ข อสอบ bmpklkl9ingrbj g9b พล งงานน วเคล ยร ม 3

หมายเหตุ * โรงเรียนพจิ ารณาจำนวนชั่วโมงของแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรตู้ ามความเหมาะสมโดยเนน้ การบรู ณาการระหว่าง

วชิ ามากขึ้น

18

7.1.2 สาระการเรียนร้เู พมิ่ เติม เพื่อให้นักเรียนได้เพิ่มพูนความรู้พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ ฝึกทักษะกระบวนการแก้ปัญหา

การทำโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเตรียมความพร้อมในการสร้าง จิตวิญญาณความเป็น นักวทิ ยาศาสตร์ นกั วิจัย และนกั เทคโนโลยี และม่งุ สูค่ วามเป็นมาตรฐาน จงึ กำหนดรายวิชาเพมิ่ เติมให้นักเรียน ได้ศกึ ษาจำนวนไม่น้อยกวา่ 40 ชวั่ โมง รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 2

ตารางท่ี 2 จำนวนชว่ั โมงรายวชิ าเพม่ิ เตมิ

สาระการเรียนรเู้ พ่มิ เตมิ เวลาเรียน (ชั่วโมง/ปี) ป.4 – 6

  1. ………….. ตามวสิ ัยทศั นแ์ ละปรัชญา
  2. ………….. ของโรงเรียน
  3. …………..
  4. วชิ าวิทยาศาสตรพ์ ลงั สบิ * 80
  5. วชิ าโครงงานวิทยาศาสตร์** 40 ไม่น้อยกว่า 40 ชั่วโมง รวม

หมายเหตุ * เน้นการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ประสบการณ์ตามแนวทางพหุปัญญา โดยจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ ประสบการณ์ วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี ตามแนวทาง สสวท.

** นักเรยี นช้ัน ป.6 ทำโครงงานเพียง 1 เร่อื ง ตามความถนัดและความสนใจของตนเอง

ตารางที่ 3 ตวั อย่างการจัดชั่วโมงในการเรยี นแตล่ ะภาคเรียน

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ป.4 ภาค 1 1. รายวชิ าพน้ื ฐาน

  1. ภาษาไทย
  2. คณติ ศาสตร์
  3. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  4. สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม • หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม • ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม • เศรษฐศาสตร์ • ภูมศิ าสตร์ ประวัติศาสตร์
  5. สุขศึกษาและพลศึกษา รวมเวลาเรยี นรายวิชาพนื้ ฐาน

19

จำนวนชวั่ โมงในแต่ละภาคเรยี น รวม 4 ป.5 ป.6

ภาค 2 ภาค 1 ภาค 2 ภาค 1 ภาค 2

ตามวิสยั ทัศนแ์ ละปรัชญาของโรงเรียน

ตารางท่ี 3 ตวั อยา่ งการจัดชวั่ โมงในการเรียนแตล่ ะภาคเรยี น (ต่อ) ภาค 20 กล่มุ สาระการเรียนรู้

2. รายวิชาเพิม่ เติม

  1. …………..
  2. …………..
  3. …………..
  4. วชิ าวทิ ยาศาสตรพ์ ลังสบิ
  5. วชิ าโครงงานวทิ ยาศาสตร์ รวมเวลาเรยี นรายวชิ าเพิ่มเติม รวมเวลาเรยี นทั้งสิน้

20

จำนวนชว่ั โมงในแต่ละภาคเรยี น รวม ป.4 ป.5 ป.6 1 ภาค 2 ภาค 1 ภาค 2 ภาค 1 ภาค 2

0 20 20 20 - -

20 20

21

7.1.3 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน

ก ิ จ ก ร ร ม พ ั ฒ น า ผ ู ้ เ ร ี ย น ท ี ่ ก ำ ห น ด ใ ห ้ น ั ก เ ร ี ย น ใ น โ ค ร ง ก า ร ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ พ ล ั ง สิ บ

(ไม่มวี ทิ ยฐานะ)

แบบรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านตามขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA)

สาหรบั ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตาแหน่งครู (ไมม่ วี ทิ ยฐานะ) ประจาปีงบประมาณ 2565

ระหวา่ งวนั ที่ 1 เดือนตลุ าคม พ.ศ. 2564 ถงึ วันท่ี 30 เดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2565

ผจู้ ดั ทาข้อตกลง

ชื่อ นางสาวอังคณา ปาสานะโม ตาแหน่งครู (ไม่มีวทิ ยฐานะ) สถานศกึ ษา โรงเรยี นวัดนาวง สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1

ประเภทห้องเรียนทจ่ี ัดการเรยี นรู้

ห้องเรียนวชิ าสามัญ หรือวิชาพืน้ ฐาน

ส่วนท่ี 1 1. ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานตามมาตรฐานตาแหนง่

ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภาระงาน จะมภี าระงานเป็นไปตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด

1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจานวน 17 ชัว่ โมง 30 นาที /สปั ดาห์

1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจดั การเรยี นรู้ รวมจานวน 11 ชวั่ โมง/สัปดาห์ ดังน้ี

การจดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ /แผนการจดั ประสบการณ์ จานวน 3 ชัว่ โมง/สปั ดาห์

กิจกรรมโฮมรมู จานวน 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์

มสี ว่ นร่วมในชุมชน (PLC) จานวน 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์

การสรา้ งและพฒั นาสือ่ การเรยี นการสอน จานวน 3 ชัว่ โมง/สัปดาห์

1.3 งานพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา รวมจานวน 7 ชัว่ โมง/สัปดาห์ ดังน้ี

หวั หนา้ กล่มุ งานพสั ดุ จานวน 5 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

ผู้รับผิดชอบโครงการ/กจิ กรรม จานวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เน้น รวมจานวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดงั นี้

โครงการโรงเรยี นสจุ รติ จานวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์

รวม 37 ช่ัวโมง 30 นาที/สัปดาห์

ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ภาระงาน จะมีภาระงานเปน็ ไปตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด

1.1 ช่วั โมงสอนตามตารางสอน รวมจานวน 15 ชั่วโมง/สปั ดาห์

1.2 งานสง่ เสรมิ และสนบั สนุนการจดั การเรยี นรู้ รวมจานวน 11 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ ดังน้ี

การจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ /แผนการจดั ประสบการณ์ จานวน 3 ช่ัวโมง/สปั ดาห์

กิจกรรมโฮมรมู จานวน 2 ช่วั โมง/สปั ดาห์

มสี ่วนร่วมในชุมชน (PLC) จานวน 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์

การสรา้ งและพัฒนาส่อื การเรยี นการสอน จานวน 3 ชว่ั โมง/สปั ดาห์

1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา รวมจานวน 7 ชวั่ โมง/สัปดาห์ ดังน้ี

หัวหนา้ กล่มุ งานพัสดุ จานวน 5 ช่วั โมง/สปั ดาห์

ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ/กจิ กรรม จานวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เน้น รวมจานวน 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห์ ดงั นี้

โครงการโรงเรยี นสจุ รติ จานวน 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์

รวม 35 ชั่วโมง/สัปดาห์

สว่ นท่ี 1 2. ลกั ษณะงานทป่ี ฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานตาแหนง่ ครู

ดา้ นท่ี 1 ด้านการจดั การเรยี นรู้

ลักษณะงานที่ข้าพเจ้าปฏิบัติและนาเสนอครอบคลุมถึง การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร การออกแบบการ จัดการเรยี นรู้ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างและหรือพัฒนาส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ การวัด และการประเมินผลการจดั การเรยี นรู้ การศึกษา การวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ เพอื่ แกไ้ ขปญั หาหรือพัฒนาการเรียนรู้ การจัด บรรยากาศทสี่ ง่ เสรมิ และพัฒนาผู้เรยี น และการอบรม และพัฒนาคณุ ลกั ษณะทด่ี ขี องผู้เรยี น

1.1 สร้างและหรือพฒั นาหลักสูตร ดาเนินการวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดนาวง พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2565

วิเคราะห์มาตรฐานตัวช้ีวัดตามหลักสูตรแกนกลาง จัดทาคาอธิบายรายวิชา และโครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (ว23102) และดาเนินการจัดทาหน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี (ว23102) เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะและการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพ โดยมีการปรับประยุกต์ ใหส้ อดคลอ้ งกบั บริบทของสถานศกึ ษา ผ้เู รียน และท้องถ่ิน

ช่อื เอกสารหลกั สตู รโรงเรยี น เอกสารประกอบหลกั สตู ร QR Code E-Book link

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นวดั นาวง (ฉบับปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2565) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้น พื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2550

https://anyflip.com/msvet/qugn

ตารางวิเคราะหห์ ลักสูตร http://online.anyflip.com/msvet/ueyr วชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี https://anyflip.com/msvet/hmbi ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

คาอธบิ ายรายวชิ าและโครงสร้าง รายวชิ า วิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

หนว่ ยการเรยี นรู้ วชิ าวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

http://online.anyflip.com/msvet/begh

1.2 การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ วิเคราะหม์ าตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวชิ า จัดทาหนว่ ยการเรยี นรู้

ประเมนิ ผลการใช้หนว่ ยการเรียนรรู้ ายวิชา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ว23102) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ทักษะ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะท่ีสาคัญตาม หลกั สตู ร

ตัวชวี้ ดั สาระการเรยี นรู้

ว 1.1  โซ่อาหาร ม. 3/3 สร้างแบบจาลองในการอธิบายการถ่ายทอดพลังงาน  สายใยอาหาร

ในสายใยอาหาร ม. 3/4 อธิบายความสัมพันธ์ของผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อย

สลายสารอนิ ทรยี ์ในระบบนเิ วศ

ลาดับ ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นร/ู้ เวลา คะแนน ภาระงาน/ชนิ้ งาน/ชน้ิ งาน ท่ี ตวั ชวี้ ดั 6 ชีวติ กบั สิง่ แวดล้อม ว. 1.1 ม. 3/3-4 2 10 -แบบทดสอบหลงั เรียน -แบบบนั ทึกใบงาน

1.3 การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ มีการอานวยความสะดวกในการเรยี นรู้ และส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาเต็มตามศักยภาพการเรียนรู้ และการ

ทางานร่วมกัน ปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน พร้อมกับนาเทคโนโลยี สื่อ นวัตกรรม ส่ือการเรียน มีการออกแบบส่ือการเรียนรู้ เช่น ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ Power Point และ google site มาใช้ ในการจดั การเรยี นการสอน และเป็นส่วนหนึ่งในเครือ่ งมอื การวัดและประเมนิ ผล

จดั ทาแผนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.3 ปกี ารศกึ ษา 2564-2565

1.4 การสร้างและหรือพฒั นาสอ่ื นวตั กรรม ได้สร้างสื่อ นวัตกรรมการเรียน มีการออกแบบส่ือการเรียนรู้ เช่น ห้องเรียน ออนไลน์ (Google

Classroom) , เกม blooket.com , เกม baamboozle.com (เปิดแผ่นป้าย) และเกมวงล้อมหาสนุก (app.genial.ly) ท่สี อดคลอ้ งกับกิจกรรมการเรียนรู้ ทาให้ผู้เรียนมที กั ษะการคดิ และเป็นสว่ นหนงึ่ ในเครื่องมอื การวดั และประเมินผล

Google Classroom

baamboozle.com blooket.com app.genial.ly https://view.genial.ly/62e50ba1 ba8c7f00111644fb/interactive-

content-genial-wheel-quiz

1.5 การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริงและเก็บผลการเรียนรู้ ก่อนเรียน ระหว่างเรียน

และหลังเรียนอย่างต่อเน่ือง ด้วยวิธีที่หลากหลาย นาเทคโนโลยี มาเป็นเครื่องมือในการวัด และประเมินผลโดยใช้ Google form

ตวั อยา่ งใบงานเ

ลง้ิ ก์ทาขอ้ สอบใน Google form แบบประเมนิ

https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSd4KnBP1YbipUmTZRo VxvbltiqGs7jNJHXv75DfkpnrcyVqbA/viewform?usp=sf_link

1.6 การศึกษา วิเคราะห์ สงั เคราะห์ เพ่อื แก้ปัญหาหรอื พฒั นาการเรียนรู้ ศึกษางานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการสอน วิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การ พัฒนา

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เร่ืองการถ่ายทอดพลังงานในระบบ นิเวศ โดยการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ของนักเรียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว23102 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 และนาความรู้ ทีไ่ ดม้ าวางแผนเพ่ือแก้ไขปัญหาผูเ้ รยี นที่มผี ลการเรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์ที่กาหนด

งานวจิ ยั

1.7 การจดั บรรยากาศท่สี ง่ เสริมและพัฒนาผเู้ รียน จดั บรรยากาศหอ้ งเรียนให้สะอาด สวยงาม และปลอดภยั สรา้ งบรรยากาศใหผ้ ูเ้ รียนสามารถ

ใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าหาข้อมูล สามารถส่ือสารแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้อมูลสารสนเทศได้อย่าง

ถูกต้อง รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ และในชั้นเรียน นาส่ือ นวัตกรรม เกม มาใช้เป็นสื่อการ เรียนรใู้ นช้นั เรยี น

1.8 อบรมและพัฒนาคุณลกั ษณะทด่ี ขี องผูเ้ รียน สอดแทรกคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณธรรม และจริยธรรม ในระหว่างการจัดกิจกรรม

การเรยี นการสอนโดยคานงึ ความแตกตา่ งของผู้เรียนเป็นรายบุคคล

สว่ นที่ 1 2. ลักษณะงานท่ปี ฏิบัตติ ามมาตรฐานตาแหน่งครู

ด้านท่ี 2 ดา้ นการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ

ลกั ษณะงานท่ีขา้ พเจา้ ปฏบิ ตั แิ ละนาเสนอครอบคลมุ ถึง สารสนเทศของผู้เรียน และรายวิชาที่ครู สอนให้ผู้เรียนและผู้ปกครองสามารถเข้าถึงสารสนเทศได้ รวมถึงการแก้ไขปัญหาผู้เรียนให้มีความ พร้อมและมีศกั ยภาพเพยี งพอในการพฒั นาได้ เช่น การเย่ียมบ้านนักเรียน คัดกรองนักเรียนยากจน การวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล การประเมิน SDQ ทะเบียนแสดงผลการเรียน โดยใช้โปรแกรม Schoolmis ระบบดูแลและช่วยเหลือนักเรียน โดยโปรแกรม D School เพ่ือใช้สนับสนุนการเรียนรู้ และพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน

สว่ นที่ 1 2. ลกั ษณะงานทป่ี ฏิบัติตามมาตรฐานตาแหนง่ ครู

ดา้ นท่ี ๓ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

ลักษณะงานท่ีข้าพเจ้าปฏิบัติและนาเสนอครอบคลุมถึงการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง การมี ส่วนรว่ มในการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ทางวชิ าชีพ เพอื่ พัฒนาการจัดการเรียนรแู้ ละนาความร้คู วามสามารถ ทกั ษะท่ีได้ จากการพัฒนาตนเองและวิชาชีพมาใช้ใน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และพัฒนาเทคโนโลยี สื่อ นวัตกรรม การจัดการเรยี นรู้

ไดเ้ ขา้ รว่ มกลุม่ ชุมชนทางวิชาชีพ ดงั นี้ 1.PLC แลกเปลยี่ นเรยี นรู้เพอื่ สง่ เสริมทักษะการเรียนรู้ ระหวา่ งคณะ ครูโรงเรียนวดั นาวง 2. PLC ร่วมกับคุณครูกลุ่มงานการเงินและพัสดุ โดยนาความรู้ที่ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้มา

แก้ปญั หา/พฒั นา การเรยี นการสอนในวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

สว่ นท่ี 2 ขอ้ ตกลงในการพฒั นางานทีเ่ ปน็ ประเดน็ ทา้ ทายในการ พฒั นาผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ของผูเ้ รียน

ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เร่ืองการถ่ายทอด พลังงานในระบบนิเวศ โดยการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ ของนักเรียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 รายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว23102 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564

1. สภาพปญั หาการจดั การเรียนรแู้ ละและคณุ ภาพการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียน

ในการจัดการเรยี นรู้ท่ีผ่านมานักเรียนไม่สามารถทาความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาการถ่ายทอดพลังงาน ในระบบนิเวศ จึงส่งผลให้นักเรียนไม่สามารถเขียนแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในรูปของการ ถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศได้ ครผู ้สู อนจึงจัดทาข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าท้าย โดยการใช้ ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ ในการจดั การเรียนการสอน เร่ืองการถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ เพ่ือพัฒนา ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เร่ืองการถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศของ นักเรยี นในระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

2. วธิ กี ารดาเนนิ การใหบ้ รรลผุ ล

2.1 วิเคราะห์หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช

  1. และหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นวดั นาวง ในเรอ่ื งของมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด นามาจัดทา คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคลอ้ งกบั เน้ือหาเรื่องการถา่ ยทอดพลังงานในระบบนิเวศ

2.2 จัดทาโครงรา่ งของชุดกิจกรรมการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เรื่อง การถ่ายทอดพลังงาน ในระบบนเิ วศ โดยแบ่งเน้อื หาออกเป็นส่วน ๆ พรอ้ มเฉลยตัวอยา่ ง กจิ กรรม ดังน้ี

  1. กจิ กรรมท่ี 1 กระตุ้นสมอง : ทดสอบก่อนเรียน
  2. กิจกรรมท่ี 2 ประลองปญั ญา : ปฏบิ ัติกจิ กรรม
  3. กจิ กรรมท่ี 3 อธิบายปัญหา : ศกึ ษาความรู้
  4. กิจกรรมท่ี 4 นาพาซง่ึ ความรู้ : ตอบคาถามจากใบงาน
  5. กิจกรรมท่ี 5 มงุ่ สคู่ วามสาเร็จ : ทดสอบหลังเรยี น 2.3 ให้คุณครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ในเน้ือหา การเฉลยของตัวอย่าง กิจกรรม และชุดกิจกิจกรรมการเรียนรู้ พร้อมท้ังเสนอแนะ เพ่ือปรับปรุง แก้ไข 2.4 ครผู สู้ อนนาชุดกิจกจิ กรรมการเรยี นรูเ้ ร่อื ง การถา่ ยทอดพลงั งานในระบบนิเวศ มาปรับปรุง แก้ไข ตามคาแนะนาของคณะครูในกลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2.5 นาชุดกิจกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ือง การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ รายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว23102 ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ทั้งในรูปแบบ ONLINE หรือ ONSITE โดยปรับกิจกรรมให้เหมาะสมกับ บรบิ ท 2.6 บนั ทึกผลการเรียนร้ขู องนกั เรยี น ที่เกิดขน้ึ จากการจัดกจิ กรรมการเรียนรโู้ ดยใชช้ ุดกจิ กจิ กรรมการ เรยี นรู้ ลงในโปรแกรม Microsoft Excel และสะท้อนผลการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบเป็นระยะ หากมีนักเรียน ที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินในเร่ืองใด ให้ใช้กิจกรรมเพ่ือนช่วยเพ่ือน และการสอนซ่อมเสริม สาหรับใช้แก้ไข ปัญหาการเรียนรู้ ให้นักเรียนได้ศึกษา และทาการทดสอบใหม่ จนนักเรียนมีผลการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์ที่ กาหนด

ภาพประกอบกจิ กรรม

3. ผลลพั ธ์การพัฒนาท่ีคาดหวงั

3.1 เชงิ ปริมาณ นกั เรียนระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 จานวน 3 ห้อง รวมจานวนนักเรียนทงั้ หมด 96 คน ได้รับการพัฒนา ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรอ่ื ง การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนเิ วศ โดยใช้ชุด กจิ กจิ กรรมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 23102 โดยมีคะแนนทดสอบท้ายหน่วย การเรยี นรู้ (รอ้ ยละ 70 ของคะแนนเตม็ ) คดิ เป็นร้อยละ 80 ของจานวนนักเรียนทง้ั หมด

รอ่ งรอยหลักฐาน บนั ทึกหลังสอน ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ แบบทดสอบหลังเรยี น  ตารางคะแนน

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตารางคะแนน

บันทกึ หลงั สอน ลงิ้ ก์ทาขอ้ สอบใน Google form

https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQL Sd4KnBP1YbipUmTZRoVxvbltiqGs7jNJHXv7

5DfkpnrcyVqbA/viewform?usp=sf_link

3.2 เชงิ คุณภาพ นกั เรียนระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 จานวน 3 หอ้ ง รวมจานวนนกั เรียนทั้งหมด 96 คน มีความรู้ความ เข้าใจในมโนทัศน์ทางวิทยาศาสตร์ เร่ือง การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ สามารถนาความรู้ที่ได้จาก การเรยี นรู้ ไปเช่ือมโยงกบั ชีวิตประจาวัน มีเอกสารประกอบการเรียน เร่ือง การถ่ายทอดพลังงานในระบบ นเิ วศ ไวส้ าหรบั จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ และนักเรียนท้ังหมดมีความพงึ พอใจต่อการจัดการเรียน โดยการใช้ ชุดกิจกจิ กรรมการเรยี นรู้ เร่อื ง การถ่ายทอดพลงั งานในระบบนิเวศ มีคา่ เฉลย่ี อย่ใู นระดับมากทสี่ ดุ ข้ึนไป

แบบประเมนิ รอ่ งรอยหลักฐาน แบบประเมินความพึงพอใจจากผู้เรียน https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIp QLSd86wLcUHthN09i- WlNz4p89trQa2vAFgqpOvCcSdG2cPnDP w/viewform?usp=sf_link

วิทยาการคํานวณ ป.3 เรียนกี่ชั่วโมง

ประถมศึกษาปีที่1 ว11201 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 40 ชั่วโมง 1.0 ประถมศึกษาปีที่2 ว12201 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 40 ชั่วโมง 1.0 ประถมศึกษาปีที่3 ว13201 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 40 ชั่วโมง 1.0 ประถมศึกษาปีที่4 ว14201 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 40 ชั่วโมง 1.0 ประถมศึกษาปีที่5 ว15201 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 40 ชั่วโมง ...

กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีอะไรบ้าง

มีสาระเพิ่มเติม 4 สาระ ได้แก่ สาระชีววิทยา สาระเคมี สาระฟิสิกส์ และสาระโลกดาราศาสตร์และอวกาศ

ตัวชี้วัดวิทยาศาสตร์ ป.4 มีกี่ตัว

รวม 21 ตัวชี้วัด โครงสร้างรายวิชา รหัสวิชา 14101 สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เวลา 80 ชั่วโมง

วิทยาศาสตร์มีกี่กลุ่มสาระ

Top. สาระการเรียนรู้ที่กำหนดไว้นี้ เป็นสาระหลักของวิทยาศาสตร์พื้นฐานที่นักเรียนทุกคนต้องเรียนรู้ ประกอบด้วยส่วนที่เป็นความรู้ เนื้อหา แนวความคิดหลักวิทยาศาสตร์ และกระบวนการ สาระที่เป็นองค์ความรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 8 สาระย่อยดังนี้ สาระที่ 1 : สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต