คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 10 ประการ

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ๘ ข้อ  ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช  ๒๕๕๑  ที่นักเรียนควรทราบ ควรระลึก และต้องหมั่นปฏิบัติอยู่เสมอ

มีดังนี้

๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์

ตัวชี้วัด

๑.๑  เป็นผลเมืองที่ดีของชาติ

๑.๒  ธำรงไว้ซึ่งความเป็นไทย

๑.๓  ศรัทธา ยึดมั่น และปฏิบัติตนตามหลักศาสนา

๑.๔  เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์

๒. ซื่อสัตย์สุจริต

ตัวชี้วัด

๒.๑  ประพฤติตรงตามความเป็นจริงต่อคนเองทั้งกาย และวาจา ใจ

๒.๒  ประพฤติตรงตามเป็นจริงต่อผู้อื่นทั้ง กาย วาจา ใจ

๓. มีวินัย

ตัวชี้วัด

๓.๑  ประพฤติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม

๔. ใฝ่เรียนรู้

ตัวชี้วัด

๔.๑  ตั้งใจเพียงพยายามในการเรียน และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้

๔.๒  แสวงหาความรู้รู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

๕. อยู่อย่างพอเพียง

ตัวชี้วัด

๕.๑  ดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม

๕.๒  มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

๖. มุ่งมั่นในการทำงาน

ตัวชี้วัด

๖.๑  ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน

๖.๒  ทำงานด้วยเพียงพยายามและอดทนเพื่อให้สำเร็จตามเป้าหมาย

๗. รักความเป็นไทย

ตัวชี้วัด

๗.๑  ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมีความกตัญญูกตเวที

๗.๒  เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

๗.๓  อนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาไทย

๘. มีจิตสาธารณะ

ตัวชี้วัด

๘.๑  ช่วยเหลือผู้อื่นด้วยด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน

๘.๒  เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน และสังคม


��èѴ�Ԩ�������;Ѳ�ҹѡ�֡������Դ�س�ѡɳд�ҹ�س���� ���¸�����Ф�ҹ������֧���ʧ�� 10 ��С��
  1. �������Թ����Ф����Ѻ�Դ�ͺ
    1. �������
    2. ��ԺѵԵ������º ��ͺѧ�Ѻ��л�С�Ȣͧ����Է�����
    3. ������ʹ�㹡Ԩ����������¹����Ѻ�Դ�ͺ�ҹ
    4. �觡�����º������������Ѻ������
    5. ������Ҥ����������Ҿ���º����
    6. ������ҷ㹺��ҷ��ҧ�
  1. ���������ѵ���ب�Ե��͵��ͧ��м�����
    1. ����ѡ��硢��¹���㹷�Ѿ���Թ�ͧ������
    2. �Ӥ׹��觢ͧ��辺�������Ңͧ������ѧ��
    3. �ѡ�ҤӾٴ ������ѭ�ҷ�駷��������Ѻ���ͧ��м�����
    4. �դ�����ԧ�ѧ��Ш�ԧ㨵�ͤ���赹�ѡ�����ѷ��
    5. �������Ӥѭ�Ѻ���ҹѴ����
  1. ������ѭ�١��Ƿ�
    1. �ѡ��þ ������ ��黡��ͧ����ʴ��͡��觡�õͺ᷹��Фس���ҧ�������
    2. ���֡�֧��Фس�ͧ��� �Ҩ���� ����դس����ʴ��͡��觡�õͺ᷹��Фس���ҧ�������
    3. ��оĵԵ�����Ҫԡ���յ�ͤ�ͺ���� ���������ѧ��
  1. ��������� ��س� �ͺ�������� ����������������������������
    1. ���ѡ���������ǹ������м�����
    2. �չ����������ê�������ͼ�����
    3. ���ѡ��ԨҤ �觻ѹ��Ѿ���Թ�����͹���ͼ����蹷����¡���
  1. ���������Ѵ������Ѿ�ҡ����ҧ�������
    1. ���Ѿ���Թ�����觢ͧ�ͧ����Է��������ҧ���س�����л����Ѵ
    2. �����Ԩ�������óç�������Ҫԡͧ����ա�û����Ѵ
  1. ��ԺѵԵ���Ẻ���ҧ���ѧ������繻���ª������ǹ���
    1. �����Ԩ������ú��筵�������ǹ���
    2. �����Ԩ�������͹��ѡ������Ǵ����
    3. �����Ԩ�����Ѳ������Է�������Ъ����
  1. �������آ�Ҿ��� �آ���������آ�Ҿ�Ե����
    1. ���ѡ�����آ�Ҿ �آ���������͡���ѧ������ҧ��������
    2. ����ʾ����ʾ�Դ������������
    3. �դ�������㹵���ͧ��С����ʴ��͡���ҧ�������
    4. �����ԧ ����� �����������ѹ����յ�ͼ�����
  1. �������ع�����Ҿ��駷ҧ��ҹ��Ż� �������С���
    1. ʹ���������Ԩ�����ҹ��ҹ��Ż� ����� ��� ����
    2. ʹ���������Ԩ�����ҹ��Ż�Ѳ����� ���ླ��ѹ�է���ͧ��ͧ���
  1. ���������������¹�����µ��ͧ��ʹ���Ե
  1. �����շѡ��㹡�÷ӧҹ ����ö�ӧҹ�繷�����ͷӧҹ�����Ѻ���������
 

สังคมไทยปัจจุบัน  ไม่ได้เป็นสังคมสารสนเทศเหมือนกันทั้งประเทศ  สังคมไทยมีทั้งที่เป็น สังคมเกษตรกรรม อุตสาหกรรมการผลิต อุตสาหกรรมบริการ และสังคมสารสนเทศ 

ฉะนั้น  ในการจัดการศึกษาจะให้ความสำคัญกับสังคมลักษณะหนึ่งลักษณะใดมากเกินไป จะทำให้การจัดการศึกษาไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงของสังคมไทยทั้งหมด  เป็นการศึกษาที่ไม่เป็นประโยชน์กับคนส่วนใหญ่ ซ้ำร้ายอาจจะก่อให้เกิดปัญหาตามมามากมาย

แต่การจะจัดการศึกษา  ที่สามารถพัฒนาคนให้มีคุณสมบัติสอดคล้องครบถ้วนตามลักษณะของสังคมดังกล่าว จัดเป็นการศึกษาที่ยอดเยี่ยมแต่เป็นเรื่องที่ทำได้ยาก  ฉะนั้น ในการกำหนดคุณสมบัติของคนไทยที่พึงประสงค์ จึงควรคำนึงถึงความเป็นไปได้ และความจำเป็นที่ต้องพัฒนาลักษณะนั้นๆขึ้นมา

สำหรับคุณสมบัติของคนไทยที่พึงประสงค์ในยุคปัจจุบัน ที่การศึกษาต้องพัฒนาขึ้นมา ควรมีลักษณะดังนี้

          1. มีความรู้ความสามารถทักษะและทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน เพราะการทำงานนำไปสู่ความสำเร็จ ผู้ที่ไม่ทำงานนอกจากไม่สามารถเลี้ยงดูตนเองได้แล้ว ยังเป็นภาระกับบุคคลอื่นและสังคมอีกด้วย  เท่าที่ปรากฎการศึกษาไทยจะเน้นเรื่องความรู้ แต่ค่อนข้างจะละเลยเรื่องทักษะและทัศนคติ

          2. มีวินัย คนไทยส่วนใหญ่ ค่อนข้างจะขาดวินัยในเกือบทุกเรื่อง  แต่สังคมสมัยใหม่โดยเฉพาะสังคมอุตสาหกรรมและสังคมสารสนเทศ ต้องการคนที่มีวินัยอย่างมาก จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเน้นเรื่องการสร้างวินัยในหมู่คนไทย

          3. ความซื่อสัตย์สุจริตความซื่อสัตย์สุจริตของคนไทย เป็นเรื่องที่สงสัยกันมานาน สื่อมวลชนของไทยและของต่างประเทศ  กล่าวถึงความไม่ซื่อสัตย์ของตนไทยบ่อยๆ  เมื่อใดที่องค์การระหว่างประเทศประเมินความซื่อสัตย์ ความโปร่งใส ประเทศจะได้คะแนนเกือบต่ำสุดทุกครั้งไป  และขณะนี้พบว่าความไม่ซื่อสัตยได้ปรากฎให้เห็นในทุกวงการ ไม่ว่าจะเป็นนักการเมือง ข้าราชการ นักธุรกิจ สื่อมวลชน ครูบาอาจารย์ ไม่เว้นแม้แต่วงการพระสงฆ์

          4. ความประหยัดคนไทยส่วนใหญ่ค่อนข้างจะฟุ่มเฟือย มีการออมน้อย ซึ่งจะมีผลกระทบโดยตรงต่อการลงทุน เพราะการประหยัด จะช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจให้กับตนเองและสังคมได้ดี

           5. ความพากเพียร คนไทยส่วนใหญ่ทำชอบทำงานที่ สนุก สะดวก และสบาย ไม่ค่อยจริงจังกับการทำงาน  โดยเฉพาะงานที่ยากและซับซ้อน  การมีความพากเพียรจึงมีความจำเป็นต่อการทำงานในปัจจุบันอย่างมาก

           6. ความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่มการทำงานในอนาคต จะเป็นงานที่ยากและซับซ้อนมากขึ้น ซึ่งการจะทำงานให้สำเร็จจะต้องร่วมมือกัน แต่คนไทยไม่ชอบทำงานเป็นกลุ่มที่มีเป้าหมายร่วมกัน เห็นได้จากความล้มเหลวของพรรคการเมืองและกิจการสหกรณ์

           7. ความสามารถในการแข่งขันโลกในอนาคตมีการแข่งขันมากขึ้น ไม่ว่าชอบหรือไม่ชอบก็ตาม หากไม่ยอมแข่งขันจะตกอยู่ในกลุ่มล้าหลัง ฉะนั้น การศึกษาจะต้องสร้างคนไทยให้มีความสามารถในการแข่งขัน โดยใชัคุณธรรมและสารสนเทศเป็นองค์ประกอบสำคัญ

           8. รู้จักวิเคราะห์มีเหตุผล การไหลบ่าของสารสนเทศในปัจจุบันและอนาคต  จำเป็นอย่างยิ่งที่คนไทยจะต้องรู้จักวิเคราะห์ รู้เลือกที่จะรับ มิฉะนั้นจะจมอยู่ในกระแสสารสนเทศ

           9. การนับถือตน ลักษณะนี้ทำให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง รู้จักช่วยตนเอง แก้ปัญหาด้วยตนเอง ก่อนที่จะร้องของความช่วยเหลือจากคนอื่น การนับถือตนเองทำให้มีศักดิศรีและไม่เป็ภาระกับคนอื่น

           10 การมีน้ำใจคุณสมบัติข้อนี้มีมานานในสังคมไทย แต่ปัจจุบันค่อนข้างจะหายไป เพราะลักษณะทางสังคมเปลี่ยนไป จึงจำเป็นต้องสร้างลักษณะนี้ขึ้นมาใหม่ เพื่อลดความรุนแรงของวัตถุนิยม

คุณสมบัติทั้ง 10 ประการนี้  เป็นคุณสมบัติที่จำเป็นต้องสร้างขึ้นในคนไทย ด้วยวิธีการศึกษาในทุกระดับและทุกประเภท เท่าที่สังเกตการศึกษาไทย จะเน้นการสร้างลักษณะนิสัยในระดับมัธยมศึกษาลงไป ไม่ค่อยสนใจกับผู้ที่เรียนในระดับอุดมศึกษา เพราะเชื่อว่าเป็นผู้ใหญ่แล้ว  รู้ว่าอะไรควรไม่ควร  ซึ่งเป็นความเชื่อที่ไม่ถูกต้องนัก
                  ---------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                      สาระคิด

                                     ลูกผู้ชายเมื่อบ้านเมืองมีปัญหา  อย่าเอาแต่ทอดถอนใจ
                                           ควรคิดเข้าแก้ไข ช่วยทำนุบำรุงแผ่นดินให้เจริญ
                                                                                               สามก๊ก
                                      -----------------------------------------------------------------

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 13 ประการ มีอะไรบ้าง

คุณลักษณะอันพึงประสงค์.
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์.
ซื่อสัตย์สุจริต.
มีวินัย.
ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน.
อยู่อย่างพอเพียง.
มุ่งมั่นในการทำงาน.
รักความเป็นไทย.
มีจิตสาธารณะ.

คุณลักษณะที่พึงประสงค์คืออะไร

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หมายถึง ลักษณะที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน อันเป็นคุณลักษณะที่สังคม ต้องการในด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสํานึก สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น ในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งใน ฐานะพลเมืองไทยและพลโลก ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้กําหนด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ ๘ ...

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่ตรงกับค่านิยม 12 ประการของคนไทยคือข้อใด *

ค่านิยมไทย 12 ประการ ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในหลักสูตรสมรรถนะมีกี่ข้อ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ซึ่งการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำหนดนั้นจะช่วยให้ผุ้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการดังนี้.
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์.
ซื่อสัตย์สุจริต.
มีวินัย.
ใฝ่เรียนรู้.
อยู่อย่างพอเพียง.
มุ่งมั่นในการทำงาน.