การจ ดการเร ยนร แบบ 5 e ช น ม.3

(5) ผู้เรยี นเรียนรคู้ วามรบั ผดิ ชอบร่วมกนั การมวี ินยั ในการทํางาน และการแบง่ หน้าที่ความรบั ผิดชอบ

(6) เป็นกระบวนการสร้างสถานการณ์ใหผ้ ู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผู้เรียนจะเป็นผู้จดั ระบบการ เรียนรูด้ ้วยตนเอง

(7) เปน็ กจิ กรรมการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ทักษะการคิดขั้นสงู

(8) เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือสารสนเทศ และหลักการความคิด รวบยอด

(9) ผู้สอนจะเปน็ ผ้อู ำนวยความสะดวกในการจดั การเรยี นรู้ เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนเป็นผปู้ ฏิบตั ิดว้ ยตนเอง

การจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการ ดว้ ยเทคนคิ 5E เรอ่ื ง My Family

เสนอ ดร.รชั กร ประสรี ะเตสงั

คณะผจู้ ดั ทา นายอรณุ กร อมิ่ ขจร 631505115 นางสาวสิริญาดา รักงาน 631505113 นางสาวอณั มณี แกว้ ศรีบตุ ร 631505116 นางสาวธญั ญรัตน์ สิงหโ์ นนเชอื ก 631505205 นางสาวพลอยไพลนิ ศิรริ ตั นไพจติ ร 631505219

สาขาวิชาภาษาองั กฤษ ชนั้ ปี ท่ี 2 คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ชยั ภมู ิ

คานา

หนงั สือเล่มนเ้ี ป็ นส่วนหนงึ่ ของรายวชิ าวิทยาการจดั การเรียนรู้ 2 รหัสวิชา 5002509 จัดทาข้ึนเพ่ือศึกษาหาความรใู้ นเรื่องรปู แบบการ เรียนรดู้ ว้ ยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยเน้อื หาประกอบไปดว้ ย ความหมาย แนวคิดพื้นฐาน ลักษณะสาคัญ วัตถปุ ระสงค์ ข้ันตอนการ จัดการสอน บทบาทของผสู้ อน ผลท่ีเกิดขึ้นจากรปู แบบการสอน ขอ้ ดีและ ขอ้ จากดั ของการเรียนรรู้ ปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E)

คณะผจู้ ัดทาขอขอบคณุ พระอาจารย์ ดร.รัชกร ประสีระเตสัง ท่ี คอย ใหค้ าแนะนาในการจัดทาแผนการเรียนรแู้ ละใหค้ าแนะนาการจัดทา หนงั สอื เล่มนี้

คณะผูจ้ ัดทาหวังว่า หนังสือเล่มน้ีจะเป็ นประโยชน์กับผูอ้ ่าน นกั เรียน นักศึกษาหรือผทู้ ่ีสนใจที่กาลังหาขอ้ มลู เรื่องน้ีอยู่ หากมีขอ้ แนะนา หรือมีขอ้ ผิดพลาดประการใด คณะผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรบั ไวแ้ ละขออภยั มา ณ ที นด้ี ว้ ย

คณะผจู้ ดั ทา

สารบญั

เร่อื ง หนา้ ที่

คานา สารบญั รปู แบบการเรียนรดู้ ว้ ยกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (5E) ความหมายรปู แบบการเรยี นรดู้ ว้ ยกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (5E) แนวคดิ รปู แบบการเรยี นรดู้ ว้ ยกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (5E) ลกั ษณะรปู แบบการเรยี นรดู้ ว้ ยกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (5E) ขน้ั ตอนการจดั การสอนของรปู แบบการเรยี นรกู้ ารสบื เสาะหาความรู้ (5E) บทบาทของผสู้ อนในการเรียนรรู้ ปู แบบการเรียนรกู้ ารสบื เสาะหาความรู้ (5E) การใชก้ ระบวนการจดั การเรยี นรสู้ ืบเสาะหาความรู้ (5E) ใหไ้ ดผ้ ลมากทสี่ ดุ ความแตกตา่ งของการเรียนรแู้ บบ 5E กบั การเรียนรแู้ บบดง้ั เดมิ ขอ้ ดแี ละขอ้ จากดั ของการเรียนรรู้ ปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) แผนการจดั การเรียนรรู้ ปู แบบการสอนกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ บรรณานกุ รม

รปู แบบการเรียนรดู้ ว้ ยกระบวนการ

สบื เสาะหาความรู้

การจัดการเรียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรเู้ ป็ นวิธีการจัดการสอนท่ีเนน้ ใหผ้ เู้ รียน แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนมี ประสบการณต์ รงในการเรียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละกระบวนการทางความคิด คน้ พบความรหู้ รอื แนวทางแกป้ ัญหา ไดเ้ อง และสามารถนามาใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ไดส้ ่วนผสู้ อนเป็ นเพียงผอู้ านวยความ สะดวก ซึ่งถือว่าเป็ นกิจกรรมท่ีเปิ ดโอกาสใหผ้ เู้ รียนไดน้ าความรู้ 3 หลักการ แนวคิดหรือทฤษฎีทางวิทยาศาสตรไ์ ปเชื่อมโยงกบั ประเด็นปัญหาที่ผเู้ รียนสนใจ ศึกษา คน้ ควา้ และลงมือปฎิบัติ ดว้ ยตนเอง ตามความสามารถและความถนัด ของตนเองอย่างเป็ นอิสระ ดว้ ยวิธีการทางวิทยาศาสตรแ์ ละกระบวนการวิจยั ท่ี มีการวางแผนไวก้ ่อนล่วงหนา้ โดยมีผสู้ อนเป็ นผคู้ อยใหค้ าปรึกษาแนะนาแก่ ผเู้ รียนเพ่ือใหผ้ เู้ รียนบรรลจุ ดุ มงุ่ หมายทต่ี ง้ั ไว้ การดาเนนิ กิจกรรมการเรียนการ สอนใหก้ ับผเู้ รียนไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ ทดลอง ระดมสมอง ศึกษาใบความรู้ อื่นๆ ผสู้ อนจะเป็ นผคู้ อยชว่ ยเหลือการตรวจสอบความรใู้ หมๆ่ ซึ่งอาจกระทาไดท้ ง้ั การ ตรวจสอบกันเองระหว่างกล่มุ หรือผสู้ อนช่วยเหลือใน การตรวจสอบความรู้ ใหม่ๆ กิจกรรมการเรียนรแู้ บบ 5E ขนึ้ จะช่วยเสริมสรา้ งพลงั ความสามารถของ ผเู้ รียนแต่ละคนใหเ้ ต็มขีดความสามารถ โดยประยกุ ตใ์ ชห้ ลักการเรียนรดู้ ว้ ย ตนเอง เนน้ บรรยากาศในการเรยี นการสอนใหผ้ เู้ รียนมอี ิสระใน การคิด ทกุ คนมี โอกาสใชค้ วามคิดอย่างเต็มศกั ยภาพ

ความหมายรปู แบบการเรยี นรดู้ ว้ ยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E)

ความหมายของการสบื เสาะความรู้ คาวา่ ‘ Inquiry ’ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การเรียนรู้ นกั ศึกษาไดใ้ ชช้ อ่ื ตา่ งๆ กนั ไป เชน่ การสบื สวนสอบสวน การคน้ พบ การแกป้ ัญหา การสบื เสาะและการสบื เสาะหาความรู้ สาหรบั วจิ ยั นี้ ผจู้ ดั ทาใชค้ าวา่ “ การสบื เสาะหาความรู้ ” ส่วนในการเรียนการสอน โดยเนน้ การใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรนู้ น้ั การวจิ ยั คร้ังนใ้ี ชค้ าว่า

“ การจดั การเรียนรรู้ ปู แบบการสอนกระบวนสบื เสาะหาความรู้ (5E) ” (inquiry – based learning) ซง่ึ Budnit (2003) ไดก้ ลา่ วว่า การ สืบเสาะหาความรเู้ ป็ นแนวคดิ ท่มี คี วามซบั ซอ้ นและมีความหมายแตกตา่ งกนั ไปตามบรบิ ททใ่ี ชแ้ ละผทู้ ใ่ี หค้ าจากดั ความ

กรมวชิ าการ (2545) อธิบายวา่ นกั เรียนจะสรา้ งองคค์ วามรดู้ ว้ ย ตวั เองผา่ นกจิ กรรม สงั เกต การตงั้ คาถาม การวางแผนการทดลอง การ สารวจตรวจสอบ กระบวนการแกป้ ัญหา การสบื คน้ ขอ้ มลู การอภิปลาย และการส่อื สารความรเู้ พ่ือใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจ โดยกิจกรรมตา่ งๆ ตอ้ งเนน้ ให้ ผเู้ รียนไดค้ ิดไดม้ สี ่วนร่วมวางแผน ลงมือปฏบิ ตั ิ สบื คน้ ขอ้ มลู รวบรวม ขอ้ มลู ตรวจสอบ วิเคราะห์ ขอ้ มลู สรา้ งคาอธบิ ายเกีย่ วกบั ขอ้ มลู ทีไ่ ดเ้ พ่อื นาไปส่คู าตอบของปัญหาหรือคาถาม และในทสี่ ดุ นกั เรยี นไดส้ รา้ งความรู้ นอกจากน้ี กิจกรรมตา่ ง ๆ ควรสนบั สนนุ ใหน้ กั เรียนไดม้ ปี ฏสิ มั พนั ธซ์ งึ่ กนั และกนั

การจดั การเรียนรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ เป็ นวิธกี ารจดั การเรียนรทู้ ี่ เนน้ นกั เรียนเป็ นสาคญั ใหน้ กั เรียนเป็ นศนู ยก์ ลางของการปฏิบตั ขิ อง กิจกรรมการเรียนการสอนอย่างแทจ้ รงิ โดยวิธใี หน้ กั เรยี นเป็ นผคู้ น้ ควา้ หา ความรดู้ ว้ ยตนเอง หรือสรา้ งความรดู้ ว้ ยตนเอง โดยใชก้ ระบวนการ ทาง วทิ ยาศาสตร์ โดยครทู าหนา้ ท่ีคลา้ ยผชู้ ว่ ย คอยสนบั สนนุ ชแี้ นะ ชว่ ยเหลือ ตลอดจนแกป้ ัญหาทอ่ี าจจะเกิดขน้ึ ระหวา่ งการเรยี นการสอน และนกั เรียน ทาหนา้ ที่คลา้ ยผจู้ ดั วางการเรียน มคี วามกระตอื รือรน้ ที่ จะศึกษาหาความรู้ โดยวธิ ีการเชน่ เดียวกบั การทางานของนกั วทิ ยาศาสตร์

ดงั นน้ั การจดั การเรียนรแู้ บบสบื เสาะหาความร(ู้ inquiry – based learning) เป็ นกระบวนการ จดั การเรยี นรทู้ ใ่ี หน้ กั เรียนมีส่วนรว่ มใน กิจกรรมการเรยี นรตู้ ลอดเวลาใหโ้ อกาสแกน่ กั เรยี นไดฝ้ ึ กคดิ ฝึ กสงั เกต ฝึ ก นาเสนอ ฝึ กวิเคราะหว์ จิ ารณ์ ฝึ กสรา้ งองคค์ วามรู้ เนน้ การพฒั นา ความสามารถในการแกป้ ัญหาดว้ ยวธิ ีการฝึ กใหน้ กั เรยี นรจู้ กั ศึกษาคน้ ควา้ หาความรโู้ ดยตงั้ คาถาม กระตนุ้ ใหน้ กั เรียนใชก้ ระบวนการทางความคิดหา เหตผุ ลจนคน้ พบความรหู้ รอื แนวทางในการแกไ้ ขปัญหาท่ถี กู ตอ้ งดว้ ย ตนเอง สรปุ เป็ นหลกั การเกณฑห์ รอื วธิ ีการในการแกป้ ัญหาและสามารถ

นาไปประยกุ ตใ์ ชป้ ระโยชนใ์ นการควบคมุ ปรบั ปรงุ เปล่ียนแปลงหรือสรา้ ง สง่ิ แวดลอ้ มในสภาพการณต์ า่ งๆ ไดอ้ ย่างกวา้ งขวางโดยมคี รเู ป็ นผกู้ ากบั ควบคมุ ดาเนนิ การใหค้ าปรกึ ษาชแี้ นะ ชว่ ยเหลือ ใหก้ าลงั ใจ เป็ นผกู้ ระตนุ้ สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นคดิ รวมทงั้ ร่วมแลกเปลย่ี นเรยี นรู้

จากแนวคิดดงั กลา่ ว สรปุ ความหมายของการสบื เสาะหาความรู้ ไว้ เป็ นเทคนคิ หรือกลวธิ ี อย่างหนงึ่ ในการจดั การเรยี นรวู้ ชิ าภาษาองั กฤษ โดย ใหน้ กั เรียนเป็ นผคู้ น้ ควา้ หาความรดู้ ว้ ยตนเอง โดยใชก้ ระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ กระตนุ้ ใหน้ กั เรียนมคี วามรโู้ ดยอยากถามคาถาม และ พยายามคน้ หาคาตอบใหน้ กั เรยี นมีส่วนร่วมในกจิ กรรมการเรียนรู้ ตลอดเวลา ใหโ้ อกาสแกน่ กั เรยี นไดฝ้ ึ กคดิ ฝึ กสงั เกต ฝึ กนาเสนอ ฝึ ก วิเคราะหว์ จิ ารณ์ ฝึ กสรา้ งองคค์ วามรโู้ ดยท่คี รเู ป็ นผกู้ ากบั ความคมุ ดาเนนิ การใหค้ าปรึกษา เป็ นผสู้ นบั สนนุ ชแ้ี นะ ชว่ ยเหลอื ตลอดจนแกป้ ัญหา ทีอ่ าจจะเกิดขน้ึ ระหวา่ งการเรียนการสอนและใหก้ าลงั ใจเป็ นผกู้ ระตนุ้ สง่ เสริมใหน้ กั เรยี นคดิ และเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง รวมทงั้ ร่วมแลกเปลยี่ น ความรู้

การจดั เรียนรแู้ บบสบื เสาะความรู้ หมายถงึ การจดั การเรยี นรทู้ ่ใี ห้ นกั เรยี นมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรยี นรตู้ ลอดเวลา ใหโ้ อกาสแกน่ กั เรยี น ไดฝ้ ึ กคดิ ฝึ กสงั เกต ฝึ กนาเสนอ ฝึ กสรา้ งองคค์ วามรู้ โดยมคี รเู ป็ นผกู้ ากบั ควบคมุ ดาเนนิ การใหค้ าปรกึ ษาชแี้ นะ ชว่ ยเหลอื ใหก้ าลงั ใจเป็ นผกู้ ระตนุ้ ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนคดิ และเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง รวมทง้ั รว่ มแลกเปลยี่ นความรู้

รปู แบบการเรยี นการสอน 5E เป็ นการจดั การเรียนรเู้ พอื่ ใหผ้ เู้ รียน สรา้ งความรดู้ ว้ ยตนเองมพี ้นื ฐานมาจากทฤษฎี คอนสตรลั ตวิ ิสต์ (Comstructivism) โดยมรี ากฐานสาคญั มาจากทฤษฎีพฒั นาการทาง สตปิ ัญญาของเฟี ยเจต์ (Piaget’s theort of Cognitive Development) ซง่ึ อธิบายวา่ พฒั นาการทางเชาวป์ ัญญาของบคุ คลมีการปรับตวั ทาง กระบวนการ ดดู ซึม (Assimilation) และกระบวนการการปรบั โครงสรา้ งทาง ปัญญา (Accommodation) พฒั นาการเกดิ ขน้ึ เมอ่ื บคุ คลรบั และซึมทราบ ขอ้ มลู หรือประสบการณเ์ ขา้ ไปสมั พนั ธก์ นั ไดจ้ ะเกิดสภาวะไมส่ มดลุ ขน้ึ

(Disequilibrium) บคุ คลจะพยายามปรับสภาพใหอ้ ย่ใู นสภาวะสมดลุ (Equilibrium) โดยใชก้ ระบวนการปรับโครงสรา้ งทางปัญญา

เฟี ยเจต์ เชอ่ื วา่ ทกุ คนจะมพี ฒั นาเชาวป์ ัญญาเป็ นลาดบั ขน้ั จากมีการ ปฏสิ มั พนั ธแ์ ละประสบการณก์ บั สง่ิ แวดลอ้ มตาม ธรรมชาตแิ ละ ประสบการณท์ ่เี กี่ยวกบั การคดิ เชงิ ตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมทง้ั การ ถ่ายทอดความรทู้ างสงั คมวฒุ ิภาวะและกระบวนการพฒั นาความสมดลุ ของบคุ คลนนั้

แนวคดิ พน้ื ฐานรปู แบบการเรยี นรดู้ ว้ ยกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (5E) สรปุ ไดว้ ่า การจดั การเรียนรแู้ บบสืบเสาะหาความรู้ มรี ากฐานมาจากทฤษฎี ของ Jean Piagat ทกี่ ลา่ วถึง พฒั นาการทางสมองของมนษุ ยไ์ วว้ า่ ความคิดมนษุ ย์ ประกอบดว้ ยโครงสรา้ ง 2 ประการ คอื 1.กระบวนการดดู ซึม (Assimulation) หมายถงึ กระบวนการท่อี ินทรยี ซ์ ึมซบั ประสบการณ์ ใหมเ่ ขา้ สปู่ ระสบการณเ์ ดมทีเ่ หมือนหรอื คลา้ ยคลงึ กนั แลว้ สมองก็ รวบรวมปรบั เหตกุ ารณใ์ หมใ่ หเ้ ขา้ กบั โครงสรา้ งของความคดิ อนั เกดิ จากการ เรยี นรทู้ ีม่ อี ยเู่ ดมิ 2.กระบวนการปรับขยายโครงสรา้ ง (Accommodtion) เป็ นกระบวนการทมี่ ี ตอ่ เนอื่ งมาจาก กระบวนการดดู ซมึ คอื ภายหลงั ท่ีมซี ึมซาบของเหตกุ ารณใ์ หม่ เขา้ มา และปรบั เขา้ สโู่ ครงสรา้ งเดมิ แลว้ ถา้ ปรากฏว่าประสบการณใ์ หม่ ทไ่ี ดร้ บั การซึมซาบเขา้ มาใหก้ บั เขา้ ประสบการณเ์ ดมิ ได้ สมองก็จะสรา้ งโครงสรา้ งใหม่ ขนึ้ มาเพอื่ ปรบั ใหเ้ ขา้ กบั ประสบการณใ์ หมน่ น้ั

ลกั ษณะสาคญั ของการเรียนรรู้ ปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความร(ู้ 5E) คณะกรรมการพฒั นามาตรฐานการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ บบสืบเสาะแหง่

อเมริกา National Research Council ไดแ้ นะนาลกั ษณะสาคญั ของกจิ กรรมการ เรยี น การสอนแบบสบื เสาะหาความรไู้ ว้ 5 ประการ ดงั นี้

1.นกั เรยี นตง้ั คาถาม- ซักถาม คาถามท่นี กั เรียนเป็ นผรู้ เิ ร่มิ เป็ นคาถาม เก่ียวขอ้ งกบั เนอ้ื หาสาระสาระสอดคลอ้ งกบั บทเรียนเสมอ และเป็ นคาถามทมี่ ี ลกั ษณะที่เป็ นเชงิ วทิ ยาศาสตร์ (Scientific questions) ซงึ่ นาไปส่กู ารคน้ หาคาตอบ ท่เี ชอื่ ถือได้ ไดแ้ กค่ าถามประเภท ทาไม(why) และ อยา่ งไร(how) ซ่ึงเป็ นคาถามท่ี เกี่ยวขอ้ งกบั ความสมั พนั ธเ์ ชงิ หนา้ ทหี่ รอื สาเหตุ (cause/function questions) ครผู สู้ อนจึงตอ้ งมคี วามรคู้ วามสามารถในการชนี้ าวิจยั คาถามตา่ งๆ ทนี่ กั เรียน ถามใหเ้ ป็ นคาถามทม่ี ปี ระโยชนไ์ ปส่กู ารสืบเสาะหาคาตอบ คาอธบิ ายได้ และใหม้ ี ความสมกบั ระดบั พฒั นาทางสตปิ ัญญาของนกั เรยี น จนกระทงั่ นาไปส่กู ารลงมอื ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมหาคาตอบได้

2.นกั เรยี นเก็บรวบรวมหลกั ฐาน เพอ่ื นาไปสกู่ ารสรา้ งและประเมนิ คาอธบิ าย หรือคาตอบของปัญหาอยา่ งสมเหตสุ มผล เชอื่ ถือไดม้ กี ารใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ (empirical evidence) สาหรบั เป็ นพน้ื ฐานในการอธบิ ายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั ปัญหาหรอื คาถาม ทน่ี กั เรยี นตงั้ ไว้

3.นกั เรยี นสรา้ งคาอธิบาย (explantion) ซ่งึ ไดจ้ ากการเก็บรวบรวมหลกั ฐาน ขอ้ มลู เพื่อนาไปสกู่ ารสรา้ งคาอธบิ ายหรือคาตอบของปัญหาหรอื คาถาม มากกว่าการเนน้ การสรา้ งกฎเกณฑโ์ ดยสรปุ คาอธบิ ายเป็ นการเสนอความเขา้ ใจ ใหมท่ ี่เลยพน้ การมคี วามรอู้ ยใู่ นขณะนน้ั คาอธิบายใดๆ ตอ้ งถกู สรา้ งขน้ึ มาจาก มคี วามรู้ หรือความเขา้ ใจทีม่ กี อ่ นอยแู่ ลว้ เสมอ

4.นกั เรยี นประเมนิ หรือตรวจสอบคาอธบิ าย (cvaluation) การประเมินอาจ นา ไปส่กู ารปรบั ปรงุ แกไ้ ข หรือยกเลิกคาอธบิ าย ในการใชก้ ารประเมินนยิ มใช้ คาถาม ทาใหน้ กั เรียนไดต้ รวจสอบวา่ คาอธบิ าย ดงั กล่าวทง้ั คาอธบิ ายเดมิ และ อธิบายอื่นท่เี สนอไวจ้ ากหลกั ฐานทีเ่ ก็บรวบรวมมคี วามสอดคลอ้ ง กบั ความรู้ ทางวทิ ยาศาสตรท์ ยี่ อมรบั กนั โดยทวั่ ไปในขณะนน้ั มากนอ้ ยเทา่ ใด

5.นกั เรียนรายงานคาอธบิ ายอย่างสมเหตสุ มผล นกั วทิ ยาศาสตรต์ อ้ งนา คาอธบิ ายทส่ี รา้ งไดม้ ารายงานใหผ้ รู้ ใู้ นแวดวงวทิ ยาศาสตรร์ บั ทราบในลกั ษณะท่ี คนอืน่ สามารถ ตรวจสอบไดโ้ ดยจะตอ้ งมคี วามเชอ่ื มโยงอยา่ งสมเหตสุ มผล ระหว่างคาถาม ปัญหา กระบวน การหลกั ฐานคาอธิบายทเี่ สนอและตรวจสอบ คาอธบิ ายอื่นๆ การรายงานคาอธิบายดงั กล่าวทาใหเ้ กิดการตรวจสอบ คาอธบิ ายอื่น ทบทวนขอ้ สงสยั ตา่ งๆ และเปิ ดโอกาสใหน้ กั วิทยาศาสตรค์ นอืน่ ได้

ใชค้ าอธบิ ายอืน่ นี้ สาหรับคาถามปัญหาใหมต่ อ่ ไป โดยเนน้ ใหน้ กั เรียนเป็ นผู้ ควบคมุ หรอื นาตนเองในการทากิจกรรมการดว้ ย

ขนั้ ตอนการจดั การสอนของการเรียนรรู้ ปู แบบการสบื เสาะหาความร(ู้ 5E)

1. ขน้ั สรา้ งความสนใจ(Engagement) ขน้ั นเี้ ป็ นของการนาเขา้ ส่บู ทเรียนหรอื นาเขา้ สเู่ รือ่ งที่อย่ใู นความสนใจท่เี กดิ จากขอ้ สงสยั โดยครผู สู้ อนจะตอ้ งกระตนุ้ ให้ นกั เรยี นเกดิ ความสนใจใครร่ ู้ เพือ่ นาเขา้ สบู่ ทเรียนหรอื เนอ้ื หาใหมๆ่ ซ่ึงความ สนใจใคร่รนู้ นั้ อาจมาจากความสนใจของนกั เรยี นเอง การอภปิ ลายกล่มุ หรือ จากการนาเสนอของครผู สู้ อนก็ได้ แตจ่ ะตอ้ งเป็ นเรือ่ งท่ีนกั เรยี นยอมรบั โดยไมม่ ี การบงั คบั หลงั จากนน้ั เมอื่ ไดข้ อ้ คาถามทนี่ า่ สนใจแลว้ ครผู สู้ อนตอ้ งกระตนุ้ ให้ นกั เรียนร่วมกนั กาหนดขอบเขตและแจกแจงรายระเอยี ดของเรอ่ื งทจ่ี ะศึกษาใหม้ ี ความชดั เจนมากยง่ิ ขน้ึ โดยใชก้ ารรบั รจู้ ากประสบการณเ์ ดิม รวมกบั การศึกษา เพิ่มเตมิ จากแหลง่ การเรียนรตู้ า่ งๆเพื่อใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจในประเด็นท่จี ะศึกษาและ มีแนวทางในการสารวจตรวจสอบมากยง่ิ ขนึ้

2. ขน้ั สารวจและคน้ ทา (Exploraton) เมือ่ ทาความเขา้ ใจในประเด็น หรอื คาถามทสี่ นใจศึกษาอย่างถอ่ งแทแ้ ลว้ ครผู สู้ อนจะเปิ ดโอกาสใหน้ กั เรยี น ดาเนนิ การศึกษาคน้ ควา้ โดยการรวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยวธิ ีการตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหไ้ ดม้ า ซึ่ง ขอ้ มลู อยา่ งเพยี งพอทจ่ี ะใชใ้ นขนั้ ตอ่ ไป เชน่ การสารวจ การสบื คน้ จาก เอกสาร ตา่ ง ๆ การทดลอง และการจาลองสถานการณ์ เป็ นตน้ เพื่อตรวจสอบ สมมตุ ฐิ านและใหไ้ ดข้ อ้ มลู อยา่ งเพียงพอท่ีจะนาไปใชใ้ นการอธบิ ายและสรปุ

3. ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanattion2 เมอื่ ไดข้ อ้ มลู อยา่ งเพียงพอ แลว้ ครผู สู้ อนจะตอ้ งใหน้ กั เรยี นนาขอ้ มลู ทีไ่ ดม้ าวเิ คราะหแ์ ละแปลผลาเพ่ือ สรปุ ผ และนาเสนอผลท่ีไดใ้ นรปู ตา่ ง ๆ เชน่ การบรรยายสรปุ การสรา้ ง แบบจาลอง การวาดภาพ หรอื การสรปุ เป็ นตารางหรอื กราฟ ซ่ึงผลสรปุ ทีไ่ ดน้ นั้ จะตอ้ ง สามารถอา้ งองิ ความรู้ มีความสมเหตสุ มผล และมหี ลกั ฐานที่เชอื่ ถือได้

4. ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboratlon) เป็ นขนั้ ของการนาความรทู้ ่ไี ดจ้ ากชนั้ กอ่ นหนานี้ มาเชอื่ มโยงกบั ความรเู้ ดมิ หรอื ใชอ้ ธบิ ายถึงสถานการณห์ รือ เหตกุ ารณเ์ กย่ี วขอ้ ง โดยครผู สู้ อนอาจจดั กจิ กรรมและใหน้ กั เรียนมีส่วนรว่ มใน กิจกรรมนนั้ ๆ เชน่ ตง้ั คาถามจากการศึกษาเพือ่ ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั อภปิ ราย

และแสดงความคิดเห็นเพมิ่ เตมิ ซ่ึงจะทาใหน้ กั เรยี นสามารถเชอื่ มโยงความรเู้ ขา้ กบั ประสบการณห์ รือสถานการณท์ เ่ี ก่ียวขอ้ งไดม้ ากขน้ึ

5. ขน้ั ประเมนิ (Evaluation) เป็ นขน้ั ของการประเมินการ เรียนรดู้ ว้ ย กระบวนการตา่ งๆ เชน่ การทาขอ้ สอบ การทารายงานสรปุ หรอื การใหน้ กั เรยี น ประเมินตวั เอง เป็ นตน้ เพือ่ ตรวจสอบนกั เรียนวา่ มี ความรทู้ ถี่ กู ตอ้ งมากนอ้ ย เพียงไรจากการเรียนรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ ดงั กล่าว ครผู สู้ อนจะตอ้ งเปิ ด โอกาสใหน้ กั เรียน วิเคราะห์ วิจารณแ์ ละ คดิ พิจารณาความรทู้ ่ีไดใ้ หร้ อบคอบ โดย มีครผู สู้ อนชว่ ยตรวจสอบ

การใชก้ ระบวนการจดั การเรียนรรู้ ปู แบบ การสอนแบบสบื เสาะหาความร5ู้ E ให้ ไดผ้ ลดีที่สดุ Roger W. Bybee กล่าวว่า 5E model จะเกดิ ประสทิ ธผิ ลไดด้ ี ท่สี ดุ เมอ่ื

1. นามาใชก้ บั ผเู้ รยี นทเ่ี ริม่ เรยี นรแู้ นวคดิ หรอื เร่อื งใหมใ่ ด ครง้ั แรก เพราะ ผสู้ อนมโี อกาสใชว้ งจรการเรียนรไู้ ดเ้ ตม็ รปู แบบ

2. ใหก้ ารเรียนการสอนในแตล่ ะลาดบั (Phase) เป็ นพื้นฐานใน การเยนิ รู้ เรอื่ งทเี่ กี่ยวเนอื่ งตอ่ ไป การนา 5E มาใชก้ บั การเรียนการสอน เรอ่ื งใดเร่อื งหนงึ่ ทไ่ี มม่ ีส่วนตอ่ ตอ่ ยอด จะทาให้ 5E มปี ระสทิ ธผิ ลนอ้ ยกวา่ ทีค่ วรเพราะผเู้ รียนไมม่ ี โอกาสไดพ้ ฒั นาแนวคดิ และยงั ปิ ดกน้ั ความสามารถ ในการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นอีก ดว้ ย

3. ไมค่ วรใชเ้ วลาในแตล่ ะลาดบั นานเกนิ ไปเพราะ 5E เนน้ การใช้ ผลสาเร็จ ของลาดบั หนงึ่ เป็ นฐานสรา้ งการเรียนรใู้ นลาดบั ถัดไป การจมอยู่ กบั ลาดบั ใด ลาดบั หนงึ่ นานเกินไป ผเู้ รยี นอาจหมดความกระตอื รือรน้ หรอื ลมื เรอื่ งทไ่ี ดป้ ูไว้ เป็ นพืน้ ฐาน นอกจากนนั้ ความสนใจของเพอ่ื นรว่ มเรียนท่ี ลดลงอาจสง่ ผลตอ่ การตงั้ คาถามหรอื ไดค้ าตอบท่ีไมช่ ว่ ยสรา้ งการเรี หรอื แนวคดิ ใหม่

ความแตกตา่ งของการเรยี นรแู้ บบ 5E กบั การเรียนรแู้ บบดงั้ เดมิ แนวคดิ การเรียนรแู้ บบ 5E

1. กาหนดจดุ ประสงคก์ ารเรียนรทู้ เ่ี นนั่ การฝึ กกระบวนการเรยี น ทจี่ ะ ทาใหไ้ ดม้ า ซ่ึงองคค์ วามรู้

2. เนน้ การเรียนท่ใี หผ้ เู้ รยี นเป็ นผกู้ ระทา หรอื ปฏบิ ตั ใิ หเ้ ก็ดองค์ ความรมู้ ากกวา่ เป็ นผรู้ บั องคค์ วามรู้ มกั มคี วามเชอื่ วา่ ผสู้ อนตอ้ งรบั ผดิ ชอบ ใหค้ วามสนใจ ตดิ ตาม รปู แบปวธิ กี ารคิดและการเปล่ียนแปลงการคดิ ของผเู้ รยี นในทกุ ขน้ั ตอน ของ คารเรยี นรู้

ขอ้ จากดั ของการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้

1. ในการสอนแตล่ ะครง้ั ตอ้ งใชเ้ วลาในการสอนมาก

2. ถา้ ถานการณท์ ค่ี รสู รา้ งขน้ึ ไมท่ าใหน้ า่ สงสยั แปลกใจ จะทาให้ นกั เรียนเบื่อ หนา่ ย ถา้ ครไู มเ่ ขา้ ใจบทบาทหนา้ ทใี่ นการสอนวิธีนมี้ งุ่ ควบคมุ พฤตกิ รรมของ นกั เรียนมากเกินไปจะทาใหน้ กั เรียนไมม่ โี อกาสไดส้ ิบเสาะหา ความรดู้ ว้ ยตนเอง

3. ในกรณีท่ีนกั เรยี นมีระดบั สตปิ ัญญาตา่ และเนอื้ หาค่อนบว้ งยากู นกั เรียน อาจจะไมส่ ามารถศึกษาหาความรดู้ ว้ ยตนเองได้

4. นกั เรยี นบางคนทยี่ งั ไมเ่ ป็ นผใู้ หญ่พอ ทาใหข้ าดแรงจงู ใจทีจ่ ะศึกษา ปัญหา และนกั เรียนทตี่ อ้ งการแรงกระตนุ้ เพือ่ ใหเ้ กดิ ความกระตอื รือรน้ ในการ เรยี นมาก ๆ อาจจะพอตอบคาถามได้ แตน่ กั เรียนไมป่ ระสบความสาเร็จในการ เรียนดว้ ย วธิ ีนเี้ ท่าท่ีควร

5. การใชส้ อนแบบนอี้ ย่เู สมอ อาจทาใหค้ วามสนใจของนกั เรยี นใน การศึกษา คน้ ควา้ ลดลง

สรปุ ไดว้ ่า ขอ้ จากดั ของการเรยี นการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ การ เรียน การสอนแบบนใี้ ชเ้ วลามากในการสอนแตล่ ะครง้ั อาจจะทาใหผ้ เู้ รยี น เบอ่ื โดยเฉพาะผเู้ รียนทมี่ รี ะดบั สตปิ ัญญาตา่ จะทาใหข้ าดแรงจงู ใจในการสบื คน้ เนอื้ หา ประกอบกบั ถา้ สถานการณท์ ่ีครสู รา้ งขนึ้ ไมช่ วนสงสยั ยง่ิ จะทาใหเ้ รยี น เบอ่ื หนา่ ยบทเรยี น จะทาใหก้ ารสอนแบบนไี้ มไ่ ดผ้ ลเท่าทค่ี วร

สรปุ

การเรียนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5 ขน้ั ตอนนน้ั นบั วา่ เป็ นรปู แบบ การเรียนรู้ ที่ดีที่สดุ ในการจดั การเรียนการสอน STEM เพราะจะนาพา นกั เรียนเขา้ ร่วมการ สารวจ อธบิ ายอย่างละเอียดและประเมนิ ผล เพ่ือให้ สามารถเชอื่ มโยงกบั กลยทุ ธ์ การสอนทแี่ ตกตา่ งกนั ได้ ชว่ ยใหค้ รู วิทยาศาสตรส์ ามารถอานวยการสอนและ สนบั สนนุ ผเู้ รียนในการดาเนนิ กิจกรรมไดห้ ลากหลายมากขนึ้ ซ่งึ เม่ือเทียบกบั รปู แบบการสอนแบบดง้ั เดมิ การเรยี นแบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขน้ั ตอนจะให้ ประโยชนม์ ากกวา่ เกย่ี วกบั ความสามารถของนกั เรียนในการเรียนรทู้ าง วทิ ยาศาสตร์

การเรียนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5 ขนั้ ตอน นบั เป็ นการเรียนการ สอน ทใี่ ห้ ความสาคญั กบั ผเู้ รยี นหรือผเู้ รยี นเป็ นศนู ยก์ ลาง มกี ารจดั การ เรียนรทู้ ่ีฝึ กให้ ผเู้ รียนรจู้ กั คนั ควา้ หาความรโู้ ดยใชก้ ระบวนการทางความคดิ หาเหตผุ ล เพอื่ ทา ใหค้ นั พบความรหู้ รอื แนวทางแกป้ ัญหาท่ีถกู ตอ้ งดว้ ย ตนเอง จึงนบั ไดว้ ่าการ เรียนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5 ขน้ั ตอนนนั้ เป็ นการ เรยี นการสอนท่เี นน้ องค์ ความรทู้ กั ษะ ความเชยี่ วชาญและสมรรถนะท่เี กิด กบั ตวั ผเู้ รยี น ซึ่งทาใหผ้ เู้ รียน สามารถนาไปใชป้ ระโยชนในการดาเนนิ ชวี ติ ทา่ มกลางการกระแสเปลยี่ นแปลงใน ยคุ ปัจจบุ ันได้ การเรยี นรรู้ ปู แบบการสอนแบบสบิ เสาะหาความร(ู้ 5E)

แผนการจดั การเรียนรู้

กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ ชน้ั ประถมศึกษาปี ที่ 3

หนว่ ยการเรยี นรบู้ รู ณาการแบบสอดแทรก เร่อื ง My Family เวลา 2 ชวั่ โมง

…………………………………………………………………………………………………………………………………………

1. สาระสาคญั

การเรยี นรคู้ าศพั ทแ์ ละประโยคทใ่ี ชใ้ นสนทนาโตต้ อบในการสอื่ สารเกีย่ วกบั เรอ่ื ง ครอบครวั ของฉนั ท่ีสามารถพบเห็นในชวี ติ ประจาวัน และเพื่อชว่ ยใหก้ ารเรียน ภาษาองั กฤษนน้ั มีความหมาย และเป็ นรปู ธรรมสาหรบั ผเู้ รยี นมากขน้ึ จึงสรา้ ง สถานการณส์ มมตใิ หผ้ เู้ รยี นไดฝ้ ึ กทกั ษะการพดู ซึ่งเป็ นประโยชนใ์ นฝึ กใช้ ภาษาองั กฤษเพอื่ การสอื่ สารในชวี ติ ประจาวันมากขน้ึ

2. มาตรฐานการเรียนรู้ ต 4.1 ป.3/1 : ฟัง/พดู ในสถานการณง์ า่ ยๆทเ่ี กิดขน้ึ ในหอ้ งเรยี น ต 4.2 ป.3/1 : ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเพอื่ รวบรวม คาศัพทท์ ี่เกยี่ วขอ้ งใกลต้ วั

3. ตวั ชวี้ ัด 1. ฟัง/พดู ในสถานการณง์ า่ ยๆทเ่ี กิดขน้ึ ในหอ้ งเรยี น (ต 4.1 ป.3/1)

4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. พดู บทสนทนาโตต้ อบในการสอ่ื สารเก่ยี วกบั เร่อื ง My Family ได้ 2. แสดงความรบั ผิดชอบตอ่ การทางานเป็ นกลมุ่ ได้

5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 1. สามารถพดู บทสนทนาโตต้ อบในการสือ่ สารเกีย่ วกบั เรอื่ ง My Family ได้

6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ใฝ่ เรยี นรู้

7. สาระการเรยี นรู้ Topic: My Family Vocabulary: father ,mother, brother, sister, grandfather, grandmother etc. Function: Speak the conversation about “My Family ” Major skill: speaking Minor skill: writing, reading and listening Integration: Learning Area of Social Studies, Religion and Culture

8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ท่ี 1 ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรยี น Warm up (การเตรยี มความพรอ้ ม10 นาท)ี

1.ทกั ทาย และถามเก่ียวกบั เรอื่ งทวั่ ไปของนกั เรยี นในชนั้ เรยี น เชน่ สบายดไี หม กินขา้ วหรือยงั การใชช้ วี ติ ประจาวนั มีความสขุ ดีไหม

2.ครถู ามนกั เรียนวา่ มีใครรจู้ กั คาศพั ทส์ มาชกิ ในครอบครัวบา้ งและสนทนา เกยี่ วกบั บคุ คลตา่ งๆในครอบครัวของนกั เรยี นวา่ มใี ครบา้ ง เชน่ Mother, Sister, Son เป็ นตน้ จากนนั้ ครพู านกั เรียนรอ้ งเพลงHappy Familyและใหน้ กั เรยี นรอ้ งเพลงพรอ้ มกนั

3. ใหน้ กั เรียนทบทวนคาศัพทท์ ี่เรยี กบคุ คลตา่ ง ๆ ในครอบครวั วา่ มี คาใดบา้ ง เชน่ Grandfather, Grandmother, Father, Mother, Brother, Sister, Aunt, Uncle,

ขน้ั ที่ 2 ขน้ั แลกเปลี่ยนประสบการณ์ Presentation (นาเสนอ 10 นาท)ี

1. แสดงบัตรภาพบคุ คลตา่ ง ๆ ในครอบครัว เชน่ ภาพลกู สาว พดู ประโยควา่ This is my daughter. ภาพลกู ชาย This is my son. โดยการแสดงภาพบคุ คลตา่ ง ๆ ในครอบครัวไปจนครบ และฝึ กใหน้ กั เรยี นอ่านตาม

2. แสดงบัตรภาพ และบตั รคาศพั ท์ ท่เี รยี กบคุ คลตา่ ง ๆ ในครอบครวั และให้ นกั เรยี นฝึ กออกเสยี ง และสะกดคาศัพท์ เหล่านนั้ Daughter, Son, Uncle, Aunt

ขนั้ ท่ี 3 ขนั้ ประสานความคดิ Practice (ขนั้ ฝึ ก 15 นาท)ี

1. นกั เรยี นศึกษาใบความรู้ Study Sheet 1 ฝึ กถาม ตอบ จากภาพWho are they? They are my family.

2.ใหน้ กั เรยี นเลน่ เกมจบั คบู่ ตั รคาศัพทก์ บั บตั รภาพ นาบัตรภาพ และบตั ร คาศพั ทม์ าเรียงควา่ ลงบนโตะ๊ นกั เรียนเปิ ดบตั รภาพ และบตั รคาศัพท์ บนโตะ๊ อยา่ งละ 1 ภาพถา้ ไดบ้ ตั รภาพตรงกบั บตั รคาศพั ท์ เชน่ ภาพแม่ ตรงกบั คาวา่ mother ใหน้ กั เรยี นผนู้ น้ั พดู คาศพั ท์ mother และพดู ประโยควา่ This is my mother. แลว้ เก็บภาพนน้ั ไว้ ถา้ เปิ ดแลว้ ไมถ่ กู ตอ้ งใหค้ วา่ ภาพนนั้ อยา่ งเดมิ ผเู้ ลน่ คนตอ่ ไป เป็ นผเู้ ลน่ ทาเชน่ นจี้ นครบทกุ คน และหมดบัตรภาพ บตั รคา ผทู้ เ่ี ปิ ดบัตรภาพ กบั บตั รคาศพั ทไ์ ดต้ รงกนั พดู คาศพั ทแ์ ละอา่ นประโยคไดถ้ กู ตอ้ งมากที่สดุ เป็ น ฝ่ ายชนะ ทากิจกรรมใบงานท่ี 1 และใบงานที่ 2

ขน้ั ที่ 4 ขน้ั จิตสานกึ ดงี าม Production (ขนั้ นาไปใช้ 10 นาท)ี

1. แบง่ กลมุ่ ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั รวบรวมคาศัพทท์ ่เี รียกบคุ คลตา่ ง ๆ ใน ครอบครัววา่ มี คาใดบา้ ง เชน่ Grandfather, Grandmother, Father, Mother, Brother, Sister, Aunt, Uncle, Daughter, Son, Niece, Nephew โดยดจู ากแผน่ ภาพ บคุ คลในครอบครวั และพจนานกุ รมฉบบั ภาษาอังกฤษ

2.นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอคาศพั ทท์ ค่ี น้ ควา้ ไดโ้ ดยพดู ประโยค แนะนา บคุ คล ใน ครอบครัว เชน่ This is my aunt.

ขน้ั ที่ 5 ขนั้ สรปุ และประเมินตามสภาพจริง Wrap up (ขน้ั สรปุ 15 นาท)ี

1. นกั เรยี นวาดภาพบคุ คลตา่ ง ๆ ในครอบครัวของนกั เรยี น พรอ้ มทง้ั เขยี น คาศัพทใ์ หต้ รงกบั ภาพและเขยี นประโยค

2. รว่ มกนั สรปุ คาศพั ทซ์ ึ่งเป็ นคาเรยี กบคุ คลในครอบครัวบนกระดาน

3.นกั เรียนทกุ คนจดคาศพั ทท์ ี่ไดเ้ รียนมาลงในสมดุ เชน่ Mother, Brother, Sister, Daughter, Son

9. สื่อการเรยี นร/ู้ แหลง่ การเรยี นรู้ 9.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1. บตั รคาศัพทเ์ ก่ียวกบั อาหารไทย 2. ภาพอาหารไทย 3. ใบงานเกยี่ วกบั What's your favorite food in Thailand?

9.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1. หอ้ งสมดุ 2. หนงั สือเรยี น

10. การวัดและประเมนิ ผล

วิธีการวดั และประเมินผล เครื่องมือวดั และประเมินผล เกณฑก์ ารผา่ น

ประเมนิ การทาใบงาน แบบประเมนิ การทาใบงาน ถกู ตอ้ งอยา่ งนอ้ ย 5 คา

ประเมินการอา่ นคาศพั ท์ แบบประเมนิ ในการอา่ น ถกู ตอ้ งอย่างนอ้ ย 5 คา คาศัพท์

สงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรยี น แบบประเมนิ สงั เกตพฤตกิ รรม อย่ใู นระดบั พอใช้

แตล่ ะคน นกั เรียน

ตรวจใบงาน จบั ค่วู าดภาพ แบบฝึ กหดั จบั คอู่ า่ นเรอ่ื งใน A ถกู ตอ้ งอย่างนอ้ ย 5 ขอ้ นกั เรยี นคนที่ 1 วาด และ B และตอบคาถามโดยเตมิ แผนภมู ิของครอบครวั ประโยคใหส้ มบรู ณ์ Peter(จากใบงานที่ 1)

11. บันทึกผลหลงั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 11.1 ผลการเรียนรู้ .....................................................................................................................................

................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................

11.2 ปัญหา/อปุ สรรค ...................................................................................................................................... ................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................. 11.3 แนวทางการแกไ้ ขปัญหา/อปุ สรรค .................................................................................................................................... ................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................ผอู้ อกแบบการเรียนรู้ (.........................................)

............../.................../................

คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์

ค ๔.๑ ป.๓/๒ บอกจานวนและ ว ๑.๒ ป.๓/๒ เปรยี บเทียบและระบลุ กั ษณะที่ ความสมั พนั ธใ์ นรปู แบบของ คลา้ ยคลึงกนั ของพ่อแมก่ บั ลกู จานวนทเ่ี พิม่ ขนึ้ ที่ละ ๓ ทีละ ๔ ที ละ ๒๕ ทีละ ๕๐ และรปู แบบซา้ ว ๑.๒ ป.๓/๓ อธบิ ายลกั ษณะทีค่ ลา้ นคลึงกนั ค ๔.๑ ป.๓/๒ บอกจานวนและ ของพ่อแมก่ บั ลกู วา่ เป็ นการถา่ ยทอดลกั ษณะ ความสมั พนั ธใ์ นรปู แบบของ ทางพนั ธกุ รรมและนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ จานวนที่ลด ลงทล่ี ะ ๓ ทีละ ๔ ทลี ะ ๒๕ ทลี ะ ๕๐ และรปู แบบซา้ สงั คมศึกษา

ภาษาไทย ศาสนาและวัฒนธรรม ส ๒.๑ ป.๓/๑ สรปุ ประโยชนแ์ ละปฏิบัตติ ามประเพณี ท ๒.๑ ป.๓/๒ เขยี น และวฒั นธรรมในครอบครัวและทอ้ งถ่ิน บรรยายเก่ยี วกบั สง่ิ ใด ส่ิงหนง่ึ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน ท ๒.๑ ป.๓/๖ มมี ารยาท

ในการเขยี น

My Family

สขุ ศึกษาและพลศึกษา ภาษาตา่ งประเทศ

พ ๒.๑ ป.๓/๑ อธบิ ายความสาคญั และ ต ๔.๑ ป.๓/๑ ฟัง/พดู ในสถานการณง์ า่ ยๆ ความแตกตา่ งของครอบครัวที่มตี อ่ ตนเอง ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในหอ้ งเรียน

พ ๒.๑ ป.๓/๒ อธบิ ายวธิ สี รา้ ง ต ๔.๒ ป.๓/๑ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศ เพื่อ ความสมั พนั ธใ์ นครอบครวั และกลมุ่ เพ่อื น รวบรวมคาศัพทท์ ่เี ก่ียวขอ้ งใกลต้ วั

ศิลปะ

ศ ๑.๑ ป.๓/๔ วาดภาพระบายสสี ่งิ รอบตวั ศ ๑.๑ ป.๓/๘ ระบสุ งิ่ ท่ีช่ืนชมและส่ิงท่คี วร

ปรับปรงุ ในงานทศั นศิลป์ ของตนเอง

ตารางแสดงความสมั พนั ธ์

ภาคผนวก

Handout

Direction: Listen and repeat.