ตัวอย่าง บันทึก หลัง การ สอน วิชา วิทยาศาสตร์

  • กลุ่มไลน์ข่าวการศึกษา

    กลุ่มไลน์ข่าวการศึกษา

วันที่ 10 พฤษภาคม 2566 ขอนำเสนอ แบ่งปัน ตัวอย่าง แผนการจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้อง 8 ตัวชี้วัด บันทึกหลังสอน ที่สอดคล้อง 8 ตัวชี้วัด ด้านที่ 1 ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน โดย ครูเจ นายนจรส ศิริขรรแสง รร.วัดปรังกาสี เจ้าของเพจ Teacher Jay คุณครูที่สนใจสามารถเข้าดาวน์โหลดเอกสารได้ฟรี จากลิ้งก์ที่แนบมาในบทความได้เลยนะคะ

ตัวอย่าง บันทึก หลัง การ สอน วิชา วิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง บันทึก หลัง การ สอน วิชา วิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง บันทึก หลัง การ สอน วิชา วิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง บันทึก หลัง การ สอน วิชา วิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง บันทึก หลัง การ สอน วิชา วิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง บันทึก หลัง การ สอน วิชา วิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง บันทึก หลัง การ สอน วิชา วิทยาศาสตร์
ตัวอย่าง บันทึก หลัง การ สอน วิชา วิทยาศาสตร์

ดาวน์โหลด ตัวอย่าง แผนการจัดการเรียนรู้ ที่สอดคล้อง 8 ตัวชี้วัด บันทึกหลังสอน

ดาวน์โหลดไฟล์ที่นี่

ขอบคุณที่มา Teacher Jay

(ว 33224) ช้ันมัธยมศึกษาช้ันปีที่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้ จัดทาข้ึนตามกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น

สาคัญ ซ่ึงประกอบไปดว้ ยรายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี

หวั เร่ือง เทคนิคการเรียนรู้ เวลา(นาที)

1. เลขออกซเิ ดชัน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

2. ปฏกิ ิรยิ ารีดอกซ์ กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด 110 กระบวนการวเิ คราะห์ข้อมลู

กระบวนการจดั การเรียนการสอนแบบ 5Es

3. การดุลสมการรีดอกซ์ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด 220 กระบวนการวิเคราะห์ข้อมลู

กระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ 5Es

รวม 5 ช่วั โมง 30 นาที

วิชาเคมีเพมิ่ เติม 4 สาระเคมี มาตรฐาน 2 เขา้ ใจการเขียนและการดลุ สมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลในปฏิกิริยา สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์และเซลล์เคมีไฟฟ้า รวมท้ังการนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ 24. คานวณเลขออกซิเดชันและระบปุ ฏกิ ริ ิยาที่เปน็ ปฏิกริ ิยารีดอกซ์ 25. วิเคราะหก์ ารเปล่ยี นแปลงเลขออกซไิ ดส์ รวมท้งั เขยี นครึ่งปฏิกริ ยิ าออกซเิ ดชันและครงึ่ ปฏิกิริยารีดักชันของ ปฏกิ ริ ิยารดี อกซ์ 27. ดุลสมการรีดอกซด์ ้วยการใชเ้ ลขออกซเิ ดชัน และวิธีคร่งึ ปฏิกริ ยิ า

สาระสาคัญ เลขออกซิเดชัน (Oxidation number) คือประจุไฟฟ้าจริงหรือประจุไฟฟ้าท่ีควรจะมีของธาตุใน

สารประกอบ โดยเกิดจากอะตอมนาเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาสร้างพันธะร่วมกัน ซ่ึงเลขออกซิเดชันของธาตุท่ีเกิด การเปลยี่ นในทิศทางเพ่มิ ข้ึนหรือลดลงในสมการเคมี โดยเราจะเรยี กปฏิกิริยาท่ีสารให้อิเล็กตรอนแล้วทาให้เกิด เลขออกซิเดชันของสารเพิ่มข้ึนว่า ปฏิกิริยาออกซิเดชัน โดยเรียกสารที่ให้อิเล็กตรอนว่า ตัวรีดิกซ์ และเรียก ปฏิกิริยาท่ีสารรับอิเล็กตรอนแล้วทาให้เลขออกซิเดชันของสารลดลงว่า ปฏิกิริยารีดักชัน โดยเรียกสารท่ีรับ อิเล็กตรอนว่า ตัวออกซิไดส์ เมื่อรวมปฏิกิริยาออกซิเดชันและปฏิกิริยารีดักชันเข้าด้วยกันว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ ซ่งึ ปฏิกริ ยิ ารดี อกซ์จะตอ้ งทาการดุลสารให้สัมประสิทธ์ิหน้าโมล และ ประจุของธาตุในสมการรีดอกซ์ให้เท่ากัน ท้ังฝ่ังของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์ โดยการดุลสมการรีดอกซ์มีหลายวิธี เช่น ดุลโดยใช้เลขออกซิเดชัน ดุลโดย การใชค้ รงึ่ ปฏิกริ ยิ า ดุลในกรดและเบส เปน็ ตน้

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ด้านความรู้

1. อธิบายความหมายของเลขออกซเิ ดชันและสามารถหาเลขออกซเิ ดชันของสารได้ 2. วิเคราะห์เลขออกซิเดชันของสารในปฏิกิริยา เพื่อระบุปฏิกิริยารีดอกซ์และปฏิกิริยาที่ไม่ใช่ รีดอกซ์ได้ 3. อธิบายความหมายของปฏิกิริยารีดอกซ์ ตัวออกซิไดส์ ตัวรีดิวซ์ และระบุตัวออกซิไดส์ ตัวรีดิวซ์ ในปฏกิ ริ ยิ าได้ 4. สามารถดลุ สมการรดี อกซ์โดยใช้เลขออกซเิ ดชันและปฏิกิรยิ าครึ่งเซลล์ได้

ด้านทกั ษะและกระบวนการ นาเสนองานจากกระบวนการระดมสมองจากโจทยเ์ สริมประสบการณ์

ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มงุ่ มั่นในการทางาน 4. มจี ิตสาธารณะ 5. มีจิตวิทยาศาสตร์

ด้านสมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

การวดั และประเมินผล การวดั และการประเมนิ ผล ผลการเรียนรู้ วธิ กี าร วธิ ีการวัด เคร่อื งมือ เกณฑ์การผา่ น ประเมนิ 24. คานวณเลขออกซเิ ดชนั ดา้ นความรู้ (K) คะแนนร้อยละ 70 ขึ้น และระบุปฏิกิริยาทีเ่ ป็น -ใบงาน เรื่อง การ -ตรวจใบงาน -ใบงาน ไปถือวา่ ผ่าน

ปฏิกิริยารีดอกซ์ หาเลขออกซิเดชัน -แบบประเมิน คะแนนร้อยละ 70 ขน้ึ -แบบประเมนิ ไปถือวา่ ผ่าน 25.วเิ คราะห์การ -ใบงาน เรื่อง การ ได้ระดับคณุ ภาพ 2 ขน้ึ -แบบประเมิน ไปถือวา่ ผ่าน เปลีย่ นแปลงเลขออกซิไดส์ เ ข ีย น ป ฏ ิก ิร ิย า ไดร้ ะดับคณุ ภาพ 2ขึน้ รวมทัง้ เขยี นครง่ึ ปฏิกิริยา ออกซิเดชัน รีดักชัน ไปถือวา่ ผ่าน

ออกซเิ ดชันและครงึ่ จากสมการรีดอกซ์

ปฏกิ ิริยารีดักชันของ -ใบงาน เรื่อง การ

ปฏกิ ิรยิ ารีดอกซ์ ดุลสมการรีดอกซ์

27. ดุลสมการรีดอกซ์ด้วย ดา้ นทกั ษะ

การใช้เลขออกซิเดชัน และ กระบวนการ (P)

วธิ ีครึ่งปฏกิ ิรยิ า นาเสนองานจาก -สงั เกตการ

กระบวนการระดม นาเสนอ

สมองจากโจทย์เสริม

ประสบการณ์

ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั -สงั เกตการรว่ ม

พึงประสงค์ (A) กิจกรรมในชั้น

1. มวี ินยั เรียน

2. ใฝ่เรียนรู้

3. มงุ่ มั่นในการ

ทางาน

4. มีจิตสาธารณะ

5. มจี ิตวิทยาศาสตร์

ด้านสมรรถนะสาคัญ

ของผู้เรียน (C)

1.ความสามารถใน -สงั เกตการรว่ ม

การส่อื สาร กจิ กรรมในชนั้

2.ความสามารถใน เรยี น

การคดิ

แบบประเมนิ ท่ี 1 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผูเ้ รียน ระดับคุณภาพคณุ ลกั ษณะฯที่ได้

สรปุ

เลขท่ีช่ือ-สกลุ ีม ิวนัย ใฝ่เรียนรู้ ุ่มง ่ัมนในการทางาน ิม ิจตสาธารณะ ีม ิจตวิทยาศาสตร์

รวม ่ผาน ไ ่ม ่ผาน

1 นางสาวชญานศิ เจ้ือจิ๋ว 4 4 4 4 3 19 ผา่ น

2 นางสาวชนาพร ไทยใหม่ 4 4 4 4 3 19 ผา่ น

3 นางสาวธัญชนก ติบ๊ แสน 4 3 3 3 2 15 ผ่าน

4 นางสาวปวีณา อดุ แบน 4 4 4 4 3 19 ผ่าน

5 นางสาวปองขวัญ ยันระหา 4 4 4 4 3 19 ผา่ น

6 นางสาวนภัส ตาธิกา 4 4 4 4 2 18 ผา่ น

7 นางสาวศิรนิ ทิพย์ เพ็ชรนิล 4 3 3 3 2 15 ผ่าน

8 นางสาวกมลศริ ิ สุปินะวงค์ 4 3 3 3 2 15 ผา่ น

9 นางสาวไพลิน เทศอ่อน 4 3 3 3 2 15 ผ่าน

10 นางสาวภัทรภร นอ้ ยเช่ือม 4 3 4 3 2 16 ผ่าน

11 นางสาววรรณนรินทร์ คงธนทั กาญจน์ 4 3 3 3 2 15 ผ่าน

12 นางสาวสธุ ิศา ปวนกันทา 4 4 4 4 2 18 ผ่าน

13 นางสาวสุมินตรา กองสขุ 4 3 4 4 4 19 ผ่าน

คุณลกั ษณะด้าน ตงั บง่ ช/ี้ พฤติกรรม เกณฑก์ ารประเมนิ

1.มีวนิ ัย 1. แตง่ กายให้ถูกระเบยี บ 4 หมายถึง แสดงพฤตกิ รรมได้ 4 – 5 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. เคารพกฎจราจร ตัวบ่งชี้ 3. สง่ งานตามที่กาหนด 3 หมายถึง แสดงพฤตกิ รรมได้ 3 ตัวบง่ ชี้ 3. มงุ่ มัน่ ในการ 4. เข้าร่วมกิจกรรมตามเวลา 2 หมายถึง แสดงพฤตกิ รรมได้ 2 ตัวบง่ ชี้ ทางาน 5. ไม่หยิบของ ของผู้อน่ื โดยไม่ขออนุญาต 1 หมายถงึ แสดงพฤติกรรมได้ 1 ตวั บง่ ช้ี 4. มีจติ สาธารณะ 1. เข้าเรยี นตรงเวลา 2. ทางานถกู ต้องส่งงานครบ ระดบั คณุ ภาพ 5.มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ 3. ทางานท่ไี ด้รบั มอบหมายสาเร็จครบถว้ นถูกตอ้ ง 4. เข้าร่วมทศั นศึกษา คะแนน ระดับคณุ ภาพ 5. เขา้ รว่ ม / รว่ มจดั / นทิ รรศการใน / นอก โรงเรยี น น้อยกว่า 12 1 1. ทางานตามที่ไดร้ บั มอบหมายสาเร็จและถูกต้อง 2. ตดิ ตามผลการทางานของตนเอง 12-13 2 3. รบั ผิดชอบงานท่ีได้รบั มอบหมาย 4. มกี ารปรับปรงุ ผลงานของตนเอง 14-15 3 5. มกี ารพัฒนางานของตนเอง 1. เต็มใจชว่ ยพ่อ แม่ ผูป้ กครอง และ ครูทางาน 16 คะแนนข้นึ ไป 4 2. อาสาทางาน ชว่ ยคดิ ช่วยทาด้วยความสมคั ร ใจ เกณฑก์ ารผา่ น ผา่ นระดับพอใช้ 3. เป็นที่ปรึกษาและแนะนาแนวทางที่ดใี ห้กับผู้อืน่ 4. บริจาคทรัพยส์ ิน / สิงของเพอ่ื ช่วยเหลอื ผ้อู นื่ ระดบั คณุ ภาพ 5. เขา้ รว่ มกิจกรรมเพ่ือแก้ปัญหา หรือสรา้ ง 1 = ปรบั ปรุง ความสขุ เพื่อผู้อนื่ เช่น รณรงค์ต่อต้านยาเสพเปน็ 2 = พอใช้ ตน้ 3 = ดี 1. มกี ารแบ่งหน้าที่กนั ในการปฏบิ ตั งิ าน กลมุ่ และ 4 = ดีมาก ทางานอย่างเป็นระบบ 2. มคี วามต้ังใจทางานและการปฏิบัตกิ จิ กรรม 3. กลา้ แสดงความคิดเหน็ 4. กลา้ ยอมรับความคดิ เหน็ ของคนอ่นื 5. เก็บทาความสะอาดห้องและอปุ กรณ์ทาง วิทยาศาสตร์

แบบประเมนิ ท่ี 2 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน สรุป ระดับคุณภาพ

สมรรถนะ

สาคญั ของผเู้ รียน

เลขที่ ช่ือ-สกลุ ด้านการ ื่สอสาร ด้านการคิด ้ดานการใ ้ชเทคโนโล ีย

รวม ผ่าน ไ ่ม ่ผาน

1 นางสาวชญานศิ เจอ้ื จว๋ิ 33 4 10 ผา่ น 2 นางสาวชนาพร ไทยใหม่ 33 4 10 ผ่าน 3 นางสาวธัญชนก ตบ๊ิ แสน 22 4 8 ผา่ น 4 นางสาวปวณี า อดุ แบน 33 4 10 ผา่ น 5 นางสาวปองขวญั ยนั ระหา 33 4 10 ผา่ น 6 นางสาวนภสั ตาธกิ า 33 4 10 ผา่ น 7 นางสาวศิรนิ ทิพย์ เพช็ รนลิ 22 4 8 ผ่าน 8 นางสาวกมลศิริ สปุ ินะวงค์ 22 4 8 ผ่าน 9 นางสาวไพลนิ เทศอ่อน 22 4 8 ผา่ น 10 นางสาวภทั รภร น้อยเช่ือม 22 4 8 ผา่ น 11 นางสาววรรณนรนิ ทร์ คงธนัทกาญจน์ 22 4 8 ผา่ น 12 นางสาวสธุ ศิ า ปวนกนั ทา 32 4 9 ผ่าน 13 นางสาวสุมนิ ตรา กองสขุ 22 4 8 ผ่าน

สมรรถนะดา้ น ตังบ่งชี้ / พฤตกิ รรม เกณฑ์การประเมนิ

1.ความสามารถ 1. มคี วามสามารถในการรบั -ส่งสาร 4 หมายถึง แสดงพฤติกรรมได้ ในการส่ือสาร 2. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ความ 4 – 5 ตวั บง่ ช้ี 2.ความสามารถ ในการคดิ เข้าใจของตนเอง โดยใชภ้ าษาอย่างเหมาะสม 3 หมายถึง แสดงพฤตกิ รรมได้

3.ความสามารถ 3. ใช้วิธีการส่อื สารทเี่ หมาะสม มีประสทิ ธิภาพ 3 ตวั บง่ ชี้ ในการใช้ เทคโนโลยี 4. เจรจาต่อรองเพอื่ ขจัดและลดปญั หาความขัดแย้ง 2 หมายถงึ แสดงพฤติกรรมได้

ตา่ ง ๆ ได้ 2 ตวั บง่ ชี้

5. เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารดว้ ยเหตุผลและ 1 หมายถงึ แสดงพฤตกิ รรมได้

ถูกต้อง 1 ตัวบง่ ชี้

1. มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ 2. มีทักษะในการคดิ นอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ คะแนน 1 3. สามารถคิดอย่างมวี ิจารณญาณ น้อยกวา่ 10 2 4. มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 10-11 3 5. ตัดสินใจแกป้ ัญหาเก่ยี วกับตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 12-13 4 14-15 1. เลือกและใชเ้ ทคโนโลยไี ด้เหมาะสมตามวัย

2. มที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี ระดบั คณุ ภาพ 3. สามารถนาเทคโนโลยีไปใช้พัฒนาตนเอง 1 = ปรบั ปรุง 4. ใช้เทคโนโลยใี นการแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ 2 = พอใช้ 5. มคี ณุ ธรรม จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยี 3 = ดี

4 = ดีมาก

บนั ทึกผลหลงั การจดั การเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 ความรูพ้ ้ืนฐานสาหรบั ไฟฟา้ เคมี ผลการจัดการเรียนรู้

1. ดา้ นความรู้

จากผลการปฏิบตั หิ น้าท่ีของนักเรยี นในการทาใบงานทบทวนความรู้ตามท่ีได้รบั มอบหมายใบงาน

เร่ือง การหาเลขออกซิเดชนั , การเขยี นปฏกิ ิริยาออกซิเดชนั รีดกั ชนั จากสมการรดี อกซ์, การดลุ

สมการรีดอกซ์ มีผู้เรยี นบางส่วนท่อี าศัยความรเู้ ดมิ ในเร่อื งออกซิเดชันในการประยกุ ต์ในการเรยี น

เนอื้ หาใหม่ได้ดีทาใหเ้ รียนรู้ได้ไว และ หาคาตอบในใบงานได้ถกู ต้องสง่ ตรงตามเวลา และพบ

ปัญหาสาหรับนักเรยี นกล่มุ อ่อนทตี่ ้องอาศยั ครใู นการทบทวนความรเู้ ดมิ ขยายความรเู้ พิม่ เติมใน

โจทย์แต่ละข้อ และ ต้องใชร้ ะยะเวลานอกคาบเรียนในการอธบิ ายเพิม่ เตมิ ในโจทย์

นักเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมิน จานวน 9 คน คดิ เป็นร้อยละ 69

นกั เรียนไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน จานวน 4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 31

2. ดา้ นทักษะกระบวนการ นกั เรยี นสามารถนาเสนองานจากกระบวนการระดมสมองจากโจทย์เสริมประสบการณ์ที่ครูไดร้ ับ มอบหมายโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั ดี ทง้ั น้ีนักเรียนยังขาดความม่ันใจในตวั เองในการถา่ ยทอด

เน้อื หา ตอ้ งอาศัยการกระตุ้นและการแนะนาจากครู โดยการยกตวั อยา่ งกลุ่มทน่ี าเสนอออกมาใน ภาพรวมไดด้ ี

นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมิน จานวน 13 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100

นกั เรียนไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ จานวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0

3. ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการประเมินตามแบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนในด้านคุณลักษณะ

อนั พึงประสงค์ ในด้านมีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มจี ติ สาธารณะ และด้าน มจี ิตวิทยาศาสตร์ ผลการประเมนิ ดังนี้

ระดบั คุณภาพดีข้ึนไป จานวน 13 คน คดิ เป็นร้อยละ 100

ระดบั คุณภาพพอใช้ จานวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0

ระดับคุณภาพปรับปรุง จานวน 0 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0

ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ จานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 100

4. ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน ผลการประเมินตามแบบสังเกตพฤตกิ รรมผเู้ รยี นในการจัดการเรียนการสอนในด้านสมรรถนะ สาคัญของผ้เู รียนไดแ้ ก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในดา้ นความคดิ และ

ความสามารถในดา้ นการใช้เทคโนโลยี ผลการประเมนิ ดังนี้

ระดับคุณภาพดีขึ้นไป จานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ระดบั คุณภาพพอใช้ จานวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0 ระดับคุณภาพปรบั ปรงุ จานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0

ผ่านเกณฑ์การประเมิน จานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 100

บนั ทึกผลการสอน

ผลการเรยี นร้ขู องนกั เรยี นโดยภาพรวม จากผลการเรียนรู้ของผู้เรียนสามารถจาแนกผู้เรียนออกเป็น 2 กลุ่ม คือ นักเรียนกลุ่มท่ีมีความรู้พ้ืนฐานเดิม เก่ียวกับเลขออกซิเดชันท่ีเคยได้เรียนมาในตอน ม.4 จะสามารถเรียนรู้ได้ไว เชื่อมโยงเน้ือหาใหม่ได้ และ ใช้ ความร้เู ดิมนัน้ มาประยกุ ต์ใช้ในการเรียนการสอนในเนื้อหาท่ีได้เป็นอย่างดี คิดเป็นร้อยละ69 สาหรับกลุ่มท่ียัง อ่อนในเน้ือหาเดิมหรือพ้ืนฐานเดิมท่ีมีน้อยต้องอาศัยการอธิบายเพิ่มเติมและสอนเสริมนอกเวลา ต้องอาศัย ระยะเวลาในการเข้าใจและเรยี นรู้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 31 ผลการสงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนโดยภาพรวม

ผู้เรียนมคี วามเอาใจใสใ่ นการเรียนดีในภาพรวมแต่นักเรยี นบางกลุม่ ยงั ขาดปฏิสัมพนั ธ์กบั ครผู สู้ อน ขาดความ กล้าในการสอบถาม ครูต้องอาศยั การเอาใจใส่เป็นกรณีพิเศษ

ผลการปฏบิ ตั ิงานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย (ใบงาน/กจิ กรรม/ชิน้ งาน/การนาเสนอผลงาน) ด้านการปฏิบัติงานท่ีได้รับมอบหมายนักเรียนภาพรวมส่งงานได้ตรงตามระยะเวลากาหนด สาหรับนักเรียนท่ี ต้องใช้เวลาในการทา ต้องอาศัยหลักการเพื่อนช่วยเพ่ือน และครูก็ต้องอธิบายเพ่ิมเติมนอกเวลาเรียน ในด้าน การนาเสนองาน นักเรียนขาดความมั่นใจในการนาเสนอ ต้องอาศยั การเสนอแนะแนวทางในการนาไปปรับปรุง แกไ้ ขในการนาเสนองานคร้ังต่อไป ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคโ์ ดยภาพรวม ผลการประเมินตามแบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรยี นในการจดั การเรยี นการสอนในด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในดา้ นมวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ ม่งุ มั่นในการทางาน มีจติ สาธารณะ และดา้ น มีจติ วิทยาศาสตร์ ในภาพรวมผ่าน เกณฑ์ประเมินอยู่ในระดับดีขึ้นไป คิดเปน็ ร้อยละ 100 ผลการประเมินสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียนโดยภาพรวม ผลการประเมินตามแบบสังเกตพฤติกรรมผเู้ รยี นในการจัดการเรยี นการสอนในด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ไดแ้ ก่ ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในด้านความคิด และ ความสามารถในดา้ นการใช้เทคโนโลยี ผลการประเมนิ ดังน้ี ในภาพรวมผ่านเกณฑ์ประเมินอยู่ในระดบั ดีขน้ึ ไป คดิ เป็นร้อยละ 100 ปัญหาและอุปสรรค ในสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของไวรสั Covid-19 ทาใหเ้ วลาในการจัดการเรยี นการสอนในบางชัว่ โมงติดขดั สืบเนือ่ งจาก การมาเรียนและการหยดุ เรยี นของผเู้ รียนไม่สามารถกาหนดได้ชดั เจนข้นึ อยู่กับสถานการณ์ ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข มกี ารสอนเสริมเพมิ่ เติมดว้ ยระบบออนไลน์ ในชว่ งเวลา 17.00 – 18.00 น. ในชว่ งเวลาทค่ี าบเรียนน้ันหายไป ดว้ ยการใชร้ ะบบ google meet

ลงช่ือ

(นายรณชยั อนิ รงั ) ครผู ู้สอนรายวิชาเคมี

บันทึกหลังแผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 2

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ วิชาเคมเี พมิ่ เติม 4 ว32224 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5

และเทคโนโลยี

สาระเคมี จานวน 1.5 นก. เวลาเรียน 60 ชั่วโมง หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 ไฟฟา้ เคมี เวลาเรยี น 29 ช่วั โมง

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 เซลลก์ ลั วานิกกบั การสร้างเซลล์ เวลาเรียน 5 ช่วั โมง 30 นาที

แผนการจัดการเรียนรู้เร่ือง เซลล์กัลวานิกกับการสร้างเซลล์ เป็นหน่วยหนึ่งในวิชาเคมีเพิ่มเติม 4 (ว 33224)

ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้ จัดทาขึ้นตามกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ซึ่ง

ประกอบไปด้วยรายละเอยี ดดังตอ่ ไปน้ี

หวั เรื่อง เทคนิคการเรียนรู้ เวลา(นาที)

1. ปฏิกริ ิยาของโลหะและโลหะ ทดลอง

ไอออน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด 55 กระบวนการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

นาเสนอและอภิปรายข้อมูล

กระบวนการจัดการเรยี นการสอนแบบ 5Es

2. การถ่ายโอนอิเล็กตรอนของ ทดลอง

โลหะในเซลล์กัลวานกิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด 110 กระบวนการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

นาเสนอและอภปิ รายข้อมูล

กระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ 5Es

3. ส่วนประกอบของการสรา้ ง ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

เซลลก์ ลั วานิก กระบวนการสรา้ งความคิดรวบยอด

4. การเขียนแผนภาพเซลล์ กระบวนการวิเคราะหข์ อ้ มูล 165

กัลวานกิ นาเสนอและอภปิ รายข้อมูล

กระบวนการจดั การเรียนการสอนแบบ 5Es

รวม 5 ช่ัวโมง 30 นาที

วิชาเคมีเพม่ิ เติม 4 สาระเคมี มาตรฐาน 2 เข้าใจการเขียนและการดลุ สมการเคมี ปริมาณสัมพันธใ์ นปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลในปฏิกริ ิยา สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์และเซลล์เคมีไฟฟ้า รวมทั้งการนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรยี นรู้ 26. ทดลองและเปรียบเทียบความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์หรือตัวออกซิไดส์และเขียนแสดงปฏิกิริยา รีดอกซ์ 28. ระบุองค์ประกอบของเซลล์เคมีไฟฟ้าและเขียนสมการเคมีของปฏิกิริยาท่ีแอโนดและแคโทด ปฏิกิริยารวม และแผนภาพเซลล์

สาระสาคัญ เซลล์กัลวานกิ (Galvanic cell) หรือเซลล์ โวลตาอกิ เปน็ เซลลไ์ ฟฟา้ เคมที ่สี ามารถเกิดขึ้นเองได้โดยไม่

ต้องอาศัยกระแสไฟฟา้ จากภายนอก เมื่อมีองค์ประกอบของเซลล์ครบวงจร กล่าวคือประกอบไปด้วย ข้ัวไฟฟ้า

(Electrode) สองชนิด คือขั้วไฟฟ้าท่ีทาหน้าท่ีให้อิเล็กตรอนหรือเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน เรียกว่าขั้วแอโนด (Anode electrode) ส่วนมากจะเป็นข้ัวไฟฟ้าที่มีค่าศักย์ไฟฟ้าต่า และขั้วไฟฟ้าที่ทาหน้าท่ีรับอิเล็กตรอนหรือ เกิดปฏิกิริยารีดักชัน เรียกว่าขั้วแคโทด (Cathode electrode) ส่วนมากจะเป็นข้ัวไฟฟ้าท่ีมีค่าศักย์ไฟฟ้าสูง สารละลายอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte solution) ภายในเซลล์จะทาหน้าที่ ช่วยในการเคลื่อนท่ีของ

อิเล็กตรอนของแต่ละข้ัวไฟฟ้า และสะพานเกลือเพ่ือทาหน้าท่ีทาให้อิเล็กตรอนเคล่ือนท่ีและปรับสมดุลของ อิเล็กตรอนให้ปฏิกิริยาสมดุลกัน โวลต์มิเตอร์ทาหน้าท่ีวัดกระแสไฟฟ้าท่ีเกิดขึ้นในปฏิกิริยาและทานายทิศ ทางการไหลของอิเล็กตรอนได้ เพื่อความสะดวกในการเขียนปฏิกิริยารีดอกซ์มักเขียนสองคร่ึงปฏิกิริยาออกซิ ชันและรีดักชันรวมกันโดยเขียนคู่ของข้ัวไฟฟ้าที่เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันไว้ด้านขวามือคู่กับชนิดของ

สารละลายอิเล็กโทรไลต์และเขียนคู่ของข้ัวไฟฟ้าท่ีเกิดปฏิกิริยารีดักชันไว้ด้านซ้ายมือคู่กับชนิดของสารละลาย อิเล็กโทรไลต์โดยการขั้นทั้งสองปฏิกิริยาด้วยสัญลักษณ์ (//) แทนสะพานเกลือ เรียกรวมการเขียนดังกล่าวว่า การเขยี นแผนภาพเซลลแ์ บบยอ่

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ด้านความรู้

1. เขยี นสมการออกซเิ ดชัน รดี ักชัน ปฏิกริ ยิ ารดี อกซ์ ระบุตวั ออกซิไดส์ ตัวรีดวิ ซไ์ ด้ 2. เปรยี บเทียบความสามารถในการเปน็ ตวั รดี วิ ซ์และตัวออกซิไดส์ของโลหะและไอออนของโลหะได้ 3. ระบุสว่ นประกอบของเซลล์กลั วานิกและสว่ นประกอบของครึ่งเซลล์ได้ 4. สามารถเขียนแผนภาพเซลลก์ ลั วานิกได้

ดา้ นทักษะและกระบวนการ 1. ทาการทดลองเพื่อศึกษาปฏิกิรยิ าการถา่ ยโอนอิเลก็ ตรอนระหวา่ งโลหะกับโลหะไอออน 2. ทาการทดลองและอธิบายปฏิกริ ิยาการถา่ ยโอนอิเล็กตรอนในเซลล์กลั วานกิ และการเปลย่ี นแปลงท่ี เกดิ ขนึ้ ในแต่ละครึ่งเซลล์ได้

ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มั่นในการทางาน 4. มีจติ สาธารณะ 5. มจี ิตวทิ ยาศาสตร์

ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

การวดั และประเมนิ ผล การวัดและการประเมินผล ผลการเรยี นรู้ วิธกี าร วิธกี ารวดั เคร่อื งมือ เกณฑ์การผา่ น ประเมิน 26. ทดลองและ ดา้ นความรู้ (K) คะแนนร้อยละ 70 เปรียบเทียบ -ใบงาน เร่ือง การทานายทิศ -ตรวจใบงาน -ใบงาน ขน้ึ ไปถือวา่ ผ่าน

ความสามารถในการ ทางการไหลของอิเล็กตรอนใน คะแนนร้อยละ 70 ข้ึนไปถือวา่ ผา่ น เปน็ ตัวรดี ิวซห์ รอื ตัว เซลล์กัลวานิก ได้ระดบั คณุ ภาพ ออกซิไดสแ์ ละเขียน ใบงาน เรอื่ ง แผนภาพเซลล์ 2ขึ้นไปถอื วา่ ผ่าน

แสดงปฏกิ ิริยา -รายงานบทปฏิบัตกิ ารผลการ -ตรวจรายงาน -แบบประเมนิ ได้ระดบั คณุ ภาพ 2ข้นึ ไปถอื ว่าผ่าน รดี อกซ์ ท ด ล อ ง เ รื่ อ ง ป ฏิ กิ ริ ย า

28. ระบอุ งคป์ ระกอบ ระหว่างโลหะกับสารละลาย

ของเซลลเ์ คมไี ฟฟา้ ของโลหะไอออน

และเขยี นสมการเคมี -รายงานบทปฏบิ ัติการผลการ

ของปฏกิ ริ ยิ าทีแ่ อโนด ทดลอง เร่ือง การถ่ายโอน

และแคโทด ปฏิกริ ยิ า อิเลก็ ตรอนในเซลลก์ ัลวานกิ

รวมและแผนภาพ ด้านทักษะและกระบวนการ

เซลล์ นาเสนอ (P)

-ทาการทดลองเรื่อง ปฏิกิริยา -สงั เกตการทดลอง -แบบประเมนิ

ระหว่างโลหะกับสารละลาย

ของโลหะไอออน

-ทาการทดลองเร่ือง การถ่าย

โ อ น อิ เ ล็ ก ต ร อ น ใ น เ ซ ล ล์

กัลวานกิ

ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ -สังเกตการรว่ ม -แบบประเมิน

ประสงค์ (A) กิจกรรมในชัน้ 1. มีวนิ ัย เรยี น 2. ใฝ่เรียนรู้

3. มุง่ ม่นั ในการทางาน

4. มีจิตสาธารณะ

5. มีจติ วทิ ยาศาสตร์

ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของ

ผู้เรียน (C) -สงั เกตการร่วม -แบบประเมนิ

1.ความสามารถในการสอ่ื สาร กจิ กรรมในชัน้

2.ความสามารถในการคิด เรยี น

3.ความสามารถในการใช้

เทคโนโลยี

แบบประเมนิ ท่ี 1 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผูเ้ รียน ระดับคุณภาพคณุ ลกั ษณะฯที่ได้

สรปุ

เลขท่ีช่ือ-สกลุ ีม ิวนัย ใฝ่เรียนรู้ ุ่มง ่ัมนในการทางาน ิม ิจตสาธารณะ ีม ิจตวิทยาศาสตร์

รวม ่ผาน ไ ่ม ่ผาน

1 นางสาวชญานศิ เจ้ือจิ๋ว 4 4 4 4 3 19 ผา่ น

2 นางสาวชนาพร ไทยใหม่ 4 4 4 4 3 19 ผา่ น

3 นางสาวธัญชนก ติบ๊ แสน 4 2 3 3 2 14 ผ่าน

4 นางสาวปวีณา อดุ แบน 4 4 4 4 3 19 ผ่าน

5 นางสาวปองขวัญ ยันระหา 4 4 4 4 3 19 ผา่ น

6 นางสาวนภัส ตาธิกา 4 3 4 4 3 18 ผา่ น

7 นางสาวศิรนิ ทิพย์ เพ็ชรนิล 4 2 3 3 2 14 ผ่าน

8 นางสาวกมลศริ ิ สุปินะวงค์ 4 2 3 3 2 14 ผา่ น

9 นางสาวไพลิน เทศอ่อน 4 2 3 3 2 14 ผ่าน

10 นางสาวภัทรภร นอ้ ยเช่ือม 4 3 3 3 2 15 ผ่าน

11 นางสาววรรณนรินทร์ คงธนทั กาญจน์ 4 2 3 3 2 14 ผ่าน

12 นางสาวสธุ ิศา ปวนกันทา 4 3 4 3 3 17 ผ่าน

13 นางสาวสุมินตรา กองสขุ 4 3 3 3 4 17 ผ่าน

คุณลกั ษณะด้าน ตงั บง่ ช/ี้ พฤติกรรม เกณฑก์ ารประเมิน

1.มีวนิ ัย 1. แตง่ กายให้ถูกระเบยี บ 4 หมายถึง แสดงพฤติกรรมได้ 4 – 5 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. เคารพกฎจราจร ตัวบ่งชี้ 3. สง่ งานตามที่กาหนด 3 หมายถึง แสดงพฤตกิ รรมได้ 3 ตัวบง่ ชี้ 3. มงุ่ มัน่ ในการ 4. เข้าร่วมกิจกรรมตามเวลา 2 หมายถึง แสดงพฤติกรรมได้ 2 ตัวบง่ ชี้ ทางาน 5. ไม่หยิบของ ของผู้อน่ื โดยไม่ขออนุญาต 1 หมายถงึ แสดงพฤตกิ รรมได้ 1 ตวั บง่ ช้ี 4. มีจติ สาธารณะ 1. เข้าเรยี นตรงเวลา 2. ทางานถกู ต้องส่งงานครบ ระดบั คุณภาพ 5.มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ 3. ทางานท่ไี ด้รบั มอบหมายสาเร็จครบถว้ นถูกตอ้ ง 4. เข้าร่วมทศั นศึกษา คะแนน ระดับคณุ ภาพ 5. เขา้ รว่ ม / รว่ มจดั / นทิ รรศการใน / นอก โรงเรยี น น้อยกว่า 12 1 1. ทางานตามที่ไดร้ ับมอบหมายสาเร็จและถูกต้อง 2. ตดิ ตามผลการทางานของตนเอง 12-13 2 3. รบั ผิดชอบงานท่ีไดร้ บั มอบหมาย 4. มกี ารปรับปรงุ ผลงานของตนเอง 14-15 3 5. มกี ารพัฒนางานของตนเอง 1. เต็มใจชว่ ยพ่อ แม่ ผูป้ กครอง และ ครูทางาน 16 คะแนนข้นึ ไป 4 2. อาสาทางาน ชว่ ยคดิ ช่วยทาด้วยความสมคั ร ใจ เกณฑก์ ารผา่ น ผา่ นระดบั พอใช้ 3. เป็นที่ปรึกษาและแนะนาแนวทางที่ดใี ห้กับผู้อืน่ 4. บริจาคทรัพยส์ ิน / สิงของเพอ่ื ชว่ ยเหลอื ผ้อู นื่ ระดบั คณุ ภาพ 5. เขา้ รว่ มกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหา หรือสรา้ ง 1 = ปรบั ปรุง ความสขุ เพื่อผู้อนื่ เชน่ รณรงค์ต่อต้านยาเสพเปน็ 2 = พอใช้ ตน้ 3 = ดี 1. มกี ารแบ่งหน้าท่ีกันในการปฏบิ ตั งิ าน กลมุ่ และ 4 = ดีมาก ทางานอย่างเป็นระบบ 2. มคี วามต้ังใจทางานและการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 3. กลา้ แสดงความคดิ เหน็ 4. กลา้ ยอมรับความคดิ เหน็ ของคนอ่นื 5. เก็บทาความสะอาดห้องและอปุ กรณ์ทาง วิทยาศาสตร์

แบบประเมินท่ี 2 สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน สรุป ระดับคุณภาพ

สมรรถนะ

สาคัญของผูเ้ รียน

เลขที่ ช่ือ-สกลุ ด้านการ ื่สอสาร ด้านการคิด ้ดานการใ ้ชเทคโนโล ีย

รวม ผ่าน ไ ่ม ่ผาน

1 นางสาวชญานศิ เจื้อจว๋ิ 43 3 10 ผา่ น 2 นางสาวชนาพร ไทยใหม่ 43 3 10 ผ่าน 3 นางสาวธัญชนก ตบิ๊ แสน 32 3 8 ผา่ น 4 นางสาวปวณี า อุดแบน 43 3 10 ผา่ น 5 นางสาวปองขวญั ยนั ระหา 43 3 10 ผา่ น 6 นางสาวนภสั ตาธิกา 33 3 9 ผา่ น 7 นางสาวศิรนิ ทิพย์ เพช็ รนลิ 32 3 8 ผ่าน 8 นางสาวกมลศิริ สุปนิ ะวงค์ 32 3 8 ผ่าน 9 นางสาวไพลนิ เทศอ่อน 32 3 8 ผา่ น 10 นางสาวภทั รภร น้อยเชือ่ ม 32 3 8 ผา่ น 11 นางสาววรรณนรนิ ทร์ คงธนทั กาญจน์ 32 3 8 ผา่ น 12 นางสาวสธุ ศิ า ปวนกันทา 33 3 9 ผ่าน 13 นางสาวสุมนิ ตรา กองสขุ 32 3 8 ผ่าน

สมรรถนะดา้ น ตังบ่งชี้ / พฤตกิ รรม เกณฑ์การประเมนิ

1.ความสามารถ 1. มคี วามสามารถในการรบั -ส่งสาร 4 หมายถึง แสดงพฤติกรรมได้ ในการส่ือสาร 2. มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคดิ ความ 4 – 5 ตวั บง่ ช้ี 2.ความสามารถ ในการคดิ เข้าใจของตนเอง โดยใชภ้ าษาอย่างเหมาะสม 3 หมายถึง แสดงพฤตกิ รรมได้

3.ความสามารถ 3. ใช้วิธีการส่อื สารทเี่ หมาะสม มีประสทิ ธิภาพ 3 ตวั บง่ ชี้ ในการใช้ เทคโนโลยี 4. เจรจาต่อรองเพอื่ ขจัดและลดปญั หาความขัดแย้ง 2 หมายถงึ แสดงพฤติกรรมได้

ตา่ ง ๆ ได้ 2 ตวั บง่ ชี้

5. เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารดว้ ยเหตุผลและ 1 หมายถงึ แสดงพฤตกิ รรมได้

ถูกต้อง 1 ตัวบง่ ชี้

1. มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ 2. มีทักษะในการคดิ นอกกรอบอย่างสร้างสรรค์ คะแนน 1 3. สามารถคิดอย่างมวี ิจารณญาณ น้อยกวา่ 10 2 4. มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ 10-11 3 5. ตัดสินใจแกป้ ัญหาเก่ยี วกับตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 12-13 4 14-15 1. เลือกและใชเ้ ทคโนโลยไี ด้เหมาะสมตามวัย

2. มที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี ระดบั คณุ ภาพ 3. สามารถนาเทคโนโลยีไปใช้พัฒนาตนเอง 1 = ปรบั ปรุง 4. ใช้เทคโนโลยใี นการแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ 2 = พอใช้ 5. มคี ณุ ธรรม จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยี 3 = ดี

4 = ดีมาก

แบบประเมนิ ที่ 3 การทดลองและการจดั ทารายงานบทปฏบิ ัตกิ ารทดลอง การวางแผนและการ ทาการ ผลการ ออกแบบการทดลอง ทดลอง ทดลองและ การสรุปผล วธิ กี าร ทดลอง

ช่อื – สกลุ ก ุ่ลมที่/เลขท่ี

ช่ือเรื่อง การ ้ัตงสมม ิตฐาน ัตวแปรการทดลอง ุอปกร ์ณกาทดลอง การออกแบบการทดลอง การทดลองและการใช้ ุอปกร ์ณ การเก็บรักษา ุอปกร ์ณ ความ ูถก ้ตองขอข้อมูล การจัดกระทาข้อมูล การแปรความหมายและการสรุปผล

รวม

4 4 4 4 4 4 4 4 4 4 40

1 นางสาวชญานศิ เจื้อจ๋ิว 4 4 4 4 4 4 4 4 3 3 38

นางสาวชนาพร ไทยใหม่ 4 4 4 4 4 4 4 4 3 3 38

นางสาวปองขวัญ ยนั ระหา 4 4 4 4 4 4 4 4 3 3 38

2 นางสาวปวณี า อุดแบน 4 4 4 4 3 4 4 4 3 2 36

นางสาวนภสั ตาธิกา 4 4 4 4 3 4 4 4 3 2 36

นางสาวสุธิศา ปวนกนั ทา 4 4 4 4 3 4 4 4 3 2 36

3 นางสาวธัญชนก ติ๊บแสน 4 4 3 4 3 4 4 3 3 2 34

นางสาวศิรนิ ทพิ ย์ เพ็ชรนลิ 4 4 3 4 3 4 4 3 3 2 34

นางสาวไพลิน เทศอ่อน 4 4 3 4 3 4 4 3 3 2 34

4 นางสาวกมลศิริ สุปนิ ะวงค์ 4 4 3 4 4 4 4 3 2 2 34

นางสาวภัทรภร น้อยเชอ่ื ม 4 4 3 4 4 4 4 3 2 2 34

นางสาววรรณนรนิ ทร์ คงธนัทกาญจน์ 4 4 3 4 4 4 4 3 2 2 34

นางสาวสุมนิ ตรา กองสขุ 4 4 3 4 4 4 4 3 2 2 34

1 นางสาวชญานิศ เจื้อจิ๋ว 4 4 4 4 4 4 4 4 3 3 38

นางสาวชนาพร ไทยใหม่ 4 4 4 4 4 4 4 4 3 3 38

นางสาวปองขวัญ ยนั ระหา 4 4 4 4 4 4 4 4 3 3 38

2 นางสาวปวณี า อดุ แบน 4 4 4 4 3 4 4 4 3 2 36

นางสาวนภัส ตาธกิ า 4 4 4 4 3 4 4 4 3 2 36

เกณฑก์ ารทดลองและการจัดทารายงานบทปฏิบตั ิการทดลอง การวางแผนและการออกแบบการทดลอง

ชอ่ื เรอื่ ง ใหร้ ะดบั 4 เมอ่ื ตง้ั ชื่อเร่ืองได้สอดคล้องกับปัญหาและชดั เจน ให้ระดบั 3 เมอ่ื ตง้ั ชื่อเรื่องไดส้ อดคลอ้ งกบั ปัญหาแต่ไม่ชัดเจน ใหร้ ะดบั 2 เมื่อตง้ั ช่อื เร่ืองไดไ้ มส่ อดคลอ้ งกับปญั หาแตม่ ีความชดั เจน ใหร้ ะดบั 1 เมื่อตง้ั ช่ือเรื่องได้ไม่สอดคลอ้ งกบั ปัญหาและไมช่ ัดเจน การตงั้ สมมติฐาน ให้ระดบั 4 เมอ่ื ตั้งสมมตุ ฐิ านไดส้ อดคล้องกับปัญหาและชัดเจน ให้ระดับ 3 เมื่อต้งั สมมตุ ิฐานไดส้ อดคล้องกบั ปญั หาแต่ไม่ชดั เจน ให้ระดบั 2 เมอ่ื ตัง้ สมมุติฐานได้ไม่สอดคล้องกบั ปัญหาแต่มีความชัดเจน ให้ระดบั 1 เมอ่ื ต้ังสมมุติฐานไมส่ อดคลอ้ งกบั ปัญหาและไมช่ ดั เจน ตวั แปรการทดลอง ประกอบด้วยตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตวั แปรควบคุม ให้ระดับ 4 เมอ่ื มีตัวแปรตา่ ง ๆ ถกู ตอ้ งทุกตวั แปร ให้ระดบั 3 เมอ่ื มตี วั แปรต่าง ๆ ถูกตอ้ ง 2 ตวั แปร ใหร้ ะดบั 2 เมื่อมตี วั แปรต่าง ๆ ถกู ตอ้ ง 1 ตัวแปร ใหร้ ะดบั 1 เมื่อมตี วั แปรต่าง ๆ แตไ่ มถ่ ูกต้อง วธิ กี ารทดลอง อุปกรณ์การทดลอง ใหร้ ะดับ 4 เมอ่ื กาหนดอปุ กรณ์การทดลองครบถ้วนเหมาะสม ให้ระดบั 3 เมอ่ื กาหนดอุปกรณก์ ารทดลองครบถว้ นไม่คอ่ ยเหมาะสม ให้ระดบั 2 เมอ่ื กาหนดอปุ กรณก์ ารทดลองไม่ครบถว้ นขาดอปุ กรณ์ท่ไี มส่ าคัญ ให้ระดบั 1 เมอ่ื กาหนดอปุ กรณ์การทดลองขาดมาก ไม่เหมาะสม การออกแบบการทดลอง ให้ระดับ 4 เม่ือมีขัน้ ตอนครบถว้ นและถูกตอ้ ง ให้ระดับ 3 เมอ่ื มขี ั้นตอนครบถว้ นและมีบางขนั้ ตอนสลับกนั บา้ ง ใหร้ ะดับ 2 เมื่อมขี ้นั ตอนครบถว้ น ไมส่ มบูรณ์ ใหร้ ะดบั 1 เมื่อขน้ั ตอนการทดลองไมเ่ หมาะสม การดาเนินการทดลอง การทดลอง และการใชอ้ ุปกรณ์ ให้ระดบั 4 เมื่อดาเนินการทดลองตามแผนทกุ ข้ันตอน ใหร้ ะดับ 3 เมื่อดาเนนิ การทดลองตามแผนทุกขนั้ ตอนและใช้อุปกรณผ์ ิดบ้างเล็กน้อย ให้ระดบั 2 เมื่อมกี ารปรับแผนการทดลองบ้าง และใช้อุปกรณ์ไม่ค่อยถูกวิธี ใหร้ ะดบั 1 เมื่อดาเนนิ การทดลองโดยไม่คานึงถึงแผนเลยหรอื ใชอ้ ุปกรณ์ไมถ่ ูกวธิ เี ป็นส่วนใหญ่

การเก็บรักษาอปุ กรณ์ ให้ระดับ 4 เมอ่ื ทาความสะอาดอุปกรณเ์ ชด็ ให้แห้ง เกบ็ รักษาเป็นระเบยี บ อปุ กรณอ์ ยใู่ นสภาพดี ใหร้ ะดบั 3 เมอ่ื ทาความสะอาดอุปกรณ์เกบ็ รักษาไม่เปน็ ระเบยี บอปุ กรณ์อยใู่ นสภาพดี ให้ระดบั 2 เมื่อเก็บรักษาโดยไมไ่ ด้ดูความเรียบร้อยของอุปกรณ์ ให้ระดับ 1 เมอ่ื ต้องเตือนให้เก็บรักษาอปุ กรณ์ หรอื ทาอปุ กรณช์ ารุดโดยประมาท ผลการทดลองและสรุปผล ความถกู ตอ้ งของขอ้ มูล ใหร้ ะดบั 4 เมอ่ื บันทกึ ขอ้ มูลครบถ้วน และถูกต้อง ให้ระดับ 3 เมอ่ื บันทกึ ข้อมลู ครบถ้วน มีผิดพลาดเล็กนอ้ ย ใหร้ ะดบั 2 เมอ่ื บันทกึ ขอ้ มลู ไม่ครบถ้วน และมผี ดิ พลาด ใหร้ ะดบั 1 เมอ่ื บันทกึ ขอ้ มูลผิดพลาดมากตอ้ งคอยบอกให้แกไ้ ข การจัดกระทาข้อมลู ให้ระดับ 4 เมื่อนาเสนอข้อมูลโดยใชต้ ารางทเ่ี หมาะสมหรือมขี ้ันตอนทีเ่ ข้าใจง่าย ใหร้ ะดับ 3 เมอ่ื นาเสนอข้อมูลโดยใช้ตาราง หรอื มขี น้ั ตอนที่ไม่คอ่ ยชดั เจน ให้ระดบั 2 เมื่อนาเสนอข้อมูลทไ่ี ม่เปน็ ระบบเขา้ ใจยาก ใหร้ ะดบั 1 เมื่อนาเสนอข้อมูลท่ีไมค่ รบถว้ น การแปลความหมายและสรุปผลการทดลอง ใหร้ ะดบั 4 เมื่อสรุปผลการทดลองสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ครบถ้วน แปร ความหมายถกู ตอ้ ง ใหร้ ะดับ 3 เม่อื สรุปผลการทดลองสอดคล้องกับจุดประสงค์ครบถ้วน แต่แปร ความหมายผดิ บา้ ง ใหร้ ะดับ 2 เมื่อสรุปผลการทดลองสอดคลอ้ งกับจุดประสงคไ์ ม่ครบถว้ น หรอื แปลความหมายผิด ใหร้ ะดับ 1 เมอ่ื สรปุ ผลการทดลองไม่สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์

บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 เซลล์กัลวานกิ กับการสร้างเซลล์ ผลการจัดการเรียนรู้

1.ดา้ นความรู้

ผู้เรยี นสามารถเขียนสมการออกซิเดชนั รดี ักชนั ปฏกิ ิรยิ ารดี อกซ์ ระบตุ วั ออกซไิ ดส์ ตวั รดี ิวซไ์ ด้

เปรยี บเทียบความสามารถในการเป็นตัวรีดิวซ์และตัวออกซิไดสข์ องโลหะและไอออนของโลหะไดร้ ะบุ

สว่ นประกอบของเซลล์กัลวานิกและสว่ นประกอบของครงึ่ เซลล์ได้ และ สามารถเขยี นแผนภาพเซลล์

กัลวานิกได้จากการตรวจสอบจากใบงานการทานายทศิ ทางการไหลของอิเล็กตรอนในเซลล์กลั วานิก

ใบงาน เร่ือง แผนภาพเซลล์ และ รายงานผลทดลอง เก่ยี วกับปฏิกริ ิยาของโลหะไอออน และ การถ่าย

โอนอิเลก็ ตรอนของเซลลก์ ลั วานิก

นกั เรยี นผ่านเกณฑ์การประเมิน จานวน 13 คน คดิ เป็นร้อยละ 100

นักเรียนไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ จานวน 0 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0

2.ดา้ นทักษะกระบวนการ

ดา้ นการวางแผนออกแบบการทดลอง ดาเนินการทดลอง บันทกึ ผล การจดั กระทาขอ้ มูลที่ได้เกย่ี วกับ

การทดลอง วิเคราะห์ อภปิ รายผล และนาไปส่กู ารสรุปผลการทดลอง และ นาเสนอการทดลอง

เก่ยี วกบั ปฏกิ ิริยาของโลหะกับโลหะไอออน และ การทดลองเก่ียวกับ การถ่ายโอนอเิ ล็กตรอนของ

เซลลก์ ัลวานิก

นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน จานวน 13 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

นกั เรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมิน จานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0

3. ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

ผลการประเมินตามแบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนในด้านคุณลักษณะ

อันพงึ ประสงค์ ในด้านมวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ ม่ันในการทางาน มีจติ สาธารณะ และด้าน

มีจติ วิทยาศาสตร์ ผลการประเมนิ ดังนี้

ระดับคุณภาพดีข้นึ ไป จานวน 13 คน คดิ เป็นร้อยละ 100

ระดบั คุณภาพพอใช้ จานวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0

ระดบั คุณภาพปรับปรุง จานวน 0 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0

ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ จานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 100

4. ด้านสมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน

ผลการประเมินตามแบบสงั เกตพฤตกิ รรมผ้เู รียนในการจดั การเรยี นการสอนในด้านสมรรถนะ

สาคญั ของผเู้ รียนได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในด้านความคดิ และ

ความสามารถในดา้ นการใช้เทคโนโลยี ผลการประเมินดงั น้ี

ระดบั คุณภาพดีขึน้ ไป จานวน 13 คน คดิ เป็นร้อยละ 100

ระดบั คุณภาพพอใช้ จานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0

ระดับคุณภาพปรบั ปรุง จานวน 0 คน คดิ เป็นร้อยละ 0

ผ่านเกณฑ์การประเมิน จานวน 13 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100

บันทึกผลการสอน

ผลการเรียนรขู้ องนกั เรยี นโดยภาพรวม การจัดการเรียนการสอนเบื้องต้นก่อนลงสู่การปฏิบัติทดลอง ผู้เรียนยังขาดจินตนาการ มองไม่เห็นภาพหรือ หลักการของปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ไฟฟ้าเคมีท่ีเกิดขึ้น สังเกตจากพฤติกรรมการตอบคาถามท่ีครูต้ังคาถาม และ การลงมือปฏิบัติทาใบงานท่ีครูได้มอบหมาย เน่ืองจากด้วยธรรมชาติของเน้ือหาวิชามีความซับซ้อน และ ต้อง อาศัยจินตนาการร่วมถึงจะทาความเข้าใจเน้ือหาได้ดี เมื่อนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติการทดลอง พบว่าผลการ เรียนรู้ผูเ้ รยี นคิดเปน็ รอ้ ยละ 100 มีความเขา้ ใจเน้ือหามากขึ้น ผลการสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นโดยภาพรวม นักเรยี นให้ความร่วมมอื ในการตอบคาถาม และ ทากิจกรรมต่าง ๆ ในช้ันเรียนได้ดี มีทักษะด้านการทดลองอยู่ ในระดับท่ีดี และ ให้ความเอาใจใส่ในการสอบถามเพ่ิมเติมในเนื้อหาท่ีไม่เข้าใจดีขึ้นกว่าช้ันเรียนท่ีผ่านมา มี ปฏสิ มั พันธ์กับครูผูส้ อนเพิ่มมากขึ้น ผลการปฏิบัตงิ านทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย (ใบงาน/กจิ กรรม/ชิน้ งาน/การนาเสนอผลงาน) นักเรียนสามารถปฏิบัติหน้าท่ีในการทาใบงาน รายงานผลการทดลอง และ ลงมือปฏิบัติการทดลอง ได้สาเร็จ ตามกรอบระยะเวลากาหนดได้พอดี แต่ ทักษะการออกแบบการทดลอง จัดกระทาข้อมูล การอภิปรายผลการ ทดลอง และ สรุปผลการทดลองยังไม่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ ต้องอาศัยการแนะนาจากครูผู้สอนเพิ่มเติม พฤติกรรมหลังผ่านการทดลอง นักเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาวิชามากข้ึนจากสอนแบบบรรยาย สังเกตจาก พฤติกรรมการตอบคาถามทคี่ รูต้ังคาถามในชั้นเรยี น และ ในใบงานทบทวนความรู้ ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์โดยภาพรวม ผลการประเมนิ ตามแบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียนในการจัดการเรียนการสอนในด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในด้านมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน มีจิตสาธารณะ และด้าน มีจิตวิทยาศาสตร์ ในภาพรวมผ่าน เกณฑ์ประเมนิ อยใู่ นระดบั ดีข้ึนไป คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ผลการประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี นโดยภาพรวม ผลการประเมนิ ตามแบบสงั เกตพฤตกิ รรมผเู้ รียนในการจัดการเรียนการสอนในด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ได้แก่ ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในดา้ นความคดิ และ ความสามารถในด้านการใช้เทคโนโลยี ผลการประเมินดงั น้ี ในภาพรวมผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ อยู่ในระดบั ดขี นึ้ ไป คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ปญั หาและอปุ สรรค นักเรียนยังขาดทักษะการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล และ คิดแบบวิทยาศาสตร์ ในการนาผลการทดลองที่ได้ เช่ือมโยงไปสู่การสรุปผลการทดลองท่ีครอบคลุมตัวแปร และ การสรุปผลการทดลองท่ีสอดคล้องกับ วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ครูได้สอนบรรยายขยายความเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการกาหนดตัวแปรการทดลอง ได้แก่ การกาหนดตัวแปร ต้น ตัวแปรตาม และ ตัวแปรอิสระ และ หลักการสรุปผลการทดลองที่ถูกต้องให้นักเรียนอีกคร้ังหลังจบ กิจกรรมการนาเสนอผลการทดลองในขั้นที่ 3 อภปิ รายผล

ลงชือ่

(นายรณชัย อนิ รงั ) ครผู ู้สอนรายวชิ าเคมี

บนั ทึกหลังแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3

กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ วชิ าเคมีเพ่มิ เติม 4 ว32224 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5

และเทคโนโลยี หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เวลาเรยี น 29 ช่ัวโมง สาระเคมี จานวน 1.5 นก. เวลาเรยี น 60 ช่วั โมง เวลาเรยี น 4 ช่วั โมง 35 นาที

หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 ไฟฟ้าเคมี

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 ค่าศกั ย์ไฟฟ้าของเซลล์

แผนการจัดการเรียนรู้เร่ือง ค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ เป็นหน่วยหนึ่งในวิชาเคมีเพิ่มเติม 4 (ว 33224)

ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีท่ี 5 แผนการจัดการเรียนรู้ จัดทาข้ึนตามกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ซ่ึง