอใหผ้ ูเ้ รยี นชมตามความเหมาะสมกับบริบทเวลาในการจดั การเรยี นรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

62 กิจกรรมที่ 7 | พลเมอื งดจิ ทิ ลั คู่มอื ครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) ใบกิจกรรมที่ 7.1 เสน้ ทางการเปน็ พลเมอื งดิจทิ ัล ผเู้ ลน่ คณะลกู ขุน 1 ชื่อ-สกุล เลขที่ 1 ชอ่ื -สกุล เลขที่ 2 ชอ่ื -สกลุ เลขที่ 2 ชือ่ -สกุล เลขที่ 3 ชอ่ื -สกุล เลขที่ 3 ชอ่ื -สกุล เลขท่ี คำ�ช้ีแจง: ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม แบ่งเป็นสองกลุ่มย่อย คือกลุ่มผู้เล่นและคณะลูกขุน โดย กล่มุ ผเู้ ล่นมี 2-3 คน แตค่ ณะลูกขนุ จะตอ้ งมี 3 คนเท่าน้นั กติกาการเล่น 1 ผู้เล่นจะต้องเดนิ ทางตามเสน้ ทาง ไปยังจดุ หมายเพอ่ื เป็นพลเมืองดิจิทัล 2 ในแต่ละรอบผูเ้ ลน่ จะต้องผลัดกนั เดิน 3 ก่อนการเดินทุกครั้งผู้เล่นแต่ละคนจะต้องหยิบ “บัตรสถานการณ์” จากกอง และตอบคำ�ถาม ทอี่ ยูภ่ ายในบัตรค�ำ ถามน้ันว่าเป็นพฤตกิ รรมทีเ่ หมาะสมหรอื ไม่ 4 คณะลูกขุนทงั้ 3 คน จะตัดสินค�ำ ตอบ หากคณะลูกขนุ เห็นดว้ ยอย่างน้อย 2 ใน 3 คน จะถอื วา่ ผ้เู ลน่ ตอบค�ำ ถามถกู ตอ้ ง และให้ทอยลูกเตา๋ เพอื่ สุ่มจ�ำ นวนช่องในการเดิน 5 แตห่ ากคณะลกู ขุนไมเ่ หน็ ดว้ ยอย่างน้อย 2 ใน 3 จะไม่สามารถทอยลกู เตา๋ เพือ่ สมุ่ จ�ำ นวนช่องใน การเดินของรอบนน้ั ๆ ได้ 6 ผเู้ ลน่ คนใดเดินทางถงึ จุดหมายเปน็ คนแรก จะถือวา่ เป็นผู้ชนะ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื คร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 7 | พลเมืองดิจิทัล 63 เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) ตัวอ ่ยางกระดานเ ้สนทางพลเ ืมองดิ ิจ ัทล 20 100 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

64 กิจกรรมที่ 7 | พลเมืองดจิ ิทลั คู่มอื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) ตัวอย่างบตั รสถานการณ์ สถานการณท์ ่ี 1 สถานการณท์ ี่ 2 ก๊ิกก๊กั ใหเ พ่ือนสนิทคือพชี ชี่ สงั่ ซื้อเสือ้ ผาจากรา นคาออนไลน โดยใชห มายเลข แมนไดสนทนากับหญงิ สาวคนหนึ่งในสือ่ สังคมออนไลนโดยที่ไมเ คยพบหนากนั บตั รประจำตัวประชาชน และบตั รเครดิตของตนในการชำระคาสนิ คา และพีชชีไ่ มลบขอ มลู มากอน ในการสนทนาบอยครั้ง หญิงสาวจะบอกกลา วถงึ ปญ หาดานการเงนิ ของตนเอง เชน ใด ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอรข องตนหลงั จากซอื้ สนิ คา เสรจ็ สิ้นแลว ไมม ีเงินจายคาเทอม แมนจงึ โอนเงินใหหญิงสาว แนวคำตอบ แนวคำตอบ ขาดความเขา ใจดานการปกปองขอ มลู สว นบคุ คล เชน หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน ขาดทกั ษะในดา นความปลอดภัยในโลกดจิ ลั ถกู ลอ ลวงดว ยเน้ือหา หรือคำพูดทำใหถูกหลอก ขอ มลู บัตรเครดิต และเสยี ทรัพย สถานการณท์ ี่ 3 สถานการณ์ท่ี 4 ววี เี่ ปดระบบการสแกนใบหนาในการเขาใชง านสมารตโฟนของตนเองเพอ่ื สะดวกตอ เอกสิทธล์ิ งชื่อเขา ใชง านเฟซบกุ ที่รานอนิ เทอรเนต็ คาเฟ และเบราวเ ซอรแ จงเตอื น การเขาใชงานในแตละครง้ั แทนการใชรหัสผานในการใชงาน ใหบนั ทึกรหสั ผา น เอกสทิ ธจ์ิ งึ ทำการคลิกปุมบนั ทกึ รหัสผานเอาไว จะไดไมตอ งกรอกรหัสผาน และเขา ใชงานไดเ ลยในคร้ังตอ ไป แนวคำตอบ มคี วามรู ความเขาใจในเทคโนโลยสี มยั ใหม เชน เทคโนโลยปี ญญาประดิษฐ และ สามารถใชงาน แนวคำตอบ ไดอยางเกดิ ประโยชนก ับตนเอง ขาดความเขาใจในเรือ่ งการรักษาความปลอดภยั ของรหัสผา น ซึ่งอาจเสยี งตอการถูกโจรกรรม หรือสวมรอยเปน ตนเองจากการใชงานทีไ่ มร ะมดั ระวัง ดาวนโ์ หลดไฟลส์ อ่ื กจิ กรรมท่ี 7.1 เส้นทางการเป็นพลเมืองดจิ ทิ ัลทง้ั หมดได้ท่ี oho.ipst.ac.th/m6/DL สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือคร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมที่ 7 | พลเมืองดิจทิ ัล 65 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) แบบส�ำ รวจพลเมอื งดิจทิ ัลยุคใหม่ ช่อื -สกุล ช้นั เลขท่ี คำ�ชี้แจง : ให้นกั เรียนตอบค�ำ ถามตอ่ ไปน้ี ลงในช่องควรปฏิบัติ หรือ 1 ให้นักเรียนสำ�รวจตัวเองแล้วตอบคำ�ถามโดยเขียนเคร่ืองหมาย ไม่ควรปฏบิ ัติ ที่ รายการ การปฏบิ ตั ิ ควร ไมค่ วร 1 ตัง้ รหัสผา่ นอเี มลโดยใชว้ นั เดอื นปีเกดิ 2 เปลย่ี นรหัสผา่ นเขา้ ใช้งานบญั ชอี อนไลน์ทกุ 6 เดือน 3 เปดิ เผยข้อมูลหมายเลขบัตรประจำ�ตวั ประชาชนในเฟซบุ๊กสว่ นตัว 4 ตอบรบั อเี มลและกรอกข้อมูลลงในแบบฟอร์มออนไลน์ทนั ทีทไี่ ดร้ ับอีเมล แจ้งว่าได้รบั เงินรางวัล 100,000 บาท 5 ยืนยันความเปน็ ตวั ตนและตอบตกลงในเว็บไซตท์ กุ เวบ็ ไซต์ท่ีมีการขอ อนญุ าตเข้าถงึ ขอ้ มูลส่วนตัว 6 หลังการติดต้งั แอปพลเิ คชันในมอื ถือ คลิกเลือกถดั ไป เพอื่ ตกลงและ อนุญาตใหแ้ อปพลิเคชันเข้าถึงข้อมูลในเครือ่ งได้ 7 ใชเ้ คร่ืองคอมพวิ เตอร์สาธารณะในการโอนเงิน ช�ำ ระเงิน หรอื ทำ�ธุรกรรม ออนไลน์ 8 ก�ำ หนดสทิ ธิ์ในการเข้าถงึ ข้อมลู อย่างจ�ำ กัดและระมดั ระวงั การโพสต์ ข้อความแบบ “สาธารณะ” 9 ลงชื่อออกจากระบบทุกครัง้ หลงั เลกิ ใชง้ านโซเชียลมีเดยี 10 อปั เดตระบบของแพลตฟอร์ม เช่น เฟซบุก๊ ไลน์ ไอจี อย่างสม่�ำ เสมอ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

66 กจิ กรรมท่ี 7 | พลเมืองดจิ ิทลั คมู่ ือครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) 2 นักเรียนจะมีวิธปี กป้องความเปน็ สว่ นตวั ของตัวเองในโลกออนไลนไ์ ด้อยา่ งไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือคร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมที่ 8 | จรยิ ธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ 67 เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) กจิ กรรมท่ี 8 จริยธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร ์ คาบท่ี 35 - 36 | เวลา 2 ชั่วโมง 1 ตวั ชี้วดั 4 ทกั ษะและกระบวนการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำ�เสนอและ 4.1 ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ แบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรมและ 4.2 ทกั ษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ วิเคราะห์การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศที่มี 4.3 ทกั ษะการสือ่ สารและรว่ มมือ ผลตอ่ การดำ�เนนิ ชวี ิต อาชพี สงั คมและวัฒนธรรม 5 ความรู้เดิมที่นกั เรียนต้องมี 2 สาระการเรยี นรู้ - 2.1 จรยิ ธรรมการใชง้ านคอมพิวเตอร์ 2.2 กฎหมายคอมพวิ เตอร์ 6 สาระสำ�คญั การอยใู่ นสงั คมออนไลน์ ผใู้ ชจ้ �ำ เปน็ จะตอ้ งมี 3 จดุ ประสงค์ ให้ผ้เู รยี นสามารถ จริยธรรมในการอยู่ร่วมกันอย่างมีความรับผิดชอบ 3.1 ใชค้ อมพวิ เตอรส์ �ำ หรบั การเปน็ พลเมอื ง ก า ร รู้ เ ท่ า ทั น ก า ร ห ล อ ก ล ว ง แ ล ะ อ า ช ญ า ก ร ร ม ดิจทิ ัลอย่างมจี ริยธรรม ที่อาจเกิดขึ้น การป้องกันการละเมิดลิขสิทธ์ิ 3.2 เข้าใจการกระทำ�ผิดเกี่ยวกับกฎหมาย กฎหมายคอมพิวเตอร์ เช่น พระราชบัญญัติว่าด้วย คอมพวิ เตอร์ การกระทำ�ผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ คุ้ ม ค ร อ ง ข้ อ มู ล ส่ ว น บุ ค ค ล พ.ศ. 2562 โดยหากผู้ใช้มีความเข้าใจ และ ระมัดระวังไม่ให้กระทำ�ความผิดเก่ียวกับการใช้งาน จะชว่ ยให้สงั คมมคี วามสขุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

68 กิจกรรมที่ 8 | จริยธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ คมู่ อื ครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) 7 สือ่ และอุปกรณ์ 7.1 ใบกิจกรรม ใบกจิ กรรมท่ี เร่อื ง เวลา (นาที) 8.1 จริยธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอรใ์ กล้ตวั 120 7.2 ใบความรู้ - 7.3 อ่ืนๆ พระราชบัญญตั ิวา่ ดว้ ยการกระท�ำ ความผดิ เกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2560 พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองข้อมลู ส่วนบคุ คล พ.ศ. 2562 8 แนวทางการจัดการเรยี นรู้ 8.1 การจัดเตรียม 8.1.1 ใบกิจกรรมท่ี 8.1 จรยิ ธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร์ใกลต้ ัว ตามจำ�นวนกลุ่ม 8.2 ขั้นตอนการดำ�เนนิ การ 8.2.1 ผสู้ อนน�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยยกตวั อยา่ งสถานการณท์ เี่ กดิ ขนึ้ ในปจั จบุ นั ทเ่ี กย่ี วกบั การใช้ คอมพวิ เตอรห์ รอื เทคโนโลยี และสง่ ผลใหเ้ กดิ การกระท�ำ ความผดิ กฎหมายหรอื จรยิ ธรรม ทางด้านคอมพิวเตอร์ โดยให้ผู้เรยี นรว่ มกนั อภปิ ราย และเสนอข้อคิดเห็น 8.2.2 ผสู้ อนแบง่ ผเู้ รยี นออกเปน็ กลมุ่ กลมุ่ ละ 3 - 4 คน คน้ หาสถานการณอ์ น่ื ๆ ทผี่ เู้ รยี นสนใจ และแสดงบทบาทสมมตจิ ากสถานการณน์ นั้ เพอื่ เชอื่ มโยงใหเ้ หน็ ถงึ การกระท�ำ ความผดิ เก่ยี วกับคอมพิวเตอร์ รวมทัง้ บทลงโทษ จากนน้ั นำ�มาอภปิ รายแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ ระหวา่ งกัน 8.2.3 ผเู้ รียนศึกษาหัวขอ้ 3.3 กฎหมายและมารยาทในสังคมดจิ ทิ ัล ในหนังสอื เรียน 8.2.4 ผเู้ รยี นท�ำ ใบกิจกรรมท่ี 8.1 จริยธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร์ใกล้ตวั 8.2.5 ผู้สอนร่วมกับผู้เรียนอภิปรายสรุปเก่ียวกับกฎหมายและมารยาทในการใช้งาน คอมพิวเตอร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู อื คร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมท่ี 8 | จรยิ ธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร์ 69 เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) 9 การวดั และประเมนิ ผล 9.1 ประเมินจากการท�ำ กิจกรรม 9.2 สังเกตพฤติกรรมจากการทำ�งานร่วมกัน 10 สือ่ และแหล่งข้อมลู 10.1 วิดโี อเกย่ี วกบั พระราชบัญญตั วิ ่าด้วยการกระท�ำ ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2560 10.1.1 วิดโี อเรือ่ ง “เร่ืองควรรู้ พ.ร.บ. คอม” https://youtu.be/HLs-nS2cH1U 10.1.2 วิดโี อเรื่อง “พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ 2560 ฉบบั เขา้ ใจง่าย” https://youtu.be/LwMSsneKuzc 10.1.3 วดิ ีโอเรอ่ื ง “พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ ฉบับปรบั ปรงุ แกไ้ ข พ.ศ. 2560” https://youtu.be/Ie0YHG2rjMQ 10.2 วดิ ีโอเก่ียวกับความแตกต่างของพระราชบัญญตั วิ า่ ด้วยการกระทำ�ความผดิ เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และพระราชบัญญตั ิวา่ ด้วยการกระทำ�ความผิดเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 10.2.1 วิดโี อเร่อื ง “สรปุ ประเดน็ สำ�คัญxความแตกตา่ ง พรบ.คอมฯป5ี 0vsปี60” https://youtu.be/0RGa8qgsb3c 10.2.2 วดิ โี อเรอ่ื ง “เปรยี บเทียบ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ใน ปี 2550 และ 2560” https://youtu.be/n1cy2kB_wCs 10.2.3 วิดีโอเร่อื ง “ความแตกตา่ งของ พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ ปี 2550 และ 2560” https://youtu.be/etxwU6RRMY4 10.3 วิดโี อเร่อื งการกระท�ำ ความผดิ เก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ 10.3.1 วดิ ีโอเร่อื ง “แชรข์ อ้ มลู บดิ เบือนผา่ นโซเซียลมคี วามผดิ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ วันที่ 3 มถิ ุนายน 2561 ขา่ วคำ่� #NBT2HD” https://youtu.be/LWjC3lBSAJU 10.3.2 วดิ ีโอเรอื่ ง “รายงาน พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ กบั การเผยแพร่ข้อมลู ลามกอนาจาร” https://youtu.be/8Y9Iu1-2PQU 10.3.3 วิดีโอเรอื่ ง “10 พฤตกิ รรมเสีย่ งคกุ พรบ.คอมพวิ เตอร์ โดย ปอท. โพสตต์ อ้ งคดิ คลิกเสย่ี งคุก” https://youtu.be/Q5ADlR7srvo สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

70 กิจกรรมที่ 8 | จรยิ ธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร์ คูม่ อื ครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) 10.4 วดิ ีโอเร่อื งการกระท�ำ ความผิดเกี่ยวกับลิขสิทธ์ิ 10.4.1 วิดีโอเร่อื ง “กฏหมายทางคอมพิวเตอร์ - โหลดไฟลล์ ะเมดิ ลขิ สทิ ธ”์ิ https://youtu.be/7B1aqypgSNs 10.4.2 วิดโี อเร่ือง “จับละเมดิ ลิขสิทธ์ิ “การ์ตูนรลิ ัคคมุ ะ”(คลปิ ข่าว)” https://youtu.be/dUbLnoKLOlo 10.4.3 วดิ โี อเรอ่ื ง “ปอศ.แถลงจบั กมุ “ซอฟตแ์ วร”์ และ “สนิ คา้ ละเมดิ ลขิ สทิ ธ”์ิ | ขา่ วชอ่ ง 8” https://youtu.be/SUKwfP9EGbw 10.5 วิดีโอเรื่อง “ชวั ร์ก่อนแชร์ : Cover เพลงลง YouTube คอื การละเมดิ ลขิ สิทธจ์ิ รงิ หรือ?” https://youtu.be/npihcWpN51M 10.6 วิดีโอเรอื่ ง “ประเทศไทยละเมดิ ลิขสทิ ธซ์ิ อฟตแ์ วร์ ติดอนั ดบั 7 ในเอเชีย” https://youtu.be/6CUrA1n9y7o 11 ข้อเสนอแนะ 11.1 ผสู้ อนอาจเลอื กวดิ ีโอใหผ้ ูเ้ รยี นดูไดต้ ามความเหมาะสมกบั บริบทเวลาในการจัดการเรยี นรู้ 11.2 ผสู้ อนอาจนำ�ข่าวทีก่ �ำ ลังเป็นกระแสมาใช้เปน็ กรณศี ึกษา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือคร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 8 | จริยธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ 71 เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) ตัวอยา่ งกรณศี ึกษา “แสบออนไลน์ !!! เปดิ เวบ็ ขายมอื ถอื ส่งปลากระปอ๋ งใหล้ กู ค้า” ชายหนมุ่ สมคั รเป็นสมาชิกของเวบ็ ไซตข์ ายของ เพอื่ น�ำ สินค้ามาเสนอขายทางหน้าเว็บ ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นสินค้า อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เช่น กลอ้ งถา่ ยรูป มือถือ ไอแพด และธนบัตร สะสมของประเทศต่าง ๆ ระยะแรกส่งสินค้าให้ลูกค้าได้ตาม ปกติ แต่มาช่วงหลังชายหนุ่มส่ังสินค้าจากผู้ขายอีกรายแต่ ผขู้ ายสนิ คา้ เบยี้ ว ไมส่ ง่ สนิ คา้ มาให้ เงนิ ทล่ี งทนุ ไปตอ้ งสญู เปลา่ จงึ คดิ หาเงนิ คนื ดว้ ยการประกาศขายสนิ คา้ เมอื่ ลกู คา้ สงั่ สนิ คา้ และโอนเงินมาแล้ว จะส่งของอย่างอ่นื ไปให้ เช่น กลว้ ยหอม แทนมอื ถือไอโฟน ปลากระปอ๋ งแทนกลอ้ ง จนมาชว่ งหลัง ๆ เมอื่ รับเงินก็จะไม่สง่ สนิ คา้ เลย ซง่ึ ลกู คา้ ท่ีถกู เบย้ี วไม่สง่ สินคา้ ให้มีประมาณ 50 รายทว่ั ประเทศ ท่ี ตอ้ งทำ�เชน่ นเี้ พราะต้องหาเงนิ ไปเลี้ยงลกู อายุ 2 เดอื น ท่ีมาของขา่ ว http://www.thairath.co.th/content/579800 “แม่คา้ วนุ้ โดราเอมอน” เจ้าของเพจ วุ้นละมุน น�ำ วุ้นลายการต์ นู โดราเอมอน จ�ำ นวน 2 ช้ิน ท่ลี ูกคา้ ส่ังทำ�อา้ งวา่ จะ เลี้ยงวันเกิดให้ลูกฝาแฝด แต่ปรากฏว่าเมื่อไปถึงกลับถูกเจ้าหน้าท่ีตำ�รวจ และตัวแทนลิขสิทธิ์ โดราเอมอนจบั แลว้ พาไปเจรจาไกลเ่ กลย่ี ทส่ี ถานตี �ำ รวจ โดยเจา้ ของเพจยอมจา่ ยเงนิ จ�ำ นวนหนง่ึ เป็นหลักหมืน่ เพื่อชดใช้ค่าเสยี หายใหท้ ี่ละเมิดลขิ สิทธ์ิ ซึ่งต้องไปหยบิ ยมื มาจา่ ยในวันทีเ่ กิดเรอื่ ง เลย เพือ่ แลกกบั การที่ไม่ตอ้ งเสียเวลาต่อส้คู ดใี นชั้นศาล ท่ีมาของข่าว http://www.thairath.co.th/content/579800 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

72 กจิ กรรมที่ 8 | จริยธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ คมู่ อื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) ใบกิจกรรมที่ 8.1 จริยธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอรใ์ กล้ตวั 1 ช่อื -สกุล เลขที่ 2 ชือ่ -สกลุ เลขที่ 3 ชอ่ื -สกลุ เลขที่ 4 ชื่อ-สกลุ เลขที่ 1 ใหน้ ักเรยี นศกึ ษากฎหมายการกระท�ำ ผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรแ์ ละวิเคราะห์ฐานความผิดลงในตาราง ลักษณะการใช้งาน บทลงโทษ ไมม่ บี ท โทษจำ�คุก โทษปรับ ทัง้ จ�ำ ทั้งปรบั ลงโทษ A ใช้ไอดีหรอื รหัสผ่านของผู้อ่นื ไปดูขอ้ มูล ส่วนตัวของผูอ้ ่ืน B ขโมยข้อมลู ของผู้อื่นไปใชเ้ พอื่ เป็น ประโยชน์ของตัวเอง/หาก�ำ ไร/กล่นั แกล้ง C ส่งอีเมลลกู โซโ่ ดยไม่บอกทีม่ าหรือสง่ อีเมลโฆษณาขายของท่ีผ้รู บั ไมต่ ้องการ D โพสตข์ ้อความหรอื ทำ�เว็บไซตห์ มนิ่ สถาบันเบื้องสูง E อัปโหลดรปู ลามกอนาจารบน อนิ เทอรเ์ น็ต F ปลอ่ ยข่าวให้บ้านเมอื งเกดิ ความวุน่ วาย กดแชร์ Line, Facebook, Twitter G เพ่ือสง่ ต่อข้อความทีไ่ ม่ชอบด้วย กฎหมาย H ตัดต่อภาพไปเผยแพรท่ างอินเทอรเ์ น็ต ท�ำ ให้เจ้าของภาพเสยี หาย/อับอาย I แกไ้ ขหรือลบเน้อื หาในไฟล์ของผู้อืน่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือคร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมที่ 8 | จรยิ ธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ 73 เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) 2 พิจารณาสถานการณ์ต่อไปนี้ โฟล์คกับจัมโบ้ไปร้านคอมพิวเตอร์คาเฟ่ในหมู่บ้านเพ่ือทำ�รายงานและเข้าใช้งาน อนิ เทอรเ์ นต็ โดยโฟลค์ เขา้ ใชง้ านเฟซบกุ๊ แลว้ พบวา่ เครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ ก่ี �ำ ลงั ใชง้ านขณะนนั้ ผใู้ ชค้ นกอ่ นยงั ไมล่ งชอื่ ออกจากระบบ โฟลค์ จงึ เขา้ ไปดขู อ้ มลู ในเฟซบกุ๊ ปรากฏวา่ เปน็ เฟซบกุ๊ ของไผ่ซึ่งเป็นคนที่เคยแย่งแฟนของตน ในอดีต โฟล์คจึงเข้าไปดูข้อมูลของไผ่แล้วบันทึก รปู ภาพของไผล่ งในเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ตอ่ มาโฟลค์ คดิ ทจี่ ะลา้ งแคน้ ไผ่ ทเี่ คยแยง่ แฟนของตน จงึ ใหจ้ มั โบต้ ดั ตอ่ ภาพของไผ่ โดยน�ำ ใบหนา้ ของไผไ่ ปใสใ่ นภาพ ลามกอนาจาร แลว้ สง่ ใหเ้ จย๊ี บ ทางไลน์ ตอ่ มาเจ๊ยี บสง่ ภาพตดั ต่อของไผ่ใหก้ บั นิดแตน่ ิดไม่สง่ ตอ่ จากสถานการณข์ ้างตน้ มีการกระทำ�ผดิ กฎหมายคอมพิวเตอร์ หรือการละเมดิ ขอ้ มูลส่วนบุคคล หรอื ไม่ และมบี ทลงโทษอยา่ งไร ผกู้ ระทำ�ความผิด ฐานความคดิ บทลงโทษ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

74 กิจกรรมที่ 8 | จริยธรรมและกฎหมายคอมพวิ เตอร์ คมู่ อื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) 3 พิจารณาประเด็นต่อไปนี้ 1 ลบหรือเปลยี่ นแปลงขอ้ มูลลขิ สิทธิ์ชอ่ื ผู้ 6 การเรยี กดแู ละฟงั ซ�ำ้ ภาพยนตร/์ เพลง สร้างสรรค์ ชื่อนกั แสดง บคุ คล ผ่านหน่วยความจำ�คอมพวิ เตอร์ 2 ดดั แปลงรูปภาพหรือผลงานทน่ี �ำ มาใช้ 7 การจำ�หนา่ ยตน้ ฉบับหรือส�ำ เนางานที่มี แลว้ ใหเ้ ครดติ เจ้าของภาพหรอื ผลงาน ลขิ สิทธิ์ซ่งึ เปน็ ของมอื สอง เช่น ภาพ เขียนหรือหนงั สือ 3 น�ำ คลิปวิดโี อจากยทู ปู มาเกบ็ ไวท้ ี่ 8 ดาวนโ์ หลดเพลงจากอินเทอรเ์ น็ต บลอ็ กของตนเอง มาฟัง แต่ไม่ได้แชร์ตอ่ ให้เพือ่ น 4 น�ำ ภาพจากอินเทอร์เน็ต 9 นำ�ภาพท่ีมลี ิขสิทธม์ิ าสง่ ในข้อความ มาโพสตว์ ่าเปน็ ภาพท่ีตนเองถา่ ย ส่วนตวั 5 โพสตว์ ดิ โี อลงในสังคมออนไลน์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ ือคร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 8 | จริยธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร์ 75 เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) จากประเด็นข้างตน้ ให้บนั ทกึ สิง่ ทท่ี ำ�ได้ และประเดน็ ผิดลขิ สิทธ์ิพร้อมแก้ไขให้ถกู ต้อง สิ่งทท่ี ำ�ได้ ประเด็นผิดลขิ สิทธ์ิ ควรท�ำ อย่างไรให้ถกู ตอ้ ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

76 กิจกรรมท่ี 9 | อนาคตของฉัน คมู่ ือครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) กิจกรรมท่ี 9 อนาคตของฉนั คาบท่ี 37 - 40 | เวลา 4 ช่วั โมง 1 ตัวชี้วัด 4 ทักษะและกระบวนการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำ�เสนอและ 4.1 ทักษะในการทำ�งานร่วมกัน แบ่งปันข้อมูลอย่างปลอดภัย มีจริยธรรมและ 4.2 ทักษะการคิดวิเคราะห์ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศที่มี 4.3 ทักษะการสือ่ สาร ผลตอ่ การดำ�เนินชีวติ อาชพี สงั คมและวัฒนธรรม 5 ความรเู้ ดิมท่นี ักเรียนต้องมี 2 สาระการเรียนรู้ - 2.1 การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยกี ับ อาชพี 6 สาระสำ�คญั 2.2 ผลกระทบของเทคโนโลยีกบั อาชพี เทคโนโลยสี ง่ ผลกระทบตอ่ การด�ำ เนนิ ชวี ติ ใน 2.3 อาชีพด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศและ สงั คม โดยเทคโนโลยที จ่ี ะขบั เคลอ่ื นการเปลย่ี นแปลง การสื่อสาร ครั้งน้ี เช่น ปัญญาประดิษฐ์ เทคโนโลยีการแพทย์ 2.4 อาชพี ท่ีใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หุน่ ยนต์ และเทคโนโลยวี สั ดุ งานทอ่ี ยู่ในกล่มุ เส่ยี ง ท่ีเทคโนโลยีเหล่านี้จะเข้ามาทดแทน เช่น งาน 3 จดุ ประสงค์ ให้ผเู้ รยี นสามารถ เอกสาร งานประจ�ำ ทที่ �ำ ซำ้� ๆ และงานที่ไม่ตอ้ งการ 3.1 อธิบายลกั ษณะของอาชีพทีเ่ กยี่ วขอ้ ง การตัดสินใจที่ซับซ้อน ผู้ที่เข้าไม่ถึงหรือไม่เข้าใจใน กบั เทคโนโลยสี มัยใหม่ ศกั ยภาพของเทคโนโลยจี ะเสยี เปรยี บผอู้ น่ื ท�ำ ใหเ้ กดิ 3.2 วิเคราะหค์ วามเปลย่ี นแปลงของอาชพี ปัญหาความเลื่อมลำ้�ทางเทคโนโลยีที่จะทวีความ ทีต่ ้องปรบั ตวั ในอนาคต รุนแรงมากยิ่งข้ึน และอาจจะส่งผลกระทบต่อการ ประกอบอาชีพในอนาคต ทกุ คนจึงควรเรียนรคู้ วาม ก้าวหนา้ ขอ้ ดี ขอ้ จำ�กดั ของเทคโนโลยี เพ่ือนำ�มาส่ง เสริมอาชีพที่มีอยู่และวางแผนอาชีพที่จะเกิดขึ้นใน อนาคต สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือคร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 9 | อนาคตของฉนั 77 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) 7 สื่อและอุปกรณ์ 7.1 ใบกจิ กรรม ใบกิจกรรมที่ เรอ่ื ง เวลา (นาที) 9.1 อาชีพดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ 60 9.2 อาชีพของฉนั 120 9.3 AI VERSUS HUMAN 60 7.2 ใบความรู้ - 7.3 อืน่ ๆ หนงั สอื เรียน รายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ของสถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 8 แนวทางการจัดการเรยี นรู้ 8.1 การจัดเตรยี ม 8.1.1 ใบกิจกรรมท่ี 9.1 อาชพี ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ตามจำ�นวนผู้เรียน 8.1.2 ใบกจิ กรรมที่ 9.2 อาชีพของฉนั ตามจ�ำ นวนผเู้ รียน 8.1.3 ใบกจิ กรรมที่ 9.3 AI VERSUS HUMAN ตามจ�ำ นวนกล่มุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

78 กิจกรรมที่ 9 | อนาคตของฉนั คมู่ อื ครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) 8.2 ขน้ั ตอนการด�ำ เนนิ การ 8.2.1 ผสู้ อนตัง้ ค�ำ ถามให้ผู้เรียนอภปิ รายร่วมกนั เช่น นักเรยี นเคยน�ำ เทคโนโลยีสารสนเทศมาชว่ ยในการทำ�งานหรือไม่ อย่างไร อาชีพท่ีนักเรียนต้องการจะเป็นในอนาคต สามารถนำ�เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามา ช่วยในการท�ำ งานไดห้ รอื ไม่ อย่างไร อาชีพใดบ้างที่มีความเกย่ี วขอ้ งกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศโดยตรง 8.2.2 ผู้เรียนศึกษาหัวข้อ 4.1 อาชพี ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร และหวั ข้อ 4.2 การเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยีกับสงั คมและอาชีพ ในหนงั สือเรียน 8.2.3 ผเู้ รียนทำ�ใบกิจกรรมที่ 9.1 อาชีพดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ และร่วมกันอภิปรายถึง การนำ�เทคโนโลยสี ารสนเทศเขา้ มาชว่ ยในการท�ำ งาน 8.2.4 ผูเ้ รยี นดูวดิ โี อเรอื่ิ ง “Will robots take our jobs? | CNBC Explains” 8.2.5 ผู้สอนยกตวั อย่างอาชพี เพื่อเปน็ กรณศี กึ ษาใหผ้ ู้เรยี นรว่ มกันอภปิ รายวา่ ในอนาคต อาชีพใดทปี่ ัญญาประดิษฐ์จะมโี อกาสเข้ามาท�ำ งานแทนได้ และเปน็ งานส่วนใด เชน่ พนกั งานเก็บเงิน ผู้พพิ ากษา 8.2.6 ผู้เรียนศกึ ษาหัวขอ้ 4.3 ผลกระทบของเทคโนโลยีกับอาชพี และ 4.4 การท�ำ งานรว่ ม กับเคร่ืองจักรและระบบอัตโนมตั ิ ในหนงั สือเรียน จากนั้นทำ�ใบกจิ กรรมท่ี 9.2 อาชีพของฉนั และอภิปรายรว่ มกนั 8.2.7 ผ้สู อนแบง่ ผูเ้ รยี นเปน็ กลมุ่ กลมุ่ ละ 3 - 4 คน แจกเกม AI VERSUS HUMAN ให้ ผู้เรียนอา่ นกตกิ าการเล่นเกม 8.2.8 ผสู้ อนทบทวนกติกาการเลน่ เกม ใหผ้ ูเ้ รยี นเล่นเกม AI VERSUS HUMAN และ ท�ำ ใบกิจกรรมที่ 9.3 AI VERSUS HUMAN 8.2.9 ผู้สอนและผูเ้ รียนรว่ มกันอภิปรายสรปุ การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีกับอาชพี ผลกระทบของเทคโนโลยีกับอาชพี 9 การวัดและประเมินผล 9.1 ประเมินจากการท�ำ กิจกรรม 9.2 สงั เกตพฤตกิ รรมจากการท�ำ งาน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือคร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมท่ี 9 | อนาคตของฉัน 79 เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) 10 ส่อื และแหลง่ ขอ้ มลู 10.1 วิดโี อเร่อื ง “Will robots take our jobs? | CNBC Explains” https://youtu.be/a-7Azih0D98 11 ข้อเสนอแนะ 11.1 ผู้สอนสามารถเลือกทำ�บางกิจกรรม หรือให้ทำ�นอกเวลา หากเวลาในการจัดการเรียนรู้ ในหอ้ งเรยี นไม่เพียงพอ 11.2 การตอบค�ำ ถามในใบกจิ กรรมท่ี 9.1 – 9.3 ผสู้ อนอาจใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ เขยี นค�ำ ตอบลงในเวบ็ ไซต์ หรือบริการต่าง ๆ ท่ีผู้เรียนสามารถแสดงความคิดเห็นหรือใช้งานร่วมกันได้ เช่น Google docs, www.padlet.com 11.3 ผสู้ อนอาจยกตวั อยา่ งสถานการณป์ จั จบุ นั ใหผ้ เู้ รยี นพจิ ารณา การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี กบั อาชพี ผลกระทบของเทคโนโลยกี บั อาชพี อาชพี ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร อาชพี ทีใ่ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 11.4 หากมีเวลาเพียงพอ ผู้สอนควรให้ผู้เรียนอภิปรายประเด็นในแบบฝึกหัดท้ายบทจากหนังสือ เรียน หรือแทรกไปในกิจกรรมอ่ืนเพื่อให้ผู้เรียนตระหนักถึงการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี กับอาชพี ผลกระทบของเทคโนโลยกี บั อาชพี 11.5 ระหว่างการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ อาจน�ำ คำ�ถามชวนคดิ มาอภปิ ราย 11.6 วดิ ีโอเรือ่ ง “Will robots take our jobs? | CNBC Explains” มีเน้อื หาเปน็ ภาษาอังกฤษ ผสู้ อนอาจอธบิ ายประกอบเพื่อเพมิ่ ความเขา้ ใจใหก้ บั ผเู้ รยี น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

80 กจิ กรรมที่ 9 | อนาคตของฉนั คมู่ ือครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) ใบกิจกรรมที่ 9.1 อาชพี ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ ชอ่ื -สกุล ชน้ั เลขที่ ตอนท่ี 1 ค�ำ ช้แี จง: ใหน้ กั เรียนยกตัวอยา่ งอาชีพหรือต�ำ แหน่งงานภายในโรงเรยี น 3 ตวั อย่าง พร้อม อธบิ ายวา่ อาชีพหรอื ต�ำ แหนง่ งานเหลา่ น้ี ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการท�ำ งานอย่างไร 1 2 3 ตอนที่ 2 ให้นักเรียนยกตัวอย่างอาชีพอ่ืนท่ีใช้เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยในการทำ�งาน และช่วย อยา่ งไร ตอนที่ 3 ให้นักเรียนค้นหาปริมาณความต้องการของตำ�แหน่งงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศพร้อม ท้ังอภิปรายถึงแนวโน้มและการพยากรณอ์ าชีพเกิดใหม่ในอนาคต สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื คร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 9 | อนาคตของฉัน 81 เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) ช้นั เลขที่ ใบกิจกรรมที่ 9.2 อาชพี ของฉัน ชื่อ-สกุล 1 รับบัตรสถานการณ์จากครูแล้วตอบค�ำ ถามตอ่ ไปน ี้ อาชีพดังกลา่ วได้รับผลกระทบจากปัญญาประดิษฐอ์ ย่างไร ในอนาคตอาชพี ดงั กลา่ วควรนำ�ปญั ญาประดษิ ฐม์ าประยุกต์ใช้อยา่ งไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

82 กิจกรรมที่ 9 | อนาคตของฉัน คมู่ อื ครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) 2 ใหน้ ักเรยี นบนั ทึกขอ้ มลู ต่อไปนี้ 2.1 ขอ้ มูลเก่ียวกบั นกั เรยี น อาชีพทส่ี นใจ ความถนดั /ความสามารถพเิ ศษ บุคลกิ ภาพ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือคร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมท่ี 9 | อนาคตของฉนั 83 เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) 2.2 จากขอ้ มูลในขอ้ 2.1 ใหน้ ักเรียนวิเคราะหแ์ ละตอบค�ำ ถามตอ่ ไปนี้ อาชีพท่เี หมาะสมและคาดวา่ ทำ�แลว้ ประสบความสำ�เรจ็ คือ ความรู้และทักษะที่จ�ำ เปน็ ความรูแ้ ละทกั ษะทน่ี ักเรียนมี ความรแู้ ละทักษะท่ตี อ้ ง ในการประกอบอาชีพ พฒั นาเพิ่มเตมิ 2.3 จากข้อ 2.2 นกั เรียนคดิ วา่ แนวโน้มของอาชพี นีใ้ นอนาคตจะเปน็ อยา่ งไร ควรปรับตวั และ นำ�เทคโนโลยีมาต่อยอดช่วยในการท�ำ งานอย่างไร แนวโน้มของอาชพี นีใ้ นอนาคต การปรบั ตวั และน�ำ เทคโนโลยี มาตอ่ ยอดช่วยในการทำ�งาน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

84 กิจกรรมที่ 9 | อนาคตของฉนั คมู่ ือครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) บัตรสถานการณก์ จิ กรรมท่ี 9.2 อาชีพ อาชีพ อาชพี ครู เกษตรกร ลา่ ม/แปลภาษา อาชีพ อาชีพ อาชพี คา้ ขาย ทนายความ โปรแกรมเมอร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คูม่ อื คร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 9 | อนาคตของฉัน 85 เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) ใบกจิ กรรมท่ี 9.3 AI VERSUS HUMAN 1 ชือ่ -สกลุ เลขท่ี 2 ชอ่ื -สกลุ เลขท่ี 3 ชอ่ื -สกลุ เลขที่ 4 ชือ่ -สกุล เลขที่ คำ�ช้แี จง : ให้นกั เรยี นแต่ละกลุม่ เลน่ เกม AI VERSUS HUMAN เมอ่ื จบเกมใหผ้ เู้ รยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอื่ ตอบ คำ�ถามต่อไปน้ี ปัญญาประดิษฐ์เหมาะกับอาชีพที่มีลักษณะ นักเรียนมีแนวปฏิบัติเพ่ือให้มนุษย์สามารถ งานแบบใด ท�ำ งานรว่ มกบั ปัญญาประดิษฐ์ไดอ้ ย่างไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

86 กจิ กรรมท่ี 9 | อนาคตของฉัน คู่มือครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) กติกาเกม AI VERSUS HUMAN 1 อุปกรณ์ของเกมนี้จะใช้กระดานเกม 1 7 ถา้ ทมี ใดไมส่ ามารถวางได้ ใหห้ ยบิ การด์ พลงั กระดาน และการด์ 2 ชุด คอื การ์ดตวั ละคร จากกองกลางเพม่ิ ครง้ั ละ 1 ใบ และวางการด์ และการ์ดพลัง ที่ตรงกับตัวละครของฝ่ายตนเอง 1 ใบ ถ้า วางไมไ่ ด้ให้สะสมไวบ้ นมือผู้เล่น 2 แบ่งผเู้ ล่นออกเป็น 2 ฝา่ ย 3 ตัวแทนแต่ละทีมจับการ์ดตัวละคร (AI, 8 กรณีถ้าหยิบได้การ์ดพิเศษ ต้องทำ�ตาม ข้อความบนการด์ HUMAN) เพอื่ เลอื กฝ่ายในการแขง่ ขนั ทำ�ลาย คือการน�ำ การ์ดใบสดุ ทา้ ยของ 4 ใหผ้ ้เู ลน่ แตล่ ะฝา่ ยหยิบการด์ พลงั ฝา่ ยละ 3 ฝา่ ยตรงข้ามออก 1 ใบ วาง 2 ครงั้ คือ การวางการ์ดพลังได้ 2 ใบ โดยการด์ พลงั จะเปน็ การด์ ทแี่ สดงอาชพี ใบติดตอ่ กนั ลักษณะงาน ข้อดี ข้อเสียของ AI และ ผ่าน คือ รอบนงี้ ดการวางการด์ พลัง HUMAN 5 ผเู้ ลน่ น�ำ การด์ พลงั ทตี่ รงกบั ตวั ละครของฝา่ ย 9 หากฝ่ายใดมีการด์ บนมือครบ 5 ใบ ใหเ้ ลือก ตนเองวางบนกระดานเกม โดยผลัดกันวาง การ์ดบนมอื ตนเองเพ่อื ลงใหฝ้ ่ายตรงขา้ ม 1 ฝ่ายละ 1 ใบการวางจะวางเฉพาะฝ่งั ตวั เอง ใบ เท่าน้ัน โดยวางเฉพาะในช่องสีน้ำ�เงิน และ วางจากบนลงลา่ ง หรอื จากลา่ งขน้ึ บน เพ่อื 10 ฝ่ายใดถึงเป้าหมายก่อนเป็นจะเป็นผู้ชนะ สุดท้ายให้วางถึงคำ�ว่า AI หรือ HUMAN หรอื กรณที ฝ่ี า่ ยใดมกี ารด์ บนมอื ครบ 5 ใบ 2 ในฝง่ั ของตน ครัง้ จะเป็นผแู้ พ้ 6 ในการวางแต่ละคร้ังให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม เปน็ ผตู้ รวจสอบวา่ มกี ารวางผดิ หรอื ไม่ (ควร 11 ผูเ้ ลน่ แตล่ ะฝา่ ยพจิ ารณาการ์ดทง้ั หมด แล้ว จะเป็นการ์ดของฝ่ังตนเอง) หากพิจารณา ชว่ ยกนั เขยี นขอ้ ความบนการด์ พลงั เพอื่ แบง่ รว่ มกนั แล้วเป็นการวางที่ผิด ให้เล่อื นการด์ AI และ Human ลงบนการ์ดสรปุ ความรู้ นั้นไวใ้ นชอ่ งสแี ดง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ อื คร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 9 | อนาคตของฉนั 87 เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) กระดานเกม AI VERSUS HUMAN สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

88 กจิ กรรมที่ 9 | อนาคตของฉัน คู่มอื ครู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) การ์ด AI VERSUS HUMAN การด์ ตัวละคร AI HUMAN AI การ์ดพลัง HUMAN การด์ พเิ ศษ งานทน่ี า่ เบื่อ ครู ซ้�ำ ซาก ทำ�ลาย ทนายความ พยากรณอ์ ากาศ ทำ�ลาย ในอนาคต งานท่อี ันตราย วาง 2 คร้งั นกั วชิ าการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ค่มู ือคร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมที่ 9 | อนาคตของฉัน 89 เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) HUMAN AI การ์ดพิเศษ แปลภาษา วาง 2 ครั้ง แพทยท์ างเลอื ก โดยไม่เนน้ ความ สละสลวย ขอ้ ความ งานพสิ จู น์ ท�ำ ลาย มวี าทะศิลปใ์ น อกั ษร การพูด งานสกปรก ผา่ น โปรแกรมเมอร์ ยากล�ำ บาก ระบบจดจ�ำ นักพฒั นาเว็บ ใบหนา้ แปลงเสียงพดู เกบ็ ของปา่ ขาย เป็นข้อความ แพทยแ์ ผนไทย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

90 กิจกรรมที่ 9 | อนาคตของฉัน คมู่ อื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคำ�นวณ) AI HUMAN เลือกพอรต์ การลงทุน ผกู้ �ำ กับ ระบบเก็บเงนิ นักแสดง อตั โนมตั ิ งานที่เน้น รถยนต์ ความ อัตโนมตั ิ ประนีประนอม ท�ำ ตามค�ำ ส่งั เงื่อนไข งานทตี่ ้องใสใ่ จ ไม่เนน้ เน้นบริการ ความรู้สกึ งานแปรปรวน เหมาะกบั งานท่ี ตามอารมณ์ มลี ักษณะซ้ำ� ๆ และความรู้สึก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คมู่ ือคร ู รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กจิ กรรมท่ี 9 | อนาคตของฉัน 91 เทคโนโลยี (วิทยาการค�ำ นวณ) การด์ สรุปความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

92 ภาคผนวก ค่มู ือคร ู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการค�ำ นวณ) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คู่มือครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาคผนวก 93 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) ภาคผนวก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

94 ภาคผนวก คมู่ อื ครู รายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำ�นวณ) แบบประเมนิ แฟม้ สะสมผลงาน ชือ่ เจา้ ของแฟ้มสะสมผลงาน ค�ำ ชแี้ จง : ใหน้ กั เรยี นประเมนิ แฟม้ สะสมผลงานของเพอ่ื น และใหข้ อ้ เสนอแนะ ตามประเดน็ ทก่ี าํ หนด ประเดน็ การประเมิน 321 ข้อสังเกต/ขอ้ เสนอแนะ 1 ความครบถ้วนขององคป์ ระกอบ ใน แฟม้ สะสมผลงาน 2 การจัดเรยี งเน้ือหาสอดคล้องกบั ความต้องการของสาขาท่ีสมัคร เขา้ ศึกษา 3 เน้ือหาอา่ นเขา้ ใจง่าย และแสดง ถงึ ความสามารถของเจา้ ของ แฟม้ สะสมผลงานไดช้ ัดเจน 4 แสดงความเปน็ ตวั ตนและ ทัศนคติของเจา้ ของแฟม้ สะสม ผลงาน 4 การน�ำ เสนอผลงานมคี วาม ตระหนักถงึ ความปลอดภัยของ ข้อมูลส่วนบคุ คล รวมคะแนน (ลงช่อื ) ……………………………………………………………. ผู้ประเมิน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี