แผนกจ ดซ อ ม ว ธ สอบถามราคาอย างไร

- แพ็กเกจเสริม Internet Booster เล่นเน็ตความเร็วสูงสุดได้เพิ่มขึ้นอีก 20GB ใช้ได้นาน 15 วัน ราคา 199 บาท - ค่าบริการยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม

- แพ็กเกจเสริม Internet Booster เล่นเน็ตความเร็วสูงสุดได้เพิ่มขึ้นอีก 50GB ใช้ได้นาน 30 วัน ราคา 349 บาท - ค่าบริการยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม

- ค่าบริการยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม - ความเร็วสูงสุด 1 Mbps - ต่ออายุอัตโนมัติหรือจนกว่าจะยกเลิก - กดรับสิทธิ์ฟรีอินเทอร์เน็ตเต็มสปีด 10GB/30วัน ทุกครั้งที่ดีแทคแอป - ระยะเวลาในการกดรับฟรีอินเทอร์เน็ตเต็มสปีด ที่ดีแทคแอปได้ 7 วัน - สิทธิ์พิเศษฟรีอินเทอร์เน็ตเต็มสปีด เริ่มตั้งแต่วันที่ 16 มิ.ย.65 - 31 ธ.ค.67 หรือจนกว่าจะมีการแจ้งยกเลิก - ฟรีอินเทอร์เน็ตเต็มสปีด 3GB/30วัน ไม่สามารถแลกเปลี่ยนเป็นเงินสด หรืออื่นๆได้ - หากเงินของคุณไม่เพียงพอที่จะต่ออายุอัตโนมัติ ระบบจะตัดเงินต่อโปรแบบรายวัน 13.38บ./วัน โดยอัตโนมัติทุกวัน จนกว่าจะมีเงินเพียงพอหรือยกเลิก -ไม่อนุญาตให้ใช้งานในเชิงพาณิชย์, บิททอร์เรนต์, ฮอตสปอต หรือการรับส่งไฟล์ที่อาจส่งผลกระทบต่อการใช้งานโดยรวม - บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงการเสนอขายได้ตามสมควร - บริษัทสงวนสิทธิในการจัดการบริหารเครือข่ายตามความเหมาะสมเพื่อรักษามาตรฐานคุณภาพของบริการและเพื่อช่วยให้ผู้ใช้บริการโดยรวมสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นจำกัดหรือลดความเร็วหรือดำเนินการใดๆในการรับส่งข้อมูลต่างๆ การใช้งาน Bit Torrent, การดาวน์โหลด และ/หรืออัพโหลดไฟล์ขนาดใหญ่, หรือการใช้งานใดที่มีการรับส่งข้อมูลในปริมาณมากอย่างต่อเนื่องหรือที่มีผลต่อการใช้บริการหรือเกิดความไม่เป็นธรรมก่อหรืออาจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อผู้ใช้บริการอื่นและ/หรือต่อเครือข่ายหรือการให้บริการโดยรวมของบริษัท ทั้งนี้ การลดความเร็วอาจลดต่ำกว่าที่ระบุในแพ็กเกจตามแต่ลักษณะการใช้งาน พื้นที่ให้บริการและอุปกรณ์ที่รองรับ

อยากขอทะเบียนบ้าน แต่ไม่รู้ทำอย่างไร มาดูวิธีขอทะเบียนบ้านเล่มใหม่ และวิธีขอทะเบียนบ้านออนไลน์ เอกสารที่ต้องใช้ มีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง และข้อมูลเกี่ยวกับทะเบียนบ้าน

แผนกจ ดซ อ ม ว ธ สอบถามราคาอย างไร

ทะเบียนบ้าน เป็นเอกสารสำคัญที่ทุกบ้านต้องมี หลังจากสร้างบ้านเสร็จหรือซื้อบ้านใหม่ สำหรับมือใหม่ที่ยังไม่เคยขอทะเบียนบ้าน อย่างรู้ว่าทำอย่างไร และใช้เอกสารอะไรบ้าง วันนี้กระปุกดอทคอมได้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการขอทะเบียนบ้านมาให้แล้ว ทั้งเอกสารที่ใช้ขอทะเบียน ขั้นตอนการขอทะเบียนบ้านที่สำนักทะเบียน ค่าใช้จ่ายในการขอทะเบียนบ้าน และวิธีขอทะเบียนบ้านออนไลน์สำหรับคนที่ไม่สะดวกเดินทางไปที่สำนักงานด้วยตัวเอง

ทะเบียนบ้าน คือ

ทะเบียนบ้าน คือ เอกสารที่นายทะเบียนออกให้กับบ้านแต่ละหลังเมื่อมีการปลูกสร้างบ้านใหม่หรือรื้อถอนบ้าน ซึ่งในเอกสารจะแสดงข้อมูลเลขรหัสประจำบ้านหรือเลขที่บ้าน รายการผู้อยู่อาศัยทั้งหมด โดยเจ้าบ้านจะต้องแจ้งเรื่องภายใน 15 วัน หลังสร้างบ้านแล้วเสร็จ หากไม่ดำเนินการจะถือว่ามีโทษ และปรับไม่เกิน 1,000 บาท

ในกรณีที่มีการแจ้งย้ายเข้าหรือย้ายออก เจ้าบ้านจะต้องทำเรื่องภายใน 15 วัน ตั้งแต่มีการย้ายออก หากไม่ดำเนินการจะมีโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท ทั้งนี้ ผู้ที่ต้องการย้ายที่อยู่สามารถแจ้งย้ายเรื่องปลายทางอัตโนมัติได้ โดยไปยื่นเรื่องด้วยตนเองที่สำนักทะเบียน

ทั้งนี้ เจ้าบ้าน คือ หัวหน้าครอบครัวในบ้านหลังนั้น อาจจะครอบครองในฐานะเจ้าของบ้าน ผู้เช่าบ้าน หรืออื่น ๆ ทำหน้าที่แจ้งเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับงานทะเบียนราษฎร ได้แก่ แจ้งเกิด แจ้งตาย แจ้งการย้ายเข้า-ออก และแจ้งการปลูกสร้างบ้านใหม่หรือรื้อถอน โดยเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในบ้านหรือไม่ก็ได้ แต่เมื่อไรก็ตามที่เจ้าบ้านไม่สามารถทำหน้าที่เองได้ เช่น เจ้าบ้านไม่อยู่ ตาย หรือหายสาบสูญ ให้ผู้มีหน้าที่ดูแลบ้านในขณะนั้นเป็นเจ้าบ้านและดำเนินการแทน

ทะเบียนบ้าน มีกี่ประเภท

- ทะเบียนบ้าน ทร.14 (เล่มสีน้ำเงิน) : ทะเบียนบ้านสำหรับคนที่มีสัญชาติไทย และคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวต่างด้าว

- ทะเบียนบ้าน ทร.13 (เล่มสีเหลือง) : ทะเบียนบ้านสำหรับคนต่างด้าว ไม่มีใบสำคัญประจำตัวต่างด้าว ที่เข้าเมืองแบบถูกกฎหมายโดยได้รับอนุญาตให้อยู่ชั่วคราว หรือเข้าเมืองโดยมิชอบด้วยกฎหมายตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง

- ทะเบียนบ้านกลาง : ไม่ใช่ทะเบียนบ้าน แต่เป็นทะเบียนที่ออกโดยผู้อำนวยการทะเบียนกลาง ที่มีการกำหนดให้ทำขึ้นเพื่อลงรายการบุคคลที่ไม่อาจมีชื่อในทะเบียนบ้าน

- ทะเบียนบ้านชั่วคราว : ทะเบียนบ้านที่ออกให้กับบ้านที่สร้างขึ้นในที่สาธารณะหรือบุกรุกป่าสงวนโดยไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย สามารถใช้เป็นเอกสารราชการได้เหมือนทะเบียนบ้าน และผู้ที่มีชื่อในทะเบียนบ้านชั่วคราวมีสิทธิและหน้าที่เช่นเดียวกับบุคคลที่อยู่ในทะเบียนบ้าน

- ทะเบียนบ้านชั่วคราวของสำนักทะเบียน : ทะเบียนบ้านที่ออกโดยสำนักทะเบียน ตามข้อกำหนดของผู้อำนวยการทะเบียนกลาง เพื่อใช้ลงรายการบุคคลที่แจ้งย้ายออกจากทะเบียนบ้าน ทร.14 เพื่อเดินทางไปต่างประเทศ และให้ทุกบ้านมีเลขประจำบ้าน หากบ้านใดยังไม่มีให้เจ้าบ้านแจ้งต่อนายทะเบียนภายใน 15 วัน นับตั้งแต่วันที่สร้างบ้านเสร็จ

เอกสารขอทะเบียนบ้าน

- บัตรประชาชนของผู้ขอทะเบียนบ้าน ทั้งนี้หากเจ้าบ้านไม่สามารถไปทำเรื่องเองได้ ต้องมีสำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านอย่างละ 1 ชุด พร้อมเซ็นสำเนาถูกต้อง แนบไปพร้อมใบมอบอำนาจและลงลายมือชื่อพยานจำนวน 2 คน

- ใบ ท.ร.9 หรือ ใบรับแจ้งเกี่ยวกับบ้าน เอกสารที่ออกโดยหน่วยงานในท้องที่ที่บ้านปลูกสร้างเสร็จตั้งอยู่

- หลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดิน (ถ้ามี) เช่น โฉนดที่ดิน นส.3 ส.ป.ก.4-01 และ ส.ค.1 เป็นต้น ไม่รวม ภ.บ.ท.5 หรือใบภาษีบำรุงท้องที่

- ใบอนุญาตก่อสร้างบ้าน (กรณีปลูกบ้านใหม่) หรือ หนังสือรับรองสิ่งปลูกบ้าน (กรณีสร้างบ้านนานแล้ว) หรือหนังสือสัญญาซื้อขายบ้าน (ถ้ามี) หากไม่มีเอกสารดังกล่าวให้ใช้หนังสือยินยอมจากเจ้าของที่ดินหรือสัญญาเช่าที่ดิน

- รูปถ่ายบ้านที่สร้างแล้วเสร็จทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านหน้า ด้านหลัง ด้านซ้าย และด้านขวา เพื่อตรวจสอบสภาพความเป็นบ้าน (ขึ้นอยู่กับสถานที่แจ้ง ควรสอบถามกับเจ้าหน้าที่ก่อน)

วิธีขอทะเบียนบ้าน

แผนกจ ดซ อ ม ว ธ สอบถามราคาอย างไร

1. ไปยื่นเรื่องที่สำนักทะเบียนที่ปลูกสร้างบ้าน ในกรุงเทพฯ ยื่นเรื่องได้ที่ฝ่ายทะเบียนสำนักงานเขต ต่างจังหวัดยื่นเรื่องไปที่ฝ่ายทะเบียนที่ว่าการอำเภอ

2. นายทะเบียนตรวจสอบหลักฐานต่าง ๆ จากนั้นทำการออกเลขที่บ้านพร้อมกับจัดทำสมุดทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้าน

3. ส่งมอบทะเบียนบ้านให้กับผู้แจ้งเรื่อง

4. ทำเรื่องย้ายบุคคลเข้ามาอยู่ในทะเบียนบ้าน

ทั้งนี้ ในการขอทะเบียนบ้านกรณีทะเบียนบ้านเก่าหายหรือทะเบียนบ้านชำรุด จะต้องเสียค่าธรรมเนียม 20 บาท หรือสอบถามข้อมูลจากสำนักบริหารการทะเบียนกรมการปกครองเพิ่มเติมได้ที่ Call Center 1548

สำหรับทะเบียนบ้านของคอนโดนั้น จะมีชื่อหรือไม่มีชื่อเจ้าบ้านก็ได้ แต่หากมีชื่อเป็นเจ้าบ้านในทะเบียนบ้านนั้นจะมีความสะดวกในการทำธุรกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานราชการมากกว่า อีกทั้งยังมีประโยชน์กับผู้ที่ต้องการขาย เพราะจะได้รับการยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ 3.3% ของราคาประเมิน ให้กับเจ้าของที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านเกิน 1 ปี นั่นเอง

วิธีขอทะเบียนบ้านออนไลน์

เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกให้กับประชาชนทั่วไป ได้มีประกาศให้สามารถแจ้งขอทะเบียนบ้านออนไลน์ หรือ ทะเบียนบ้านดิจิทัล ตามขั้นตอนดังนี้

1. ดาวน์โหลดแอปฯ DOPA ผ่านทาง App Store สำหรับ iOS และ Play Store สำหรับ Android

2. นำบัตรประชาชนไปยื่นเรื่องกับนายทะเบียนด้วยตัวเอง ที่สำนักทะเบียนอำเภอ สำนักทะเบียนท้องถิ่น หรือตามที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด เพื่อยืนยันตัวตนผ่านลายนิ้วมือและใบหน้า และรับรหัสผ่าน (PIN) สำหรับใช้แอปฯ

3. เจ้าหน้าที่ผู้รับลงทะเบียนทำการตรวจสอบหลักฐานและข้อมูล ก่อนเข้าสู่แอปฯ และเลือกใช้บริการตามที่ต้องการ

ซึ่งในขณะนี้เปิดใช้งานแล้ว 3 บริการคือ ตรวจสอบข้อมูลส่วนบุคคลผ่านระบบฐานข้อมูลประชาชนและบริการของรัฐ จองคิวเพื่อขอรับบริการงานทะเบียนล่วงหน้า และแจ้งย้ายที่อยู่ปลายทาง โดยยกเว้นค่าธรรมเนียมจากการใช้บริการผ่านช่องทางดิจิทัล 1 ปี นับตั้งแต่วันที่กฎกระทรวงมีผลบังคับใช้ และจะเพิ่มการให้บริการอื่น ๆ ในลำดับถัดไป เช่น การตรวจคัดและรับรองสำเนารายการทะเบียนราษฎร การแจ้งย้ายเข้า-ย้ายออก การแจ้งเกิด-แจ้งตาย เป็นต้น

ทะเบียนบ้าน ถือเป็นเอกสารสำคัญที่ต้องมีทุกบ้าน หลังการสร้างบ้านเสร็จ อีกทั้งยังใช้เอกสารสำหรับประกอบการพิจารณาเมื่อต้องติดต่อหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชน ฉะนั้นหากใครไม่รู้ว่าจะต้องใช้เอกสารอะไร ไปยื่นเรื่องที่ไหน ก็นำข้อมูลเหล่านี้ไปประกอบการพิจารณา สำหรับเตรียมตัวก่อนทำทะเบียนบ้านกันนะคะ หรือเพื่อความสะดวกยิ่งขึ้นก็มีช่องทางออนไลน์ อย่าง ทะเบียนบ้านดิจิทัล ให้เลือกใช้บริการอีกทางหนึ่งด้วยนะ

Bill กับ Invoice ต่างกันอย่างไร

ใบแจ้งหนี้ (Invoice) กับใบเรียกเก็บเงิน (Bill) จะทำหน้าที่คล้ายกัน คือแจ้งให้ลูกค้าทราบว่าจะต้องชำระเงิน แต่จะแตกต่างกันที่ใบแจ้งหนี้ (Invoice) มักจะใช้กับสินค้าหรือบริการที่ซื้อขายเป็นเงินเชื่อ ในใบก็จะกำหนดเวลาที่ต้องจ่ายเอาไว้ เช่น ใบแจ้งหนี้บัตรเครดิต ส่วนใบเรียกเก็บเงิน (Bill) มักใช้กับสินค้าหรือบริการที่ต้องชำระ ...

Invoice ต้องมีอะไรบ้าง

ข้อมูลที่ invoice ต้องมี.

คำว่าใบแจ้งหนี้.

ชื่อ ที่อยู่ เลขทะเบียนบริษัทผู้ขาย เบอร์ติดต่อ และสำนักงานสาขา.

ชื่อ ที่อยู่ เลขทะเบียนบริษัทผู้ซื้อ และสำนักงานสาขา.

เลขที่เอกสารใบแจ้งหนี้.

วันที่ออกใบแจ้งหนี้.

วันที่ครบกำหนดชำระเงิน.

รายละเอียดของสินค้าและบริการ.

จำนวนเงินค่าสินค้าและบริการ.

เอกสารทางธุรกิจมีอะไรบ้าง

เอกสารที่สำคัญในการดำเนินธุรกิจ.

ใบเสนอราคา (Quotation) ... .

ใบวางบิล (ฺBilling Note) ... .

ใบกำกับภาษี ( Invoice) ... .

ใบเสร็จรับเงิน ( Receipt) ... .

ใบลดหนี้ (Credit Note) ... .

ใบสั่งซื้อ (Purchase order) ... .

หนังสือรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายใบเสร็จรับเงิน (Withholding tax certificate).

ใบแจ้งหนี้ ใช้ตอนไหน

ใช้เมื่อไหร่ : เป็นเอกสารที่เราแจ้งให้ลูกค้าทราบว่ามีจำนวนเงินที่ต้องจ่ายสำหรับค่าสินค้า หรือค่าบริการเป็นจำนวนเท่าใด รวมทั้งอาจนัดวันรับเช็คหรือช่องทางการจ่ายเงินด้วยพร้อมกัน ข้อควรระวัง : ใบวางบิลเป็นเอกสารแจ้งเตือนเท่านั้นนะครับ ไม่สามารถใช้เป็นหลักฐานการจ่ายเงินแทนใบเสร็จรับเงิน หรือใบกำกับภาษีได้ครับ