ต วอย างแผนการจ ดการเร ยนร ม งเน นสมรรถนะ

ตำแหนง ของสไลดบนแทนวางวตั ถุ ฉะนน้ั อุปกรณน ีจ้ ะชวยอำนวยความสะดวกในการเลื่อนสไลดไ ปทางขวา ซาย

หนา และหลังไดในขณะที่ตามองภาพในกลอง ชวยใหหาภาพไดรวดเร็ว และมีสเกลบอกตำแหนงของวัตถุบน

สไลด

9. คอนเดนเซอร (condenser) คอื ชุดของเลนสท ท่ี ำหนาท่รี วมแสงใหมีความเขมมากทสี่ ุด เพื่อสอง

วัตถบุ นสไลดแกวใหสวางทส่ี ดุ มปี ุมปรบั ความสูงตำ่ ของ condenser

10. ไอริสไดอะแฟรม (iris diaphragm) เปนมานปรับรูเปดเพื่อใหแสงผานเขา condenser และ มีปุมสาหรับปรับ iris diaphragm ใหแสงผา นเขา มากนอ ยตามตองการ

11. แหลงกำเนดิ แสง (light source) เปนหลอดไฟฟา ใหแสงสวา งติดอยูที่ฐานกลอง มสี วิทชเปดปด

และมีสเกลปรบั ปริมาณแสงสวาง

การใชกลองจุลทรรศน มขี น้ั ตอนดังตอไปน้ี 1. การจับกลอ งและเคล่ือนยายกลอ ง ตอ งใชม ือหนึง่ จบั ที่แขนและอีกมือหนง่ึ รองท่ีฐานของกลอง

2. ต้งั ลำกลอ งใหตรง

3. เปด ไฟเพือ่ ใหแสงเขาลำกลอ งไดเ ตม็ ท่ี

4. หมนุ เลนสใกลว ตั ถุ ใหเ ลนสท ีม่ กี ำลังขยายตำ่ สุดอยใู นตำแหนงแนวของลำกลอง

5. นำสไลดท ีจ่ ะศกึ ษามาวางบนแทน วางวตั ถุ โดยปรับใหอยูกลางบรเิ วณท่แี สงผา น

6. คอยๆหมุนปุมปรับภาพหยาบใหกลองเลื่อนขึ้นชาๆเพื่อหาระยะภาพ แตตองระวังไมให

เลนสใ กลว ัตถกุ ระทบกับสไลดตวั อยา ง เพราะจะทำใหเลนสแ ตกได

แผนการจดั การเรยี นรมู ุงเนน สมรรถนะ หนว ยที่………7…………

ชือ่ หนวย หนว ยของส่ิงมีชวี ติ และการดำรงชวี ิตของพชื สอนครัง้ ท่.ี …16-17…. ชั่วโมงรวม……8……..

จำนวนชัว่ โมง….8.…

7. ปรับภาพใหชัดเจนขึ้นดวยปุมปรับภาพละเอียด ถาวัตถุที่ศึกษาไมอยูตรงกลางใหเลื่อนสไลด ใหม าอยตู รงกลาง

8. ถาตองการใหภาพขยายใหญขึ้นใหหมุนเลนสใกลวัตถุที่มีกำลังขยายสูงกวาเดิมมาอยูในตำแหนง

แนวของลำกลอง จากนั้นปรับภาพใหชัดเจนดวยปุมปรับภาพละเอียดเทานั้น หามปรับภาพดวยปุมปรับภาพ

หยาบเพราะจะทำใหระยะของภาพ หรอื จดุ โฟกัสของภาพเปล่ียนไป

9. บันทึกกำลังขยายโดยหาไดจากผลคูณของกำลังขยายของเลนสใกลวัตถุกับกำลังขยายของ

เลนสใกลต า

เซลล คือ หนวยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวติ มีสวนประกอบพ้ืนฐานที่สำคัญของสิ่งมีชีวิต เซลลของ ส่ิงมชี วี ติ อาจมรี ปู รา งและสวนประกอบแตกตา งกัน เพื่อความเหมาะสมกับการทำหนาท ่ี

ผูคนพบเซลลเปนคนแรก คือ โรเบิรต ฮูก (Robert Hook) เปนชาวอังกฤษ พบโครงรางที่เปน

รูปเหลี่ยมจากการศึกษาชิ้นไมคอรกและต้ังช่ือวา เซลล ตอมา ชไลเดน (Schleiden) และชวาน (Schwann) ไดต้ังทฤษฎีเซลล (Cell Theory) มีใจความวา “ สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบดวยเซลลและผลิตภัณฑของ

เซลล”

การศึกษาลักษณะและรูปรางของเซลลตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิต พบวา สิ่งมีชีวิตที่มีเซลลเพียง

เซลลเดียว เรียกวา สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว ไดแก อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา สวนสิ่งมีชีวติที่ประกอบขึ้น จากเซลลห ลายเซลล รวมกันเปนรูปรา ง เรียกวา สงิ่ มชี ีวิตหลายเซลล ไดแ ก พชื สตั ว เปน ตน

เซลลของสิ่งมีชีวิตประกอบดวย สวนหอหุม เซลลนิวเคลียส ไซโทพลาซึม เซลลพืชมีสวนที่หอ

หุมเซลล 2 ชั้น คือ ผนังเซลล (cell wall) เยื่อหุมเซลล (cell membrane) และคลอโรพลาสต

(Chloroplast) ที่อยูในไซโทพลาซึม (Cytoplasm) สวนเซลลสัตว ประกอบดวย เยื่อหุมเซลล (cell

membrane) ไซโทพลาซมึ (Cytoplasm) และนิวเคลยี ส (nucleus)

สว นประกอบและหนา ทข่ี องเซลลพ ืช

เซลลพ ชื (Plant cell) มสี ว นประกอบ 3 สวน มหี นาที่ตางๆ ดงั น้ี

1. สวนที่หอหมุ เซลลป ระกอบดวย

1.1 เยอื่ หมุ เซลล (cell membrane) เปน เย่ือบางๆ ประกอบดวยสารประเภทไขมันและ

โปรตนี มี สมบตั เิ ปน เย่ือเลือกผา น (semipermeable membrane) ทำหนาท่ีควบคุมปรมิ าณและชนิดของ

แผนการจัดการเรยี นรมู ุงเนนสมรรถนะ หนว ยที่………7…………

ชื่อหนวย หนวยของสิง่ มชี วี ติ และการดำรงชีวติ ของพืช สอนครงั้ ท.่ี …16-17…. ชว่ั โมงรวม……8…….. จำนวนช่วั โมง….8.…

ของสารทผี่ านเขา ออกจากเซลล เชน อาหารอากาศและสารละลายเกลือแรตาง ๆ 1.2 ผนังเซลล (cell wall) อยูดานนอกสุดของเซลลพบเฉพาะเซลลพืชเทานั้น ทำหนาที่

เสรมิ สราง ความแขง็ แรงของเซลลท ำใหเซลลพชื คงรปู อยไู ด ประกอบดว ย เซลลโู ลส

2. นิวเคลยี ส (nucleus) เปน สว นประกอบทสี่ ำคัญของเซลลมีลกัษณะคอนขางกลมภายในของเหลว มีนิวคลีโอลัสและโครมาทิน ทำหนาที่ควบคุมการทำงานของเซลล และกิจกรรมตางๆ ภายในเซลล เชน การ หายใจ การแบง เซลล การถายทอดลกัษณะทางพนั ธกุ รรม

3. ไซโทพลาซึม (cytoplasm) เปนของเหลวภายในเย่ือหุมเซลล ยกเวน นิวเคลียส มีสวนประกอบ ที่สำคัญ เชน โปรตีน ไขมนั และแกสตาง ๆ ภายในไซโทพลาซึม ประกอบดวย ออรแกเนลลตาง ๆ ซ่ึงมี รูปรางลกัษณะแตกตางกนั ไดแ ก

3.1 ไรโบโซม (ribosome) ทำหนาท่ีเปน แหลง สงั เคราะหโ ปรตนี

3.2 เอนโดพลาสมิก เรตคิ ลู ัม (endoplasmic reticulum) ทำหนาท ่สี รางและขนสง โปรตนี

3.3 กอลจิบอด้ี (Golgi body) ทำหนาทีข่ นสง โปรตนี ออกนอกเซลล

3.4 คลอโรพลาสต (Chloroplast) ประกอบดวยเยื่อหุมเซลล 2 ชั้น ชั้นนอก ทำหนาที่ ควบคุมโมเลกุลตาง ๆ ที่ผานเขาออก ชั้นใน มีคลอโรฟลล (chlorophyll) และเอนไซมชวยในกระบวนการ สงั เคราะหด ว ยแสง

3.5 ไมโทคอนเดรีย (mitochondria) ทำหนาที่สรา งพลังงาน

3.6 แวคิวโอล (vacuole) ลักษณะเปนถุงใส ทำหนาที่ เก็บสะสมของเสียกอนถูก ขับออกนอกเซลล

สวนประกอบและหนาท่ีของเซลลสตั ว เซลลสัตว (Animal cell) มีสวนประกอบ 3 สวน มีหนาทต่ี า ง ๆ ดังน้ี

1. เยื่อหุมเซลล (cell membrane) เปนสวนท่ีอยูนอกสุดของเซลล ประกอบดวย โปรตีนและ ไขมนั

2. มีลักษณะคอนขางกลมอยูครงกลางเซลลเปนศูนยกลางควบคุมกิจกรรมภายในเซลล ภายใน นิวเคลยี สบรรจุดวยสารควบคุมพันธกุ รรม แตมเี ซลลบางชนิดเทา น้ันเมอื่ เจริญเติบโตเต็มทีจ่ ะไมมีนวิ เคลียส เชน เซลลเมด็ เลอื ดแดง

แผนการจดั การเรียนรมู ุงเนน สมรรถนะ หนว ยท…่ี ……7…………

ชอื่ หนว ย หนวยของสิง่ มีชวี ิตและการดำรงชีวิตของพชื สอนคร้ังที.่ …16-17…. ชั่วโมงรวม……8…….. จำนวนชั่วโมง….8.…

3. ไซโทพลาซึม (cytoplasm) เปนของเหลวทอ่ี ยูระหวางเยือ่ หุมเซลลก ับนิวเคลยี ส ประกอบดวย ออรแ กเนลล หลายชนิด ยกเวน คลอโรพลาสต ซง่ึ พบในเซลลพ ืชเทา น้ัน

ในเซลลสัตวไมมีผนังเซลลและคลอโรพลาสต ฉะนั้นเซลลสัตวจึงมีลักษณะที่ออนนุมและไม สามารถสรา งอาหารเองไดน ั่นเอง

ตารางแสดงขอแตกตางระหวางเซลลพืชและเซลลสัตว

รายการ เซลลพืช เซลลส ตั ว

1. ผนังเซลล มี ไมม ี

2.เยื่อหุมเซลล มี มี

3. นวิ เคลียส มี มี

4. ไซโทพลาซึม มี มี

5. คลอโรพลาสต มี ไมม ี

6.รปู รา งของเซลล รูปเหล่ยี ม รูปคอนขาง กลม

7. ความแขง็ แรงของเซลล แข็งแรงคงรูปอยูไ ดน าน ออนนุมไมสามารถคงรปู ได

สิ่งมีชีวติเซลลเดียวมีการดำเนินกิจกรรมในการดำรงชีวิต เชน การกินอาหารการขับถาย การหายใจ การสืบพันธุ และการเคลื่อนที่ สิ่งมีชีวิตหลายเซลลประกอบดวย เซลล (cell) ที่มีการจัดเรียงตัว กันเปน เน้ือเยื่อ (tissue) หลาย ๆ เนือ้ เย่ือ จัดเรียงตวั กันเปน อวยั วะ (organ) หลาย ๆ อวยั วะจัดเรียงตัวกัน เปน ระบบอวัยวะ (organ system) และหลาย ๆ ระบบอวัยวะจัดเรียงตัวกันเปน รางกาย (body) ของ สงิ่ มีชีวิต 5. กระบวนการจดั การเรียนรู (Procedures / Activities)

1. ขน้ั สรา งความสนใจ (Engagement) (15 นาท)ี

แผนการจัดการเรียนรมู งุ เนน สมรรถนะ หนว ยท…่ี ……7…………

ช่ือหนว ย หนวยของสิ่งมีชีวิตและการดำรงชวี ิตของพืช สอนครั้งท.ี่ …16-17…. ช่ัวโมงรวม……8……..

จำนวนช่ัวโมง….8.…

1.1 ครนู ำเขา สบู ทเรยี นโดยใหน ักเรียนดูรูปภาพที่ครูนำมาแสดง ซึ่งเปน ตัวอยางของเซลลส่ิงมีชีวิต เชน พารามีเซียม อะมบี า แลวบอกวา ส่ิงมชี ีวติ ทเี่ หน็ นน้ั คอื สง่ิ มชี ีวติ เภทใด

1.2 ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายจากภาพที่ศึกษาดวยการตอบคำถาม “จากภาพที่เห็น

นา จะเปนส่ิงมชี ีวติ เซลลเ ดยี วหรือหลายเซลล เพราะเหตุใด”

แนวคำตอบ เปนสงิ่ มีชวี ิตเซลลเดียว เพราะประกอบดวยเซลลเ พยี ง 1 เซลล

1.3 ครูนำอภิปรายนักเรียน วาทราบหรือไมวาไมวา คน สัตว พืช จะประกอบดวยเซลลจำนวน

มากมายหลายลา นเซลล แลวนกั เรียนคิดวา เซลลน า จะประกอบไปดวยอะไรบา ง รปู รา งนาตาของเซลล จะมี