ตัวอย่าง หนังสือ ขอ ลด ดอกเบี้ย ธนาคาร

ระบบบริการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์

คัดลอกลิ้งค์เก็บไว้ที่คลิปบอร์ดแล้ว

ตัวอย่าง หนังสือ ขอ ลด ดอกเบี้ย ธนาคาร

บริการนี้จัดทำขึ้นเพื่อ ให้ลูกค้าของธนาคารอาคารสงเคราะห์สามารถใช้บริการเอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ อำนวยความสะดวกในการเข้าถึงเอกสาร ดังนี้ 1. ใบเสร็จชำระหนี้เงินกู้ 2. หนังสือแจ้งเปลี่ยนแปลงเงินงวดใหม่ที่ต้องผ่อนชำระ 3. หนังสือแจ้งผลการขอลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ 4. หนังสือปรับอัตราดอกเบี้ยและเงินงวดเพิ่ม 5. หนังสือข้อมูลเครดิต 6. หนังสือรับรองดอกเบี้ยเงินกู้ 7. แจ้งการใช้สิทธิการส่งข้อมูลสรรพากร

กระทู้คำถาม

สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย

อยากทราบแนวทาง หรือตัวอย่างในการเขียนขอลดดอกเบี้ยค่ะ เนื่องจากติดต่อธนาคารไป ธนาคารพิจารณาเบื้องต้นให้แล้ว แต่ต้องการหนังสือขอลดดอกเบี้ยจากผู้กู้ค่ะ

ขอบคุณมากค่ะ

ตัวอย่าง หนังสือ ขอ ลด ดอกเบี้ย ธนาคาร

0

0

ตัวอย่าง หนังสือ ขอ ลด ดอกเบี้ย ธนาคาร

Keep Discovering

ตัวอย่าง หนังสือ ขอ ลด ดอกเบี้ย ธนาคาร

▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼

แสดงความคิดเห็น

คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

หมาต่างดาว

สมาชิกหมายเลข 7528957

ขงหมิง

CondoNewb

สมาชิกหมายเลข 7896929

สมาชิกหมายเลข 4124852

สมาชิกหมายเลข 3185627

bizuss

DDproperty

สมาชิกหมายเลข 5296615

อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย

คนที่กำลังผ่อนบ้านหรือคอนโดมาเกิน 3 ปีแล้ว คงเริ่มรู้สึกว่าดอกเบี้ยลอยตัวที่แพงขึ้นนั้นทำให้ค่างวดแต่ละเดือนที่จ่ายไปแทบจะโดนแต่ดอกเบี้ย ไม่ตัดเงินต้นเลย หลายคนจึงมองหาวิธีการทำให้ดอกเบี้ยสินเชื่อที่อยู่อาศัยถูกลง และสองวิธีที่คนนิยมทำกันในปัจจุบันก็คือ การขอลดดอกเบี้ยกับธนาคารเดิม (Retention) และการรีไฟแนนซ์​ (Refinance) ซึ่งถ้าเลือกได้ ทุกคนก็คงอยากจะเดินไปขอลดดอกเบี้ยกับธนาคารเดิมให้มันจบๆไป เพราะจะได้ไม่ต้องเสียเวลาติดต่อธนาคารใหม่ และเตรียมเอกสารยื่นรีไฟแนนซ์ แต่เราเคยสงสัยหรือไม่ว่าทำไมคนยังนิยมไปรีไฟแนนซ์บ้าน/รีไฟแนนซ์คอนโดมากกว่าอยู่ดี

ทำไมขอดอกเบี้ยธนาคารเดิม ส่วนใหญ่ได้ลดนิดเดียว

“ทำไมธนาคารเดียวกัน ให้ดอกเบี้ยรีไฟแนนซ์ลูกค้าใหม่ 3.0% แต่ลูกค้าเดิมที่ขอลดดอกเบี้ยกลับลดได้แค่ 5.5%”

ถ้าเราไปคุยกับคนที่เคยขอให้ธนาคารเดิมเพื่อขอลดดอกเบี้ย จะพบว่าส่วนใหญ่ได้ลดดอกเบี้ยลงมานิดหน่อย (กรณีของลูกค้าท่านหนึ่ง ลดจาก ประมาณ 6.5% เหลือ 5.5% โดยธนาคารแจ้งว่าถึงแม้จะรีไฟแนนซ์ไปก็ต้องมีค่าจดจำนองใหม่ ไม่คุ้มอยู่ดี) หลายคนสอบถามเข้ามาว่า ค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการรีไฟแนนซ์คุ้มค่ากับการรีไฟแนนซ์หรือไม่ ซึ่งผมได้เคยเขียนบทวิเคราะห์โดยละเอียดให้แล้วว่า ค่าใช้จ่ายในการรีไฟแนนซ์นั้นคุ้มกับดอกเบี้ยที่ลดลงไปมากๆ เพราะดอกเบี้ยที่ต่างกันแค่ 1-2% คำนวณกลับมาเป็นดอกเบี้ยแล้วต่างกันหลายแสนบาทเลยนะครับ (อ่านเพิ่มเติมได้ที่ ค่าใช้จ่ายในการ Refinance คุ้มกับดอกเบี้ยที่ลดไหม)

รีไฟแนนซ์ธนาคารไหนมีค่าใช้จ่ายอะไรบ้าง และเลือกธนาคารไหนดี

ถ้าให้ตอบทันทีเลยก็คงไม่ได้ เพราะเงื่อนไขการรีไฟแนนซ์ขึ้นอยู่กับวงเงินกู้และเงื่อนไขอื่นๆของแต่ละคน ซึ่งผมก็ขอเชิญชวนให้เข้าไปดูที่ www.refinn.com/รีไฟแนนซ์บ้าน ที่รวบรวมโปรโมชั่นรีไฟแนนซ์บ้าน/รีไฟแนนซ์คอนโดจาก 15 ธนาคารชั้นนำมาไว้ และอย่าลืมกดดูรายละเอียดของแต่ละโปรโมชั่น เค้ามีเขียนค่าใช้จ่ายต่างๆในการรีไฟแนนซ์ไว้ด้วย (เมื่อก่อนผมก็คงต้องแนะนำให้โทรไปสอบถาม Call Center แต่ละธนาคารแล้วเอามาเทียบกันเอา เดี๋ยวนี้สะดวกขึ้นเยอะ)

ตัวอย่าง หนังสือ ขอ ลด ดอกเบี้ย ธนาคาร

พนักงานทำการกู้สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยของธนาคารอาคารสงเคราะห์โดยไม่ได้ใช้สิทธิสวัสดิการของ สสวท. เมื่อพนักงานได้ทำการกู้กับธนาคารอาคารสงเคราะห์และทำการผ่อนชำระครบ 3 ปีแล้ว (ขึ้นอยู่กับโปรโมชั่นที่ทำการกู้) ธนาคารจะมีการปรับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เป็นอัตราปกติของธนาคาร คลิก ทำให้พนักงานต้องชำระดอกเบี้ยให้อัตราที่สูงขึ้น ดังนั้นการขอลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่พนักงานสามารถยื่นขอลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้กับธนาคารได้โดยการย้ายเข้ามาใช้สวัสดิการของ สสวท. โดยมีรายละเอียดดังนี้

ตัวอย่าง หนังสือ ขอ ลด ดอกเบี้ย ธนาคาร
เอกสารประกอบการขอลดอัตราดอกเบี้ย

  1. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
  2. สำเนาทะเบียนบ้าน
  3. สลิปเงินเดือนย้อนหลัง 3 เดือน
  4. Statement ย้อนหลัง 6 เดือน (ปั๊มโลโก้ธนาคาร และมีลายเซ็นพนักงานกำกับ)
  5. หนังสือผ่านสิทธิสวัสดิการ
  6. สำเนาใบเปลี่ยน ชื่อ – สกุล (ถ้ามี)
  7. สำเนาทะเบียนสมรส, บัตรประชาชนคู่สมรส, ทะเบียนบ้านคู่สมรส (ถ้ามี)
  8. สำเนาทำเบียนหย่า, ใบแจ้งความแยกทาง, ใบมรณะบัตร (ถ้ามี)
  9. หนังสือสัญญาเงินกู้เดิม พร้อมสำเนา 1 ชุด
  10. หนังสือสัญญาจด

ตัวอย่าง หนังสือ ขอ ลด ดอกเบี้ย ธนาคาร
ขั้นตอนการขอลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้โดยการย้ายเข้ามาใช้สวัสดิการเงินกู้ของ สสวท. ที่ทำร่วมกับธนาคารอาคารสงเคราะห์มีขั้นตอน ดังนี้

  1. ตรวจสอบสัญญาเงินกู้ว่าชำระครบ 3 ปี แล้วหรือไม่ ถ้ายังไม่ครบจะยังไม่สามารถยื่นขอลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ได้ (ดำเนินการก่อนครบสัญญาจะเสียค่าดอกเบี้ย)
  2. ต้องดำเนินการหลังจากครบการชำระหนี้ 3 ปี แล้วเท่านั้น
  3. นำเอกสารประกอบการขอลดอัตราดอกเบี้ย (ตามเอกสารด้านบน) ไปยื่นที่ธนาคารอาคารสงเคราะห์
  4. ธนาคารตรวจสอบเอกสาร และจะโทรศัพท์มาแจ้งยืนยัน และดำเนินโทรศัพท์มาแจ้งให้เข้าไปดำเนินการเซ็นสัญญาเงินกู้ฉบับใหม่ที่ใช้สิทธิสวัสดิการ โดยจะได้อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เท่ากับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากประเภท 12 เดือน บวก 1.50
  5. ธนาคารใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานประมาณ 1 – 2 เดือน

ติดต่อขอรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่

ตัวอย่าง หนังสือ ขอ ลด ดอกเบี้ย ธนาคาร
ฝ่ายสนับสนุนสินเชื่อ ส่วนสนับสนุนสินเชื่อสวัสดิการและเช่าซื้อ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ สำนักงานใหญ่ เลขที่ 63 ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 โทรศัพท์ 0-26459000

ตัวอย่าง หนังสือ ขอ ลด ดอกเบี้ย ธนาคาร
ฝ่ายทรัพยากรบุคคลและพัฒนาองค์กร คุณฐิตาภา ขำเลิศ โทร. 02-3924021 ต่อ 1220

ปรับลดดอกเบี้ยใช้เอกสารอะไรบ้าง

การรีเทนชั่นบ้านทำอย่างไร.

เตรียมเอกสารสำคัญบางรายการ ได้แก่ สัญญาเงินกู้ ทะเบียนบ้าน และสำเนาบัตรประชาชน.

เข้าไปทำเรื่องเจรจาต่อรองขอลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ กับธนาคารหรือสถาบันการเงินที่ได้ทำการผ่อนชำระค่าบ้านอยู่.

รอผลการพิจารณาอนุมัติ ซึ่งมักจะไม่นาน.

อาจจะต้องเสียค่าธรรมเนียมเล็กน้อย ประมาณ 1-2% ของวงเงินกู้.

จะไปขอลดดอกเบี้ยบ้านต้องทำยังไงบ้าง

ขั้นตอนในการขอลดดอกเบี้ยบ้าน จริงๆ แล้ว สามารถทำได้ง่ายๆ เพียงติดต่อทำเรื่องกับธนาคารเดิมโดยดูก่อนว่า ประวัติการชำระหนี้ของเราใกล้ครบ 3 ปี แล้วหรือยัง โดยธนาคารส่วนใหญ่จะอนุมัติการขอลดดอกเบี้ยให้เฉพาะลูกหนี้ชั้นดีเท่านั้น คือ ลูกหนี้ที่ชำระหนี้ตรงเวลา ไม่ผิดนัด อย่างน้อย 24 เดือน และต้องไม่อยู่ในระหว่างประนอมหนี้

ปรับลดดอกเบี้ย ธอส ใช้เอกสารอะไรบ้าง

การขอลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้กับธนาคาร ธอส..

สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน.

สำเนาทะเบียนบ้าน.

สลิปเงินเดือนย้อนหลัง 3 เดือน.

Statement ย้อนหลัง 6 เดือน (ปั๊มโลโก้ธนาคาร และมีลายเซ็นพนักงานกำกับ).

หนังสือผ่านสิทธิสวัสดิการ.

สำเนาใบเปลี่ยน ชื่อ – สกุล (ถ้ามี).

สำเนาทะเบียนสมรส, บัตรประชาชนคู่สมรส, ทะเบียนบ้านคู่สมรส (ถ้ามี).

ขอลดดอกเบี้ยบ้าน ธอส ได้กี่ปี

ลูกค้ารายย่อยสามารถขอลดอัตราดอกเบี้ยในการผ่อนชำระได้ หลังจากผ่อนชำระครบกำหนดระยะเวลา 3 ปี โดยต้องมีประวัติการผ่อนชำระสม่ำเสมออย่างน้อย 24 เดือน และไม่อยู่ระหว่างประนอมหนี้