5. ความปลอดภัยเรื่องระบบธุรกรรมออนไลน์คือ


เผยแพร่ 1 พ.ย. 2564 ,16:39น.




“10 แนวทาง” ทำธุรกรรมออนไลน์อย่างปลอดภัย ป้องกันมิจาชีพสวมรอยทำธุรกรรมผ่านร้านค้าออนไลน์

ก่อนหน้าใครที่มีบัตรเครดิต หรือบัตรเครดิต คงเกิดความกังวล หลังมีกลุ่มมิจฉาชีพสุ่มข้อมูลบัตรและนำไปสวมรอยทำธุรกรรมผ่านร้านค้าออนไลน์ต่างประเทศที่ไม่มีระบบยืนยันตัวตน จนเกิดความเสียหายกว่า 130 ล้านบาท โดยที่ผ่านมาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้พยายามยกระดับระบบความปลอดภัย และวางมาตรการป้องกันปัญหาเชิงรุก อย่างการแก้ไขกฎระเบียบให้สอดคล้องกับมาตรฐานที่สมาคมธนาคารไทยกำหนด

ระงับบัตรแล้ว แบงก์ให้คืนถูกดูดเงิน ให้รีบติดต่อ "แบงก์ชาติ - ส.ธนาคารไทย" แถลงชี้แจงสาเหตุ

ธปท. แถลงคืนเงิน "บัตรเดบิต" ที่ตัดเงินผิดครบแล้ว "บัตรเครดิต" เร่งแก้ไข ยันไม่ต้องชำระตามที่เรียกเก...

5. ความปลอดภัยเรื่องระบบธุรกรรมออนไลน์คือ

เช่น การใช้ 3D Secure  กำหนดให้ใช้ข้อมูลตัวเลข 3 ตัวหลังบัตร (CVV)  หรือ ตัวเลข 3 ตัวหลังบัตร ร่วมกับการใช้ OTP (CVV+OTP) เพื่อยกระดับความปลอดภัยให้กับผู้ใช้บัตรในการชำระเงินค่าสินค้าบริการผ่านทางออนไลน์ 

อย่างไรก็ตาม  กลุ่มมิจฉาชีพยังพยายามหาวิธิการใหม่ ๆ เพื่อหลอกเอาเงินของเรา ดังนั้น มาดูกันว่า มีแนวทางใดบ้าง ที่จะทำให้เราธุรกรรมการเงินได้อย่างมั่นใจ 

1. ทำธุรกรรมการเงินออนไลน์กับร้านค้าที่น่าเชื่อถือ
2. หลีกเลี่ยงการทำธุรกรรมการเงิน หรือไม่ผูกข้อมูลบัตรเครดิตกับร้านค้าออนไลน์- แพลตฟอร์ม ที่ไม่มีระบบการยืนยันตัวตนด้วย OTP หรือที่ไม่ใช้เทคโนโลยี 3D Secure 
3. ไม่ส่งต่อ OTP ให้กับบุคคลอื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ 
4. ตั้งรหัสผ่านที่ยากต่อการคาดเดา
5. ไม่ใช้รหัสผ่านร่วมกันในการทำธุรกรรมการเงินออนไลน์ และร้านค้าออนไลน์ 
6. ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัว  รวมถึงข้อมูลทางการเงิน เช่น เลขบัญชี หมายเลขบัตรเดบิต บัตรเครดิต เลขท้ายหลังบัตรเครดิต (CVV) แก่บุคคลอื่น 
7. ปรับวงเงินการชำระสินค้าให้เหมาะสม หรือปรับเป็นศูนย์ชั่วคราว หากยังไม่มีความต้องการจะใช้ซื้อสินค้า 
8. หมั่นสังเกตการแจ้งเตือนบัญชี เงินเข้า-เงินออก ยอดการใช้จ่ายผ่านบัตร อย่างสม่ำเสมอ
9. หากพบรายการบัญชีผิดปกติ ควรติดต่อธนาคารเจ้าของบัตรโดยตรงทันที  
10. ติดตามข่าวสารจาก TB-CERT และช่องทางที่เป็นทางการของทางธนาคาร

  อย่างไรก็ตาม แต่ละธนาคาร “ไม่มีนโยบาย” สอบถามข้อมูลลูกค้าผ่านทางโทรศัพท์  SMS และโซเชียลมีเดีย หากเจอพฤติกรรมเข้าข่ายให้สงสัยไว้ก่อนว่าคือมิจฉาชีพ และรีบติดต่อผ่านช่องทางบริการต่าง ๆ ของธนาคารทันที

ไม่พลาดทุกเหตุการณ์ติดตามข่าวจาก PPTV ได้ที่ Subscribe

เรียนรู้การเงิน

5. ความปลอดภัยเรื่องระบบธุรกรรมออนไลน์คือ

แนวทางการทำธุรกรรมการเงินออนไลน์ที่จะช่วยให้ทำธุรกรรมอย่างปลอดภัย เพื่อให้ลูกค้าสามารถทำธุรกรรมการเงินได้อย่างมั่นใจ ดังนี้

  1. ทำธุรกรรมการเงินออนไลน์กับร้านค้าออนไลน์ที่น่าเชื่อถือ
  2. พยายามหลีกเลี่ยงการทำธุรกรรมการเงิน หรือไม่ผูกข้อมูลบัตรเครดิตกับร้านค้าออนไลน์ หรือ แพลตฟอร์มที่ไม่มีระบบการยืนยันตัวตนด้วย OTP หรือที่ไม่ใช้เทคโนโลยี 3D Secure
  3. ไม่ส่งต่อ OTP ให้กับบุคคลอื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ
  4. ตั้งรหัสผ่านที่ยากต่อการคาดเดาในการทำธุรกรรมการเงินออนไลน์
  5. ไม่ใช้รหัสผ่านร่วมกันในการทำธุรกรรมการเงินออนไลน์ และร้านค้าออนไลน์
  6. ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัว รวมถึงข้อมูลทางการเงิน เช่น เลขบัญชี หมายเลขบัตรเดบิต บัตรเครดิต เลขท้ายหลังบัตรเครดิต (CVV) แก่บุคคลอื่น (ธนาคารไม่มีนโยบายสอบถามข้อมูลลูกค้าผ่านทางโทรศัพท์ SMS และโซเชียลมีเดีย)
  7. ปรับวงเงินสำหรับการชำระสินค้าให้เหมาะสมกับการทำธุรกรรมการเงินในโลกออนไลน์ หรือปรับวงเงินชำระสินค้าเป็นศูนย์ชั่วคราว หากยังไม่มีความต้องการจะใช้ชำระค่าสินค้า
  8. สังเกตุการแจ้งเตือนบัญชี เงินเข้า-เงินออก จากธนาคาร และหมั่นตรวจสอบยอดการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตและบัตรเดบิตอย่างสม่ำเสมอ
  9. หากพบรายการบัญชีผิดปกติ ควรติดต่อธนาคารเจ้าของบัตรโดยตรงทันที หากมีข้อสงสัย ติดต่อสอบถามผ่านช่องทางบริการต่าง ๆ ของธนาคาร หรือ ธปท.
  10. ติดตามข่าวสารจาก TB-CERT และช่องทางที่เป็นทางการของทางธนาคาร

5. ความปลอดภัยเรื่องระบบธุรกรรมออนไลน์คือ

บทความที่คุณอาจสนใจ

ธุรกรรมทางการเงินออนไลน์

การทำ ธุรกิจทางการเงินออนไลน์  ดูเหมือนจะเป็นเทรนด์ใหม่ที่ตอบโจทย์ผู้ใช้บริการในยุคปัจจุบันได้ดีที่สุด และผู้ให้บริการทางการเงินเองก็ตื่นตัวและตอบสนองความต้องการในการทำธุรกรรมทางการเงินออนไลน์กันมากขึ้นเช่นกัน เรียกได้ว่า สังคมไร้เงินสด ได้กลายมาเป็น New Normal ในยุคปัจจุบันไปแล้ว 

ธุรกรรมทางการเงินออนไลน์ มีอะไรบ้าง?

ตามที่ได้เกริ่นไปในบทความที่แล้ว ธุรกรรมทางการเงินออนไลน์ คือ การทำธุรกรรมเกี่ยวกับการเงิน-การธนาคารผ่านอินเตอร์เน็ต ซึ่งก็มีข้อดีหลายอย่าง เพราะช่วยอำนวยความสะดวกสบายในการทำ ธุรกรรมทางการเงิน ให้แก่ผู้ใช้บริการได้เป็นอย่างมาก   

ตัวอย่าง การทำธุรกรรมทางการเงินออนไลน์ที่ขาดไม่ได้ตอนนี้ มีอะไรบ้าง? … ไกดูกัน

1.Online-Banking

ธนาคารเริ่มต้นการทำธุรกรรมทางการเงินออนไลน์ด้วยบริการ Online-banking ผ่านเว็บไซต์ของธนาคาร จนปัจจุบันเปลี่ยนมาเป็นการใช้งานผ่านโทรศัพท์มือถือหรือ Mobile-Banking กันมากขึ้น เพราะสะดวกและพกพานำไปใช้งานได้ทุกหนทุกแห่ง ซึ่งการทำธุรกรรมออนไลน์ผ่านระบบ Online-Banking ช่วยให้ผู้ใช้บริการสามารถอัพเดทสถานะความเคลื่อนไหวของบัญชี, ถอนเงิน, โอนเงิน, จ่ายบิล เป็นต้น  

2.Debit & Credit card

แน่นอนว่าใครที่ต้องทำธุรกกรมทางการเงินออนไลน์ หรือใช้จ่ายผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ก็คงจะไม่มีบัตรสองใบนี้ไม่ได้ ทั้งบัตรเดบิต และบัตรเครดิต โดยมากบนบัตรทั้งสองใบ จะมีข้อมูลของผู้ใช้บัตร เช่น ลายเซ็น ชื่อเจ้าของบัตร เป็นต้น 

โดยผู้ถือบัตรจะมีอำนาจในใช้บัตรในการซื้อสินค้าหรือบริการต่าง ๆ ซึ่งระบบจะดึงเอาข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครื่องรูดบัตร หรือผ่านการกรอกข้อมูลในการซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้ถือบัตร เพื่อทำการสั่งจ่ายเงิน หรือดำเนินการทำธุรกรรมทางการเงินอื่น ๆ 

โดยบัตรเดบิตจะตัดเงินออกจากบัญชีผู้ถือบัตร ในขณะที่บัตรเดบิตจะเป็นวงเงินที่ธนาคารอนุมัติให้ผู้ถือบัตรใช้จ่ายได้ เป็นสินเชื่อส่วนบุคคลที่เมื่อครบกำหนด ผู้ถือบัตรต้องนำเงินไปจ่ายคืนธนาคารตามยอดค้างชำระที่ใช้ไปนั่นเอง 

3.E-wallet

E-wallet หรือกระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะมาในรูปแบบของ Application โดยที่เราสามารถเติมเงินด้วยการโอนเงินเข้าไปใน กระเป๋าเงินอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีความปลอดภัยสูงเพื่อใช้ในการทำธุรกรรมออนไลน์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นใช้ช้อปปิ้งสินค้าออนไลน์ จ่ายแทนเงินสดตามห้างร้านโดยการสแกน QR code หรือ Barcode เป็นต้น จะได้อารมณ์เหมือนพกกระเป๋าตังค์ไว้ในแอพบนมือถือก็ว่าได้ ยกตัวอย่าง E-wallet เช่น Rabbit LINE Pay หรือ Samsung Pay 

ธุรกรรมทางการเงินออนไลน์มีการรักษาความปลอดภัยแบบไหนบ้าง

จากตัวอย่างการทำธุรกรรมการเงินออนไลน์ด้านบน เพื่อน ๆ คงเห็นแล้วว่า จริงๆ แล้วเรื่องพวกนี้อยู่ไม่ไกลตัวเราเลย หลายคนทำธุรกรรมการเงินออนไลน์อยู่เป็นประจำทุกวัน แล้วเพื่อน ๆ รู้มั้ยว่า ธุรกรรมทางการเงินออนไลน์มีการรักษาความปลอดภัยแบบไหนบ้าง? การทำธุรกรรมการเงินผ่านระบบออนไลน์ มีมาตรการรักษาความปลอดภัยมากน้อยแค่ไหน ไปหาคำตอบกันเลย

1.ยืนยันตัวตนด้วยรหัสผ่านส่วนตัวเมื่อทำธุรกรรมทางการเงินออนไลน์

การใช้รหัสผ่าน ถือเป็นเรื่องที่คุ้นเคยกันอยู่แล้วในมาตรการรักษาความปลอดภัย ปัจจุบันการเข้ารหัสเพื่อทำ ธุรกรรมการเงินออนไลน์ ถูกออกแบบให้มีความรัดกุมและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น เช่น อดีต ธนาคารให้กรอกรหัสตัวเลขเพียง 4 ตัว แต่เดี๊ยวนี้ต้องตั้งรหัสผ่านเป็น 6 ตัว หรือการใช้เทคโนโลยี Touch ID ของสมาร์ทโฟนในการสแกนลายนิ้วมือ เป็นการยืนยันตัวตนเข้าใช้แอปพลิเคชั่น Internet Banking เป็นต้น 

นอกจากนี้ยังมีบางธนาคารที่ให้สามารถตั้งรหัสเป็น รหัสส่วนบุคคล หมายถึงรหัสผ่านที่ไม่จำเป็นต้องใช้เพียงตัวเลขเท่านั้นได้ เพื่อเพิ่มความปลอดภัย ทำให้ยากต่อการเข้าใช้ข้อมูลจากบุคคลอื่นนั่นเอง   

2.ยืนยันรหัสผ่าน OTP เมื่อทำธุรกรรมทางการเงินออนไลน์

ชุดรหัสผ่านใช้ครั้งเดียวภายในระยะเวลาจำกัด OTP หรือ One Time Password ถูกออกแบบมาเพื่อสร้างความปลอดภัยในการทำธุรกรรมทางอินเทอร์เน็ตไม่ว่าจะเป็น เพื่อใช้ยืนยันตัวตนเมื่อสมัครหรือลงทะเบียนออนไลน์ หรือเพื่อยืนยันการชำระเงินผ่านบัตรเมื่อซื้อสินค้าออนไลน์ เป็นต้น 

โดยเราจะได้รหัส OTP ส่งเป็น SMS เข้าไปยังเบอร์มือถือ หรือส่งผ่าน E-mail ที่ได้ลงทะเบียนหรือผูกกับบัตรไว้ เมื่อเราต้องการทำธุรกรรมทางการเงินออนไลน์ รหัส OTP มักมีกำหนดระยะเวลาที่สามารถใช้งานรหัสผ่านนี้ได้อย่างจำกัด เช่น 30 วินาที เป็นต้น เมื่อครบกำหนดระยะเวลาการใช้งาน รหัส OTP เดิมก็จะหมดอายุ และต้องขอรหัส OTP ใหม่ซึ่งจะไม่ซ้ำกันในแต่ละครั้งที่ทำการขอใหม่ 

4.บริการ SMS หรือ Email แจ้งเตือนเมื่อทำธุรกรรมทางการเงินออนไลน์

อีกหนึ่งระบบความปลอดภัยในการทำธุรกรรมทางการเงินออนไลน์ คือ การแจ้งเตือนผ่าน SMS หรือ Email เกี่ยวกับความเคลื่อนไหวของบัญชีธนาคารหรือ Internet Banking ของเรานั่นเอง ซึ่งเพื่อน ๆ ก็จะสามารถเช็คสถานะเงินเข้า เงินออกได้อย่างใกล้ชิด หากมีรายการโอนเงินที่ไม่ตรงต่อความเป็นจริง ก็สามารถสอบถาม และติดตามได้ทันท่วงที

นอกจากข้างต้นที่ทางผู้ให้บริการออกแบบระบบให้มีความรัดกุม ปลอดภัยในการให้บริการธุรกรรมการเงินออนไลน์แล้ว การดูแลความปลอดภัยจากผู้ใช้งานเองก็เป็นสิ่งที่จำเป็น และควรปฏิบัติเพื่อลดความเสี่ยงจากการใช้บริการทางการเงินผ่านระบบออนไลน์ ดังนี้

-ใช้เว็บไซต์ และแอพพลิเคชั่นที่เป็นทางการของผู้ให้บริการเท่านั้น เพื่อหลีกเลี่ยงการเข้าเว็บไซต์ปลอมเพื่อโจรกรรมข้อมูลผู้ใช้งาน

-ตั้งวงเงินในการโอนและถอนให้เหมาะสม เพื่อจำกัดความเสี่ยง

-ไม่ควรเขียนรหัสผ่านหรือบอกรหัสผ่านกับใครก็ตาม

-เปลี่ยนรหัสผ่านบ่อย ๆ

-ซื้อสินค้าหรือบริการออนไลน์จากเว็บไซต์ที่น่าเชื่อถือ  

จะว่าไปการทำ ธุรกรรมทางการเงินออนไลน์ ก็มีข้อดีอยู่มาก แต่หากใช้ไม่ระวัง และไม่ถูกวิธี ก็อาจเพิ่มความเสี่ยง ถูกโจรกรรมข้อมูลไปได้ง่าย ๆ แบบที่ไม่รู้ตัว เพราะฉะนั้นอย่าลืมรักษาความปลอดภัยเกี่ยวกับข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ของตัวเองให้รัดกุมกันด้วยนะ !

ความปลอดภัยเรื่องระบบธุรกรรมออนไลน์คืออะไร

ต่อไปนี้ คือ สิ่งที่ควรทำ ไม่ควรทำ ต้องทำ เพื่อที่จะให้การทำธุรกรรมการเงินผ่านโลกดิจิทัลของคุณปลอดภัย ไม่ตั้งรหัสที่เดาง่าย เป็นเลขเรียง หรือมาจากข้อมูลส่วนตัว เช่น 123456 วัน/เดือน/ปี เกิด และเปลี่ยนรหัสนานๆ ที เพื่อความปลอดภัย หมั่นตรวจสอบประวัติการทำธุรกรรมอยู่เสมอ ดูว่าตรงกับที่ทำธุรกรรมจริงหรือไม่

ธุรกรรมออนไลน์อย่างปลอดภัยมีอะไรบ้าง

ทำธุรกรรมการเงินออนไลน์กับร้านค้าออนไลน์ที่น่าเชื่อถือ พยายามหลีกเลี่ยงการทำธุรกรรมการเงิน หรือไม่ผูกข้อมูลบัตรเครดิตกับร้านค้าออนไลน์ หรือ แพลตฟอร์มที่ไม่มีระบบการยืนยันตัวตนด้วย OTP หรือที่ไม่ใช้เทคโนโลยี 3D Secure. ไม่ส่งต่อ OTP ให้กับบุคคลอื่น ไม่ว่ากรณีใดๆ

การทําธุรกรรมออนไลน์อย่างปลอดภัย มีทั้งหมด กี่ข้อ

ทำอย่างไรให้ธุรกรรมออนไลน์ปลอดภัย?.
1. ใช้อุปกรณ์ที่เชื่อถือได้ ... .
2. รู้ตัวอยู่เสมอว่ากำลังใช้อินเตอร์เน็ตที่ไหนอยู่ ... .
3. อัพเดทอุปกรณ์ของคุณให้เป็นเวอร์ชันล่าสุด ... .
4. ใช้โปรแกรมรักษาความปลอดภัยที่น่าเชื่อถือ ... .
5. ใช้รหัสผ่านที่ซับซ้อน และอย่าใช้ซ้ำ ... .
6. ใช้การยืนยันตนสองขั้นตอน ... .
7. อย่าตกหลุมพราง ... .
8. ใช้ปุ่ม Logout..

ข้อใดเป็นธุรกรรมออนไลน์

ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transaction) หมายถึง กิจกรรมใด ๆ ที่กระทำขึ้นระหว่างหน่วยธุรกิจ บุคคล รัฐ ตลอดจนองค์กรเอกชนหรือองค์กรของรัฐใด ๆ เพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ การค้า และการติดต่องานราชการ โดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ยกตัวอย่าง เช่น การซื้อ-ขายสินค้าผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต, การ ...