เซลล์ทั่วไปมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 มิลลิเมตร

         ���š�Ţͧ�õչ��������� ������ͫԹ ��Сͺ仴���������õչ�ͧ��� ����������ç���ҧ������� (-helical structure) �ç���ҧ������ͧ��¹��оѹ�ѹ�ա���繫���������� (coiled-coil structure) ����դ�������觷��ҹ�ҡ ����˹��¢ͧ������ͫԹ�դ������ 40 ������� ���§��ǵ�͡ѹ��Դ��Ǩô�ҧ���躹����Ǣͧ����͡�Թ��鹤�� �������š�Ţͧ������ͫԹ�դ��������º��ҡѺ��ǧ����Ǣͧ�͡�Թ��ǡ�� 7 ˹��� ������躹����͡�Թ

                        11. �Ǥ����� (Vacuole)   �������Тͧ����ת��觷�˹�ҷ������͹�Ѻ����� (Lysosomes) �ͧ�ѵ��   �������з�������������������¡����⹾��ʵ� (Tonoplast)  ����������բ�Ҵ��硨��ըӹǹ�ҡ�������������ԭ�������Ǥ����ͨ�������ѹ��˹��������բ�Ҵ�˭�    �����Ǥ��������͹������ª�Դ �� �����ŵԡ �͹���  (Hydrolytic emzymes) �͡�ҡ����Ҩ������������ � ��  ç��ѵ��㹡�����͹���ҹԹ  (Anthocyanins) �������ᴧ ��ǧ     ����Թ  ���� ��Т�� �繵� ����ѧ��᷹�Թ (Tannin) �õչ��С�� (Gum) ���ͧ�ҡ����û�Сͺ��ҧ � ���������������Ǥ����ͨӹǹ�ҡ  ������Ǥ���������ö�����ѡ�Ҥ����觢ͧ�������������ѧ�������������µ�������

เซลล์คืออะไร
              เซลล์ (Cell) มาจากคำว่า Cella ในภาษาละติน ซึ่งมีความหมายว่าห้องเล็ก ๆเซลล์เป็นหน่วยเล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตสามารถเพิ่มจำนวน เจริญเติบโตและตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้ เซลล์บางชนิดเคลื่อนที่ได้ด้วยตัวเอง เช่น เซลล์อสุจิเป็นต้นเซลล์หลายชนิดมีรูปร่างและลักษณะพิเศษที่แตกต่างกันไปตามตำแหน่งที่อยู่และหน้าที่การทำงานแต่มีโครงสร้างสำคัญ 3 ส่วน ที่เหมือนกัน คือ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึมและนิวเคลียสโดยเยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membane) เป็นส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์และกั้นเซลล์จากสิ่งแวดล้อมภายนอก ภายในเซลล์มีโครงสร้างเล็ก ๆ เรียกว่า ออร์แกเนลล์ (Organelle) ล่องลอยอยู่ในส่วนของเหลวที่เรียกว่าไซโทพลาซึม (Cytoplasm) ออร์แกเนลล์เหล่านี้ทำหน้าที่ต่าง ๆ กันมีนิวเคลียสเป็นศูนย์กลางควบคุมกระบวนการเมตาโลซึมต่าง ๆและการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ความเป็นมาเกี่ยวกับการศึกษาเซลล์
                ในปี ค.ศ. 1665 นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อ รอเบิร์ต ฮุก (Robert Hooke) ได้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ชนิดเลนส์ประกอบมาใช้ศึกษาเนื้อเยื่อของไม้คอร์กพบว่าประกอบด้วยช่องว่างเล็ก ๆ จำนวนมาก และได้เรียกช่องนี้ว่า "เซลล์"เซลล์ดังกล่าวนี้เป็นเซลล์ที่ตายแล้วแต่ยังคงรูปอยู่ได้เพราะมีผนังเซลล์ซึ่งมีความแข็งจากนั้นก็มีการค้นคว้าศึกษาเรื่องเซลล์ของพืช สัตว์และจุลินทรีย์อื่น ๆเรื่อยมาจนกระทั่งในปี   ค.ศ. 1839 นักวิทยาศาสตร์ชื่อ เทโอดอร์ ชวันน์ (Theodor Schwnaa) และ (Matthias Jadob Schleiden) ได้ร่วมกันตั้งทฤษฎีเซลล์ ซึ่งมีใจความสำคัญว่า "เนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์และผลิตภัณฑ์ของเซลล์"สิ่งมีชีวิตทุกชนิดจะมีโครงสร้างเหมือนกัน คือ ประกอบขึ้นด้วยเซลล์ (Cell) ซึ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐานคล้ายคลึงกัน

เซลล์ทั่วไปมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 มิลลิเมตร
  
เซลล์ทั่วไปมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 มิลลิเมตร

มัททีอัส ยาคอบ ชไลเดน (ซ้าย) และเทโอดอร์ ชวันน์ (ขวา)
ที่มาภาพ : http://www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/BP1/Program/chapter3/p1.html

ชนิดของ เซลล์
              1.เซลล์ที่ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ( Prokaryotic cells = เซลล์โปรคาริโอต ) ลักษณะเซลล์จะค่อนข้างเล็ก มีขนาด 0.2-10 ไมโครเมตร จะเป็นเซลล์ของพืชชั้นต่ำพวกแบคทีเรีย สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน และไมโครพลาสมา
                            1.1แบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีกระจัดกระจายอยู่ทั่วไป มีทั้งชนิดที่เป็นโทษคือทำให้เกิดโรค เจ็บป่วยและชนิดที่ไม่เป็นโทษต่อร่างกาย หรือบางชนิดเป็นแบคทีเรียประจำถิ่นในร่างกายของเรา เพื่อช่วยสร้างความสมดุล และคอยป้องกันเชื้อโรคที่เป็นอันตรายได้ระดับหนึ่ง แต่ในบางครั้งเมื่อร่างกายเกิดความอ่อนแอลง เชื้อประจำถิ่นอาจเพิ่มจำนวนมากเกินไปจนทำให้เสียสมดุลและเกิดความผิดปกติได้ แบคทีเรีย จะมีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองด้วยตาเปล่า ดังนั้นเมื่อเกิดความผิดปกติขึ้น เช่นอาการเจ็บคอ แผลเป็นหนอง ปวด บวม ร้อน เป็นต้น แบคทีเรียมีการสืบพันธ์แบบไม่อาศัยเพศคือค่อยๆยืดยาวออกแล้วค่อยๆคอด เข้าหากันจนขาดออกจากกัน
                            1.2.สาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน (Cyanobacteria) จัดเป็นพืชชั้นต่ำสามารถสังเคราะห์แสง ให้ออกซิเจน เปลี่ยนสีของเซลล์ได้ และตรึงไนโตรเจนได้ พบได้ทั่วไปทุกแห่งในโลก ทั้งในน้ำจืด ทะเล น้ำพุร้อน และอาจอยู่รวมกับสิ่งมีชีวิตอื่นได้ทั้งพืชและสัตว์ สาหร่ายในกลุ่มมีการสืบพันธ์แบบไม่อาศัยเพศ คือค่อยๆยืดยาวออกแล้วค่อยๆคอดเข้าหากันจนขาดออกจากกัน 

              2. เซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ( Eukaryotic cells = เซลล์ยูคาริโอต ) เซลล์จะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง มากกว่า 5 ไมโครเมตร ตัวอย่างของเซลล์ชนิดนี้ได้แก่ เห็ด รา เซลล์ของพืชและสัตว์ทั่วๆไป มีขนาด 10-100 ไมโครเมตร
                            2.1เซลล์พืชมีรูปร่างเป็นเหลี่ยมมีผนังเซลล์อยู่ด้านนอกมีคลอโรพลาสต์ภายใน เซลล์ไม่มีเซนทริโอลแวคคิวโอลมีขนาดใหญ่ มองเห็นไ ด้ชัดเจนไม่มีไลโซโซม
                            2.2เซลล์สัตว์มีรูปร่างกลม หรือรีไม่มีผนังเซลล์ แต่มีสารเคลือบเซลล์อยู่ด้านนอกไม่มีคลอโรพลาสต์มีเซนทริโอลใช้ในการแบ่งเซลล์ แวคคิวโอลมีขนาดเล็ก มองเห็นได้ไม่ชัดเจ นมีไลโซโซม 

เซลล์ทั่วไปมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 มิลลิเมตร

โครงสร้างเซลล์สัตว์เป็นเซลล์แบบยูคาริโอติก
ที่มาภาพ : http://www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/BP1/Program/chapter3/P3.html

โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างที่สำคัญหลักๆของเซลล์มี 3 อย่าง
              1. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane )  มีลักษณะเป็นเยื่อบางๆประกอบด้วยโปรตีนและไขมัน ทำหน้าที่ควบคุมเซลล์ ให้คงรูปอยู่ได้และทำหน้าที่ควบคุมการผ่านเข้าออกของสารบางอย่าง เช่น น้ำ อากาศ และสารละลายต่างๆ 

เซลล์ทั่วไปมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 มิลลิเมตร

โครงสร้างเยื่อหุ้มเซลล์
ที่มาภาพ : http://school.obec.go.th/saneh/cell/cell/main1.htm

             2. ไซโตรพลาสซึม ( Cytoplasm)  มีลักษณะเป็นของเหลวที่มีสิ่งต่างๆปนอยู่ เช่น ส่วนประกอบอื่นๆเซลล์ อาหารซึ่งได้แก่ น้ำตาล ไขมัน โปรตีน และของเสีย
              3. นิวเคลียส ( Nucleus )  มีส่วนประกอบสำคัญ 2 ส่วน คือ
                     - นิวคลีโอลัส ( Nucleolus ) ประกอบไปด้วยสารพันธุกรรม DNA และ RNA มีการสร้างโปรตีนให้แก่เซลล์และส่งออกไปใช้นอกเซลล์
                       - โครมาติน (Chromatin) คือ ร่างแหของโครโมโซม โครโมโซมประกอบด้วย DNA หรือยีน ( Gene) โปรตีนหลายชนิดทำหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีน DNA เป็นตัวควบคุมการแสดงออกของลักษณะต่างๆ ในสิ่งมีชีวิต โดยการควบคุมโครงสร้างของโปรตีนให้ได้คุณภาพและปริมาณโปรตีนที่ เหมาะสม 

เซลล์ทั่วไปมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 มิลลิเมตร

โครงสร้างของเซลล์เมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
ที่มาภาพ : http://school.obec.go.th/saneh/cell/cell/main1.htm

การแบ่งเซลล์
              การแบ่งเซลล์เป็นการช่วยให้ได้จำนวนเซลล์ที่มากขึ้น ทำให้เกิดการเจริญเติบโตในสิ่งมีชีวิต เป็นเพราะการแบ่งเซลล์ช่วยทำให้เกิดเนื้อเยื่อที่มีความซับซ้อน ทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าที่การทำงานของโครงสร้างนั้น

ขั้นตอนของการแบ่งเซลล์
แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ
             1.การแบ่งนิวเคลียส (Karyokinesis = คาริโอคิเนซิส) เป็นกระบวนการแบ่งตัวของนิวเคลียส(แบคทีเรียและสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส จึงไม่ถือว่ามีนิวเคลียสแท้จริง ไม่มีกระบวนการ Karyokinesis แต่มีการแบ่งสารพันธุกรรมไปสู่เซลล์ใหม่เช่นเดียวกัน) ซึ่งอาจแบ่งนิวเคลียสแบบ mitosis หรือ meiosis ก็ได้
                 2.การแบ่งไซโตพลาสซึม (Cytokinesis = ไซโตคิเนซิส) เป็นกระบวนการแบ่งตัวต่อจากการแบ่งนิวเคลียสแล้ว เพื่อให้สารที่จำเป็นและ organelles ต่างๆ แบ่งไปให้เซลล์ใหม่ ซึ่งถือว่าจำเป็นต่อกระบวนการ metabolism จำเป็นต่อการเจริญเติบโต และเซลล์มีชีวิตอยู่ได้(ถ้าเซลล์ไม่มีการแบ่ง Cytoplasm มีแต่การ แบ่งนิวเคลียส จะทำให้ได้เซลล์ที่มีหลายนิวเคลียส เช่น เซลล์กล้ามเนื้อลาย หรือ เซลล์ราเมือก)

เซลล์ทั่วไปมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 มิลลิเมตร

http://blog.eduzones.com/tungjia/32750
http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/2155-00/

เซลล์ทั่วไปมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณกี่มิลลิเมตร

ใหญ่และผนังเซลล์ (cell wall) หนา เซลล์ส่วนใหญ่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-40 um เซลล์ในร่างกาย คนมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5-20 um ภาพที่ 2.1 แสดงขนาดของเซลล์เปรียบเทียบกับขนาดของสิ่ง มีชีวิต อนุภาคไวรัส และองค์ประกอบย่อยภายในเซลล์ Page 10 - 12 - รูปร่างของเซลล์ไม่แน่นอนแล้วแต่ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ ส่วนใหญ่เซลล์มีการปรับ ...

ขนาดของเซลล์สิ่งมีชีวิตมีขนาดเท่าใด

เซลล์ประกอบจากไซโทพลาซึมที่มีเยื่อหุ้มล้อมรอบ ภายในไซโทพลาซึมบรรจุสารชีวโมเลกุลเช่น โปรตีนและกรดนิวคลิอิก เซลล์ของพืชและสัตว์ส่วนใหญ่สามารถมองเห็นได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงที่มีมิติ (dimension) ระหว่าง 1 ถึง 100 ไมโครเมตร กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนให้ความคมชัดและรายละเอียดที่มากกว่า สิ่งมีชีวิตถูกจำแนกออกเป็นสิ่งมี ...

ความสําคัญของเซลล์มีอะไรบ้าง

เซลล์เป็นหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กที่สุด แต่มีความสําคัญมากที่สุด เช่นกัน การศึกษาทําความเข้าใจโครงสร้างและกระบวนการทํางานของเซลล์จะช่วยให้ เข้าใจถึงระบบการทํางานของเนื้อเยื่อ อวัยวะ และระบบอวัยวะได้ดี เซลล์ของสิ่งมีชีวิตแม้ว่า จะมีขนาดรูปร่างแตกต่างกัน แต่มีองค์ประกอบโดยเฉพาะสารเคมีพื้นฐานที่เหมือนกัน จะ ...

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต มีอะไรบ้าง

เซลล์เป็นโครงสร้างพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบนโลกประกอบด้วยธาตุหลัก 4 ธาตุ คือ ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน และคาร์บอน ซึ่งเป็นธาตุเบาที่มีอยู่ทั่วไปบนโลกและในจักรวาล นอกจากนั้นเซลล์ยังใช้ฟอสฟอรัสและกำมะถัน ในการสร้างวัสดุโครงสร้างของเซลล์ และกระบวนการเผาผลาญอาหารเพื่อสร้างพลังงาน ธาตุทั้งหกนี้พบ ...