ศ นย พ ฒนาฝ ม อแรงงาน จ.เลย ทำเน ยบบ คลากร

- กลมุ่ เป้าหมาย 608 ปฏิเสธการรบั วคั ซนี โรค เพอื่ เร่งคน้ หาผูต้ ดิ เช้อื เชน่ คน เงิน ของ(วสั ดอุ ปุ กรณ)์

-การบริหารจดั การขยะติดเช้ือจากขยะมี - การช่วยเหลอื ผถู้ ูกกกั ตัวและครอบครัว การเยียวยา สปFารoมิมoาารtณeถตเrจพัวPดั ม่ิชaเวี้ขกgดั้ึน็บeข9ยะoตเfนดิ 4ือ่ เ1ชง.จื้อาตกาบมรทษิ ี่กทัำหเอนกดชไนดไ้ ม่ - การบูรณาการ การทำงานระหว่างหน่วยงานรัฐ องคป์ กครองส่วนทอ้ งถิ่นอย่างเป็น

รปู ธรรม เปา้ หมาย ผลการดำเนนิ งาน - พฒั นาก(ารร้อสรยา้ ลงะเต)าเผาขยะตดิ เชอื้ ในโรงพยาบาลและท้องถิ่น

กำหนดเป้าคดั กรอง เบาหวานและความดนั ในช-มุ ลชดนการใช้บร9รจ0ภุ%ัณฑ์ท่ีกอ่ ไใดห้ร้เกบั ดิ กปารรมิ ตารณวขจยคะเัดนก้นรบอรงรจเบุ นาำหกวลาับนมารใชอ้ ซ้ ยำ้ ลไดะใ้ น99C%ohort

145

ผลการดำเนนิ งานตามตวั ชี้วดั ตามคำรบั รองการปฏบิ ัตริ าชการ ประจำปี 2564 คปสอ.เอราวัณ จังหวดั เลย

สถานการณ์ สภาพปญั หา สภาพปญั หาในปัจจุบนั ของชมุ ชนเกยี่ วกบั โรคไม่ติดตอ่ เร้อื รัง การเข้าถงึ แหล่งชุมชนตลาดออนไลน์ การ

บริโภคและการปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมทเี่ ปล่ียนไปทำใหเ้ กดิ ภาวะอ้วนลงพุง เกิดโรค NCDs, การดืม่ สุรา และสูบ บุหร่ี

กระบวนการ/กิจกรรมสำคญั /เป้าหมายการดำเนินงานตามกระบวน

- สร้างความตระหนกั รูใ้ นชมุ ชนรว่ มกนั โดยสร้างมาตรการในชมุ ชนเพื่อการมีส่วนร่วม - มีกรรมการชมุ ชน NCDs ดำเนินกจิ กรรมในชมุ ชน โดยใช้งบประมาณสนับสนุนจากสำนักงาน สาธารณสขุ จังหวดั เลย และ สำนกั งานหลักประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ - ขับเคล่อื นสรา้ งกจิ กรรมและตน้ แบบในชุมชน บา้ น วัด โรงเรียน - ติดตามประเมินผลกจิ กรรมอยา่ งตอ่ เน่ือง

ผลการดำเนนิ งานตามตัวชว้ี ดั

ตวั ช้ีวัด เปา้ หมาย ผลการดำเนนิ งาน (ร้อยละ) กำหนดเปา้ คดั กรอง เบาหวานและความดัน ใน ชมุ ชน มกี ิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ 3 วนั /สัปดาห์ 90% ไดร้ บั การตรวจคัดกรองเบาหวาน รอ้ ยละ 99% ผชู้ ายรอบเอว < 80 ผู้หญิงรอบเอว < 90 90% มกี ารออกกำลังกาย 5 วัน/สัปดาห์

80% ชาย 60% หญิง 65%

ปญั หาเชงิ ระบบเพ่ือเป็นขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและโอกาสพัฒนา

1.เกดิ สถานการณ์โควดิ ระบาดทำให้ชมุ ชนขาดการ 1.การปรบั กจิ กรรมในชมุ ชนให้เป็นไปตาม ดำเนินกจิ กรรม สถานการณ์ 2.การทำกจิ กรรมเปน็ แบบทำเองที่บ้านและ 2.เนน้ กระบวนการสง่ เสริมและปอ้ งกนั รายบคุ คล ออนไลน์ มากข้ึน3.การมสี ่วนรว่ มของภาคเี ครือขา่ ย(ผา่ น F3o.oกtาeรrรPวaมgกeล1ุ่ม0ทoำfก4ิจ1ก. รรมในชมุ ชนลดลง การประชุมขับเคลอื่ นลดโรคทางการประชมุ พชอ.)

คปสอ.เชยี งคาน One Page Summary 146

ตวั ชีว้ ดั การดาเนิ นงาน

การดาเนินงานควบคุมโรคไขเ้ ลือดออก 2564

ควำมสำคญั สถำนกำรณ์และสภำพปัญหำของพื้นที่

ไข้เลอื ดออก เปน็ โรคติดตอ่ นำโดยแมลงท่เี ปน็ ปญั หำสำธำรณสุขที่สำคัญของประเทศมำช้ำนำน ในแต่มีผู้ป่วยและผู้เสียชีวิต จำนวนมำก สถำนกำรณ์ไข้เลือดออกในประเทศไทย ปี2564(1ม.ค.-31ส.ค.64) พบว่ำ มีผู้ป่วย 5,423 รำย เสียชีวิต 5 รำย อตั รำป่วยเทำ่ กบั 8.16 ตอ่ แสนประชำกรและอัตรำป่วยตำยเท่ำกับ ร้อยละ 0.09 ตำมลำดับ จังหวัดเลย พบรำยงำนมีอัตรำ ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกสูงเป็นลำดับที่ 36 ของประเทศ ลำดับที่ 8 ของภำคตะวันออกเฉียงเหนือ และลำดับที่ 3 ของเขต สุขภำพที่ 8 โดยพบผู้ป่วยจำนวน 38 รำย อัตรำป่วยเท่ำกับ 5.91ต่อแสนประชำกร ไม่มีผู้เสียชีวิต พบผู้ป่วยใน9อำเภอ อำเภอทีม่ ีอัตรำป่วย 3 อนั ดับแรก ได้แก่ หนองหิน ผำขำว และด่ำนซ้ำย อัตรำป่วยเท่ำกับ 27.37,23.66,และ15.31ต่อแสน ประชำกร ตำมลำดบั กลุม่ อำยทุ ป่ี ่วยเปน็ โรคไข้เลอื ดออกมำกท่สี ุด คอื เด็กอำยุ 10 - 24 ปี แต่ปัจจุบันก็พบในผู้ใหญ่มำกข้ึน อำเภอเชยี งคำน ปี2564 ยงั ไมพ่ บผู้ป่วยไขเ้ ลือดออก จำกกำรวิเครำะหส์ ถำนกำรณ์ไขเ้ ลือดออกในช่วง 10 ปีท่ีผ่ำนมำ พบว่ำ ระยะเวลำของกำรระบำดจะเกิดขึ้นปีเว้น 2 ปี ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดกำรระบำดของโรคไข้เลือดในชุมชน คือ กำรมีแหล่ง เพำะพันธ์ุยุงลำยท่ีมำกข้ึน จำกกำรสังเกตพบว่ำคนอำเภอเชียงคำนส่วนใหญ่มีกำรสำรองน้ำไว้อุปโภค บริโภค แต่ไม่มีกำร ปกปิดภำชนะเก็บน้ำเหมือนแต่ก่อน ขำดกำรจัดเก็บและทำลำยขยะมูลฝอยในชุมชนท่ีเหมำะสม กำรท่ีชุมชนมองว่ำกำร จดั กำรปญั หำโรคไขเ้ ลอื ดออกเป็นบทบำทหนำ้ ทขี่ อง อสม.และเจ้ำหนำ้ ที่สำธำรณสุข ซ่ึงปัจจัยเหล่ำน้ีก่อให้เกิดควำมเสี่ยงสูง ทจ่ี ะทำใหเ้ กิดกำรระบำดของโรคไขเ้ ลอื ดออกในชุมชน ซึ่งกลุ่มท่ีเส่ียงต่อกำรเจ็บป่วยและเสียชีวิตมำกท่ีสุดก็คือกลุ่มเด็กและ เยำวชนที่เป็นลูกหลำนของคนในชุมชนน่ันเอง กำรสุ่มสำรวจดัชนีควำมชุกลูกน้ำยุงลำย พบว่ำมีค่ำHI≤ 10จำนวน 11 หมบู่ ้ำน คิดเปน็ ร้อยละ 13.42 ค่ำHI 10-20 จำนวน 39 หมู่บ้ำน ร้อยละ 47.56 คำ่ HI≥20 จำนวน 32 หมบู่ ้ำนร้อยละ 39.02 หำกเกิดพบผู้ป่วยอำจเกิดกำรระบำดในพ้ืนท่ีได้ นอกจำกน้ีกำรเกิดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ2019 ทำให้กลุ่มเด็กวัยเรียนซ่ึง เปน็ กลมุ่ อำยทุ ่ีพบกำรปว่ ยมำกทส่ี ดุ หยุดเรยี นในโรงเรียน อำจเป็นสำเหตทุ ีท่ ำใหไ้ ม่เกดิ กำรระบำดในปนี ้ีได้

ปัจจยั ควำมสำเร็จ ปญั หำอุปสรรค ข้อแสนอแนะเชงิ นโยบำยและ โอกำสพัฒนำ 1.ทีม อสม.และแกนนำชมุ ชนให้ 1.ประชำชนให้ควำมสำคญั ควำมสำคัญในกำรกระตุน้ ครวั เรอื น และควำมร่วมมือนอ้ ยในกำร 1.ใหค้ วำมสำคญั ในกำรป้องกนั ควบคมุ กำจดั ลูกนำ้ ยุงลำย กำจัดลูกน้ำยงุ ลำยตอ้ งให้ กำรเกดิ โรคก่อนฤดกู ำรระบำด 2.ทอ้ งถ่นิ สนับสนุนงบประมำณอย่ำง กระตุน้ เตือนทุกครั้ง ของโรคในโรงเรยี นและหมู่บำ้ น เพียงพอและรว่ มดำเนินกำรควบคมุ กำจัด 2.ส่งเสรมิ กำรใชน้ วัตกรรมกำร ลูกน้ำยงุ ลำยและยุงตัวเตม็ วัยกอ่ นกำร ควบคมุ ป้องกันโรค เกดิ โรFคooter Page 11 of 41. 171/1 ม.1 สสอ.เชยี งคาน ต.เชยี งคาน www.ssock.go.th สานักงานสาธารณสขุ อาเภอเชยี งคาน อ.เชยี งคาน จ.เลย โทร.0 4282 1286

คปสอ.เชยี งคาน One Page Summary 147

ตวั ชีว้ ดั การดาเนิ นงาน

การดาเนินงานควบคุมโรคไวรสั โคโรนา2019

ควำมสำคญั และสถำนกำรณ์

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019หรือ โควิด-19(Covid-19)ได้เร่ิมมีกำรระบำดเมื่อปลำยปี พ.ศ. 2562และแพร่ระบำดใหญ่ไป ทั่วโลกอย่ำงรวดเร็ว ซึ่งปัจจุบันก็ยังคงมีกำรแพร่ระบำดและทำให้มีผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมำก ข้อมูล ณ วันท่ี 5 กันยำยน พ.ศ. 2564 ทว่ั โลกมีผู้ปว่ ยติดเชอ้ื สะสม 221,110,991รำย และเสยี ชีวิตสะสม 4,575,333 รำยและจำกกำรท่ีมีกำร ระบำดหนักระลอกใหม่ในประเทศไทยในช่วงเดือนเมษำยน 2564 เป็นต้นมำข้อมลู ตัง้ แตว่ ันท่ี 1 เมษำยน2564 – 5 กันยำยน 2564 ประเทศไทยมีผู้ป่วยยนื ยนั สะสม จำนวน 1,251,671 รำย มีผเู้ สยี ชวี ติ สะสม 12,761 รำย

จำกรำยงำนสถำนกำรณโ์ รคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนำ 2019 ข้อมลู ต้ังแต่ 1เมษำยน 2564–5 กนั ยำยน 2564 จังหวัดเลย มีผ้ปู ่วยยนื ยันสะสม 2,663 รำย เสยี ชวี ิตสะสม 18 รำย

สำหรับอำเภอเชียงคำน ข้อมูลตั้งแต่ 1เมษำยน 2564–5 กันยำยน 2564 มีผู้ป่วยยืนยันสะสม 202 รำย และมี ผูเ้ สยี ชวี ิตสะสม 3 รำย

สภำพปญั หำของพ้นื ที่

จำกกำรระบำดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ2019 ทำให้ประชำชนได้รับผลกระทบต่อสุขภำพ เศรษฐกิจ และสังคม ทำให้วิถีชีวิตเปลี่ยนไป เกิดปัญหำกำรขำดรำยได้และชีวิตประจำวันท่ีต้องปรับเปลี่ยนไป อำเภอเชียงคำนเป็นพื้นที่แหล่ง ท่องเที่ยวสำคัญและเป็นที่นิยมของจังหวัดเลย มีประชำชนเดินทำงเข้ำมำในพ้ืนที่เป็นจำนวนมำก ประกอบกับต้ังแต่ช่วง เดือน เมษำยน 2564 – สิงหำคม 2564 มีประชำชนจำกพ้ืนท่ีควบคุมสูงสุดและเข้มงวดเดินทำงกลับภูมิลำเนำมำยังอำเภอ เชียงคำนเป็นจำนวนมำก รวมทัง้ ในช่วงเดอื น กรกฎำคม และสิงหำคม 2564 มีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนำ 2019 ท่ีมีภูมิลำเนำอยู่ ในอำเภอเชียงคำน เดินทำงกลับมำเพ่ือเข้ำรับกำรรักษำ ทำให้จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ 2019 เพ่ิมข้ึนและ กระจำยในทกุ ตำบลของอำเภอเชยี งคำน

คณะกรรมกำรโรคติดต่ออำเภอเชียงคำน ได้กำหนดมำตรกำรป้องกันควบคุมโรคของอำเภอ และกลวิธีในกำร ดำเนินงำนท่สี ำคญั ดังน้ี

1. มำตรกำรในกำรเฝำ้ ระวงั ตดิ ตำมผ้ทู ี่เดนิ ทำงกลับมำจำกพ้นื ทคี่ วบคมุ สูงสุดและเขม้ งวด ทกุ คน 2. กำรค้นหำและตรวจคดั กรองผปู้ ว่ ยเชิงรุก 3. กำรแยกผปู้ ว่ ยทตี่ ิดเช้อื หรือเสี่ยงต่อกำรติดเช้อื รวมทั้งกำรตดิ ตำมผทู้ ่ีสัมผัสเช้ือทกุ รำย 4. กำรตรวจสอบและตดิ ตำมมำตรกำรป้องกนั ควบคุมโรคในสถำนประกอบกำรประเภทต่ำงๆ 5. กำรเผยแพร่ประชำสมั พนั ธ์ให้ประชำชนปฏิบตั ติ ำมมำตรกำร D-M-H-T-T-A 6. กำรใหบ้ รกิ ำรวัคซนี ป้องกนั โรคโควดิ 19 ในประชำชนกลุ่มเสีย่ ง

ปจั จยั ควำมสำเรจ็ ปัญหำอุปสรรค ข้อแสนอแนะเชงิ นโยบำย และโอกำสพัฒนำ 1.นโยบำยทีช่ ัดเจนทั้งในระดับจังหวดั 1.เป็นแหล่งท่องเท่ียวทำให้ยำก อำเภอ ตอ่ กำรเฝ้ำระวังกำรเกิดโรคจำก 1.กำรกำหนดนโยบำยควรให้ 2. ควำมรว่ มมอื ของทกุ ภำคส่วน ในใน นักท่องเที่ยวที่เข้ำมำในพื้นท่ี สอดคล้องกับสถำนกำรณก์ ำรเกดิ โรค ระดบั อำเภอ ตำบล หมู่บ้ำน 2. กำรปกปดิ ข้อมลู ของผปู้ ่วย และควำมพร้อมของพืน้ ที่ 3. กำรเฝำ้ ระวงั ในพืน้ ทีอ่ ยำ่ งใกล้ชดิ และ ทำให้เกดิ กำรแพรร่ ะบำดของโรค 2. กำรผลติ สอ่ื และควำมรู้ สว่ นกลำง ต่อเน่ือง หรือจังหวัดควรสนับสนุนพ้ืนทใ่ี ห้ 4. กำรแยก ตดิ ตำมผ้สู มั ผัสเชื้อ และกำร เพยี งพอต่อกำรดำเนนิ งำน ตรวFจoเชoอื้teจrำกPผagู้ปe่วย1ใ2หoไ้ ดf อ้4ย1.่ำงรวดเรว็ 3. กำรจดั สรรงบประมำณลงพื้นท่ี ควรให้รวดเรว็ ทันต่อกำรนำไปใชใ้ น www.ssock.go.th สานักงานสาธารณสขุ อาเภอเชยี งคาน กำรดำเนนิ งำน

171/1 ม.1 สสอ.เชยี งคาน ต.เชยี งคาน

อ.เชยี งคาน จ.เลย โทร.0 4282 1286

คปสอ.เชยี งคาน One Page Summary 148

ตวั ชีว้ ดั การดาเนิ นงาน

การดาเนินงานชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกลNCD

ควำมสำคญั และสถำนกำรณ์

วัยทำงำนเป็นกลุ่มประชำกรที่เป็นกำลังสำคัญของสังคม มีบทบำทเป็นท้ังผู้ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ เป็น ผู้นำครอบครัว และต้องดูแลประชำกรกลุ่มวัยต่ำงๆในครอบครัว ดังน้ัน กำรพัฒนำคุณภำพชีวิตของวัยทำงำนท้ังด้ำน กำรศึกษำและสุขภำพจึงมีผลต่อกำรพัฒนำเศรษฐกิจสังคมของประเทศ จำกฐำนข้อมูลประชำกรวัยทำงำน(18-59ปี)ใน อำเภอเชียงคำนจำนวน 27,426 คน จำกประชำกรทั้งหมด 51,138 คน คิดเป็นร้อยละ53.63ประกอบอำชีพส่วนใหญ่ เกษตรกรรม ค้ำขำยประกอบธรุ กิจส่วนตวั จำกกำรวิเครำะห์ภำวะสุขภำพของประชำกรกลุ่มวัยทำงำน มีพฤติกรรมสุขภำพ ที่เสี่ยงให้เกิดโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง กำรบริโภคอำหำรรสจัด อำหำรหวำน มัน เค็ม กำรสูบบุหรี่และด่ืมสุรำส่งผลให้ประชำกร ตรวจพบโรคเบำหวำน และโรคควำมดันโลหติ สูงรำยใหม่เพมิ่ ขนึ้ ทกุ ปี

สภำพปญั หำของพ้นื ที่

ผลกำรคัดกรองโรคเบำหวำน ควำมดันโลหิตสูง ในประชำชนอำยุ 35 ปีขึ้นไป ภำพรวมของอำเภอเชียงคำน พ.ศ.2561 –2564 กำรคัดกรองโรคเบำหวำน เท่ำกับ 96.47,93.13,76.44,92.03 ตำมลำดับ อัตรำผู้ป่วยเบำหวำนรำยใหม่ จำกกลมุ่ เสี่ยงเบำหวำน พ.ศ. 2561 – 2564 เท่ำกับ 2.36,2.42,2.02,1.65 ตำมลำดับผลกำรคัดกรองควำมดันโลหิต เท่ำกับ 96.47,94.67,96.41,91.42 ตำมลำดับ อัตรำผู้ป่วยควำมดันโลหิตสูงรำยใหม่จำกกลุ่มเส่ียงควำมดันโลหิตสูง พ.ศ. 2561 – 2564 เทำ่ กบั 3.32,15.43,14.93,25.81ตำมลำดับ

อำเภอเชียงคำนได้มีระบบเฝ้ำระวังโดยกำรใช้กระบวนกำรหมู่บ้ำนจัดกำรสุขภำพและแผนที่ชุมชน จัดต้ังกลุ่ม เศรษฐกิจพอเพียงส่งเสริมกำรปลูกผักปลอดภัยกินเอง จำหน่ำยในชุมชนและตลำดผักปลอดภัยท่ีโรงพยำบำล กำรสร้ำง เสริมสุขภำพ 3อ 2 ส โดยใช้กระบวนกำรหมู่บ้ำนจัดกำรสุขภำพ ให้ชุมชนมีส่วนร่วมในกำรดูแลจัดกำรสุขภำพของคนใน ชุมชน มีกำรพัฒนำศักยภำพ อสม.ในกำรคัดกรองเบำหวำน กำรเฝ้ำระวังกำรเกิดโรครำยใหม่ โดยกำรรับผิดชอบติดตำม เจำะนำ้ ตำลในเลือด วัดควำมดนั โลหิตสูงที่บ้ำน และเป็นตน้ แบบผนู้ ำสขุ ภำพ มีกำรขยำยพ้นื ท่ีดำเนินกำรงำนบญุ ปลอดเหล้ำ ซ่ึงกำรดำเนนิ งำนหมบู่ ำ้ นจัดกำรสุขภำพ ปรับเปล่ียนพฤติกรรม3อ2ส ในเขตตำบลเชียงคำนให้ครบทุกหมู่บ้ำน ได้มีกำรวำง แผนกำรประชำสัมพันธ์กำรให้ควำมรู้ 3อ2ส ให้ทั่วถึงท้ังในกลุ่มปกติ กลุ่มเส่ียง และ ขยำยกิจกรรมในสถำนศึกษำ เช่น โครงกำรปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภำพ ในกลุ่มเด็กวัยเรียนเพื่อป้องกันและลดปัญหำกำรเกิดเด็กอ้วน ผลดำเนินกำรทำให้มี ผู้ปว่ ยรำยใหมล่ ดลง เกดิ ชุมชนต้นแบบ ชมุ ชนวิถใี หม่ ห่ำงไกล NCD ท่บี ้ำนเชยี งคำน หมู่2

อตั รำปว่ ยโรคควำมดันโลหิตสงู และเบำหวำนรำยใหม่ อัตรำป่วยเบำหวำนรำยใหม่ อตั ราป่ วยโรคความดนั โลหิตสูงรายใหม่ ตอ่ แสนประชำกร อำเภอเชียงคำน ปี 2561-2564 ตอ่ แสนประชำกร ต่อแสนประชากร

ปัจจยั ควำมสำเร็จ ปัญหำอุปสรรค ขอ้ แสนอแนะเชิงนโยบำยและ

1.กำรสง่ เสริมกำรมสี ว่ นร่วมและกำรสรำ้ ง 1.กำรระบำดของโรคโควิด19 โอกำสพัฒนำ เครือข่ำยกำรทำงำนในชมุ ชน ส่งผลต่อกำรจัดกรรมในชมุ ชน 2. กำรสง่ เสรมิ ควำมสำมำรถของกลมุ่ 2. กำรปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมตอ้ ง 1.เพม่ิ เครอื ข่ำยกำรเรียนรู้ระหว่ำงชมุ ชน ตำ่ งๆ Fเพoo่อื tแeกrป้ Pัญagหeำท13ส่ี ำoคfัญ4ข1.องชุมชน ใช้ระยะเวลำนำน กบั ชุมชน 2.สง่ เสรมิ ใหม้ สี ิ่งแวดลอ้ มทำงกำยภำพ www.ssock.go.th และทำงสังคมท่เี อือ้ ตอ่ กำรมีสุขภำพดี 3. ขยำยโครงกำรหมูบ่ ำ้ นจัดกำรสขุ ภำพ เพ่มิ ชุมชนตน้ แบบ บุคคลต้นแบบ เป็น แบบอย่ำงของกำรพง่ึ ตนเองในกำร จดั กำรกบั ปัญหำสขุ ภำพในพืน้ ที่

ผลการดาเนินงานตวั ช้วี ัดตามคารบั รองการปฏิบตั ริ าชการ ประจาปี 2564 149 คปสอ.วังสะพงุ จงั หวดั เลย

ตวั ชว้ี ดั ที่ 11 ร้อยละของประชากรผสู้ งู อายุท่ีมีพฤติกรรมสุขภาพทพี่ ึงประสงค์

1. อาเภอวงั สะพุงเขา้ สสู่ ังคมผสู้ ูงอายุ สถานการณ์ 1. ผู้สูงอายไุ ด้รับโอกาสจากหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้องทง้ั • ผสู้ งู อายุจานวน 20,696 คน คิดเป็น ร้อยละ 20.44 ความสาคญั ภาครฐั ภาคเอกชนและประชาชนในพืน้ ที่จัดทากิจกรรม ที่เปน็ ประโยชนต์ ่อสังคมเพือ่ สร้างคณุ คา่ ในตวั เองและมี 2. ผสู้ ูงอายเุ ปน็ กลมุ่ เสี่ยงสงู ท่ีจะเจ็บปว่ ย 5 ลาดบั และสถานภาพ ปญั หา • ความดันโลหติ สงู ร้อยละ 56.57 สุขภาพทแี่ ข็งแรง โดยใช้รูปแบบ • CVD ร้อยละ 18.46 • โรงเรยี นผูส้ ูงอายุ • ข้อเขา่ เสอ่ื มรอ้ ยละ 7.50 • ชมรมผูส้ งู อายุ

• สุขภาพชอ่ งปากร้อยละ 5.96 2. องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ในพื้นทต่ี ระหนกั ถึง

• ภาวะหกลม้ ร้อยละ 1.96 บทบาทหน้าท่ีและความรับผดิ ชอบต่อประชาชนในพ้นื ที่

3. ผู้สูงอายุทม่ี ภี าวะพง่ึ พงิ จะต้องได้รับการดแู ลตามระบบ ปัจจัย โดยเฉพาะกลมุ่ ผู้สงู อายซุ ง่ึ ถือวา่ เป็นปูชนียบคุ คล Long term Care : (LTC) 3.การมีส่วนรว่ มมีจิตอาสาของประชาชนและกลมุ่

1. การจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุในหน่วยบริการยังไม่ได้ ความสาเร็จ องคก์ รตา่ งๆใน พื้นทสี่ ง่ เสริมสนบั สนนุ กิจกรรม ดาเนินการอย่างชัดเจนและเป็นเอกเทศเน่ืองจากขาด บคุ ลากรทางการแพทย์เฉพาะทาง (อายรุ แพทย)์ ตา่ งๆ โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือการดูแผสู้ งู อายุ ใหม้ สี ุขภาพทดี่ ีและมีพฤติกรรมสขุ ภาพทพ่ี ึง ประสงค์

2. เศรษฐานะของผูด้ ูแลผ้สู ูงอายุไมด่ ีทาใหก้ ารดูแล ปัญหา 1. สนบั สนุนการใช้ Blue book และ แอพพลเิ คช่ัน H4U ผ้สู ูงอายุทาไดไ้ ม่เต็มทแี่ ละมคี วามลาบาก อปุ สรรค ในกลุ่ม Pre-ageing เพือ่ เตรียมความพร้อมเข้าสสู่ ังคม ผู้สูงอายคุ ุณภาพ ผลสัมฤทธิ์จากการดาเนนิ งานปี 2564 2. การดาเนินงานเชิงรุกในพ้ืนท่ี โดยสหวิชาชีพ(ภาครัฐ

100 1. การดาเนนิ งานการดูแลผู้สงู อายุตามระบบ Long กลุ่มองค์กรต่างๆ)เพ่ือเฝ้าระวังคัดกรองสุขภาพ และ Term Care ครบ 10 ตาบล 11 อปท. และผา่ นเกณฑ์ 6 องค์ประกอบ ค้นหาผู้สูงอายุท่ีเป็นกลุ่มเสี่ยง เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต

7.22 2. ประชากรสงู อายุทีม่ ีพฤติกรรมสุขภาพทีพ่ ่ึง ข้อเสนอแนะ และการดูแลรักษาแบบบูรณาการอย่างท่ัวถึงเเละ ประสงค์ ผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 50 เชงิ นโยบาย เทา่ เทียมกนั และโอกาส 3. สง่ เสริมสนับสนุนการจดั สิ่งแวดล้อมที่ ปลอดภัยเพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้มใน

3.รอ้ ยละ็ผูสูงอายทุ กุ คนในชมุ ชนได้รบั การประเมนิ คดั กรอง พัฒนา สถานที่ราชการ สถานที่สาธารณะ และจัด

96.98 ปัญหาสขุ ภาพข้ันพนื้ ฐานตามชดุ สทิ ธิประโยชน์(ADL) และ ส่งิ แวดลอ้ มทีป่ ลอดภยั ในที่อยูอ่ าศัยของผู้สูงอายุท่ีมีภาวะ ประเมินสขุ ภาพและคดั กรองกลมุ่ อาการผสู้ ูงอายุ 9 ข้อ (ร้อยละ 90) พึง่ พิง

100 4.ผูส้ งู อายุท่ีไดร้ บั การคัดกรองแล้วพบเป็นกลมุ่ เสย่ี งหกลม้ สมอง ผลงานการคดั กรองและเฝ้าระวงั สุขภาพสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2564 เสื่อม และขอ้ เข่าเสื่อม ได้รับการดูแลแกไ้ ขปญั หาปอ้ งกนั ปัจจยั เสยี่ ง ส่งเสรมิ สุขภาพในระดับปฐมภูมิ การสง่ ต่อ และการรกั ษาที่ 95.3 96.48 96.32 96.3 94.46 96.98 99.34 เหมาะสม (รอ้ ยละ 90) 72.49 58.84 98.25 5.ร้อยละผสู้ ูงอายุและผู้มีภาวะพง่ึ พงิ ทผี่ า่ นการประเมินคัดกรองและมี ปญั หาดา้ นสขุ ภาพ ได้รับการดูแลและวางแผนการส่งเสริมดูแล 37.78 สขุ ภาพรายบคุ คล(Care Plan) (ร้อยละ 85)

ขบั เคล่ือนดว้ ยกลไกคณะกรรมการพัฒนา FคooุณterภPagาeพ14ชofวี 41ิต. ระดบั อาเภอ อาเภอวงั สะพุง

ผลการดาเนนิ งานตัวชีว้ ดั ตามคารบั รองการปฏบิ ัติราชการ ประจาปี 2564 150

คปสอ.วงั สะพงุ จังหวดั เลย

ตัวชีว้ ัดท่ี 4 รอ้ ยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยปว่ ยโรคเบาหวานและความดนั โลหติ สูง 4.1 ร้อยละการตรวจตดิ ตามกลมุ่ สงสยั ปว่ ยโรคเบาหวาน >60% 4.2 รอ้ ยละการตรวจตดิ ตามกลมุ่ สงสยั ป่วยโรคความดนั โลหิตสงู >70%

สถานการณ์ สภาพปญั หา กระบวนการดาเนนิ งาน

แผนภูมิแสดงอัตราผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหติ สงู รายใหม่ 1. สร้างชมุ ชนตระหนกั ภัย NCDs “มจั จุราชสนี ้าผ้ึง” 1,330.42 1,542.51 1,379.56 1,364.83 1366.93 2. คนื ขอ้ มูลใหช้ ุมชน เช่น ข้อมลู ผูป้ ว่ ยที่มภี าวะแทรกซ้อนและวางแผนการ 635.24 609.69 638.91 639.18 555.93 ด้าเนินงานรว่ มกัน

ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 3. ทีมบ้าน วดั โรงเรยี น และสาธารณสขุ “บวรสาร” ด้าเนินการเฝา้ ระวงั โรคแทรกซอ้ นเชงิ รกุ เบาหวาน ความดันโลหิตสงู

ผลการดาเนินงาน การจดั บรกิ ารเชื่อมโยงชมุ ชนที่ครอบคลมุ ทุกระยะของโรค

95.37 รอ้ ยละการตรวจติดตามกลมุ่ สงสยั ปว่ ยโรคเบาหวาน กลมุ่ ปกติ • รณรงคใ์ หค้ วามรู้เชงิ รกุ • มชี ่องทางให้คาปรึกษาปญั หาสขุ ภาพ สายด่วนต่างๆ

กล่มุ เส่ียง • ปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมไม่ให้กลายเป็นกล่มุ ปว่ ย

97.71 รอ้ ยละการตรวจตดิ ตามกลมุ่ สงสัยปว่ ยโรคความดนั โลหิต กลุม่ สงสยั ปว่ ย • ปรับเปล่ยี นพฤติกรรม การตดิ ตามซา้ สงู กลมุ่ ป่วย • ดูแลโดยใช้ CPG นวัตกรรมชอ้ นไมเ่ กินโหล กลมุ่ ผปู้ ว่ ยติดบา้ น • คัดกรองภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์มาตรฐานในทุกระดบั ติดเตยี ง • การป้องกนั การภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลนั และเร้ือรัง

• เยีย่ มบ้านโดยทีมสหสาขาวชิ าชีพ ดแู ลแบบองคร์ วม • ชุมชนมสี ่วนรว่ มในการดแู ล

นวตั กรรมธงสชี ้รี ะยะ ปจั จยั แหง่ ความสาเร็จ 1. ผบู้ รหิ ารใหค้ วามส้าคญั และสนับสนุนการดา้ เนินงาน Footer Page 15 of 41. 2. ทมี งาน NCD คปสอ.และภาคีเครอื ข่ายเข้มแขง็

ปญั หาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1. ประชาชนมีความเชือ่ ผดิ ๆจากโฆษณาชวนเชอ่ื ต่างๆ เช่น ยาสมนุ ไพร อาหารเสรมิ ฯลฯ

2. ในบางพ้ืนทมี่ ีปญั หาเร่ืองยาเสพติดท้าให้การตดิ ตาม เยย่ี มขาดความตอ่ เน่ือง

3. การบูรณาการทุกภาคสว่ นให้มสี ่วนร่วมด้าเนินการ โดย เนน้ เรม่ิ ดา้ เนินการต้งั แต่โรงเรียน

ผลการดาเนนิ งานตวั ชีว้ ดั ตามคารับรองการปฏิบัตริ าชการ ประจาปี 2564 151

คปสอ.วังสะพงุ จงั หวัดเลย

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 5 อตั ราตายของผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองและระยะเวลาท่ไี ด้รับการรกั ษาทเ่ี หมาะสม 5.1 อัตราตายของผปู้ ่วยโรคหลอดเลอื ดสมอง <7% 5.2 ร้อยละผ้ปู ว่ ยโรคหลอดเลือดสมองตบี /อดุ ตันระยะเฉยี บพลัน(I63)ทมี่ อี าการไม่เกิน 4.5 ช่ัวโมง

ไดร้ บั การรักษาด้วยยาละลายล่ิมเลอื ดทางหลอดเลือดดา ภายใน 60 นาที (door to needle time) > 60%

สถานการณ์ สภาพปญั หา

จากสถิติขอ้ มลู ปี 2560-2564 อาเภอวงั สะพุงมีจานวนผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองติดอันดับ 2 ใน 5 ของจังหวัด โดยมี แนวโน้มเพม่ิ ข้นึ ในทุกปี และรายใหมท่ ่เี พม่ิ ข้ึนอยู่ในกลมุ่ อายทุ ี่น้อยลงและไม่มปี ระวตั โิ รคประจาตวั มากอ่ น และจานวนกลุ่ม ผู้ป่วยท่ีเข้า Stroke fast track มีปริมาณน้อยกว่าเกณฑ์ ทั้งนี้พบอัตราการตายมีแนวโน้มลดลง เน่ืองจากการวินิจฉัยและ ระบบการส่งตอ่ ที่รวดเร็ว

อัตราตายและอัตราสง่ ต่อผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลือดสมอง ปี 2560-2564 Pre-Hospital • ประชาสัมพันธ์ความรู้ประชาชนผ่าน In-Hospital เครอื ข่าย/ รพ.สต.การประเมนิ อาการ 100 70 80.7 Post-Hospital 80 67.3 59.43 60.9 • พัฒนาศักยภาพทมี สหวิชาชพี / ปรบั ปรงุ Standing order order และ 60 CPG/ ทบทวน Case/การบริหารยา/ การดแู ล 40 • วางแผนดแู ลต่อเนื่อง/ฟ้นื ฟสู ภาพ/ 20 0.95 0.71 1.17 0 0 ปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรม 0

ป2ี 560 ป2ี 561 ปี2562 ปี2563 ปี2564

เสียชวี ิต Stroke FT referใน30นาที

ปญั หาอปุ สรรค และข้อเสนอแนะ ผลงานเดน่ หรือนวัตกรรมทเ่ี ป็นแบบอย่าง

- ขาดอายุรแพทยแ์ ละสถานทสี่ าหรบั การทากายภาพ 1. การจัดโครงการควบคุมและป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่ม - การประสานงานและการสื่อสารระหว่างทีมยงั ไมเ่ ปน็ เส่ียง โดยทาสติ๊กเกอร์ติดตามบ้านท่ีมีผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงเพื่อการเฝ้าระวังโรค ระบบ หลอดเลือดสมอง ซ่ึงพบว่ามีจานวนปู้ป่วยเข้าเกณฑ์ Stroke fast track - ระบบการจดั เก็บข้อมลู และการติดตามผู้ป่วยในบางราย มากข้ึน ( โครงการนาร่อง PCC วังสะพุง ปี 2562 ) และมีแผนจัดทาอย่าง ยังไมต่ อ่ เนอ่ื ง ต่อเนอ่ื งในปี 2564 ชื่อโครงการควบคุมและป้องกันโรคหลอดเลือดสมองใน - การเข้าถึงการรับบริการและความรู้ตา่ งๆ ของประชาชน กลมุ่ เสย่ี ง ตาบลวงั สะพงุ อาเภอวังสะพุง ปีงบประมาณ 2564 ยงั จากัด 2. โครงการสร้างเครือข่ายและเพ่ิมศักยภาพทีมสหวิชาชีพเพื่อการ ฟ้ืนฟูสมรรถภาพผู้ป่วยระยะกลาง ( Intermediate Care : IMC ) ปงี บประมาณ 2564

Footer Page 16 of 41.

152

ในปี 2564 (1 ม.ค. – 31 ส.ค. 2564) ประเทศไทย มีรายงานผู้ป่วย จานวน 5815 ราย ผู้ป่วยเสียชีวิต 6 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 8.79 ต่อประชากรแสนคน อตั ราปว่ ยตายเท่ากับ ร้อยละ 0.09 จังหวัดเลยมีผู้ป่วย จานวน 32 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 4.98 ต่อ ประชากรแสนคน อาเภอหนองหินมีผู้ป่วยจานวน 9 ราย อัตราปว่ ยเท่ากบั 35.65 ต่อประชากรแสนคน

เป้าหมายอาเภอหนองหนิ คา่ มัธยฐานยอ้ นหลงั 5 ปี = 127.13 ตวั ชว้ี ดั อัตราป่วยลดลงไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 10 ของค่ามธั ยฐาน ย้อนหลงั 5 ปี คอื 114.41 (ไม่เกิน 28 ราย)

40 11.92 23.93 27.81 35 จานวน 9 ราย ค่ามธั ยฐาน 30 อตั ราปว่ ย 35.65 ตอ่ ประชากร อั ต ร า ป่ ว ย 25 แสนคน 23.77 15.89

20 ณ วนั ท่ี 31 ส.ค. 64

15

10 0 3.97 4.01 7.92 4.01 3.96 0 00 50 00 000 00000

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.

พบผ้ปู ว่ ยจานวน 7 หมู่บ้านคิดเป็นรอ้ ยละ 20.58

ยงั ไมพ่ บ GEN 2

▪ การจดั การส่งิ แวดล้อมในชุมชนยงั น้อย ▪ ไมต่ ะหนกั และไม่ให้ความสาคญั ในการควบคมุ

และปอ้ งกนั โรค ▪ มองขา้ มว่าโรคไข้เลือดออกวา่ เปน็ เรอื่ งไกลตวั ▪ รอแต่หนว่ ยงานให้ความช่วยเหลอื ▪ ไดร้ ับความร่วมมอื จากประชาชนและชมุ ชนยงั

ไมม่ ากเท่าท่คี วร

▪ 1.ศกึ ษาวิจัย การมีส่วนรว่ มของประชาชนในการป้องกนั และควบคุมโรคไข้เลือดออก ▪ 2.เน้นการจัดการส่ิงแวดล้อม การจัดการขยะในชุมชน Foot▪er Pa3ge.จ1ดั 7กoาfร4ป1ร. ะกวด ชมุ ชนสะอาด

153

อัตราปว่ ยรายใหมD่ M/แสน ปชก

800 600 อำเภอหนองหินมีประชำกรกลำงปี 2564 ท้ังหมด 400 200 20,677 คน มีผู้ปว่ ยโรคเบำหวำน 332 คน พบผู้ป่วย

0 2561 2562 2563 2564 รำยใหม่ 118 คน คิดเป็น 472.06 ต่อแสนประชำกร 440.3 245.85 472.06 โรคเบำหวำนรว่ มกับโรคควำมดันโลหิตสูง 1,243 คน อำเภอ 610.15 652.01 331.6 519.63 และโรคควำมดันโลหิตสูง1,481 คน พบผู้ป่วยใหม่ จงั หวัด 677.77 เขต 511.33 433.77 275 413.46 จำนวน 178 คน คิดเป็นร้อยละ 712.09 ต่อแสน ประเทศ 599.2 461.45 238.77 354.63 ประชำกร

รพ.สต.หนองหมากแกว้ มีการดาเนนิ กจิ กรรมหมู่บา้ นปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมสุข โดยใช้บ้านหนองจิก หมู่ 12 เปน็ หมูบา้ นนารอ่ ง โดยบรู ณาการกาย จิต สงั คม มาใช้ เกดิ กระบวนการเรียนรู้รว่ มกัน ในชมุ ชน โครงการตา่ งๆ เพ่อื ขับเคลือ่ นกจิ กรรม เชน่ ถนนกินได้ งานศพปลอดเหล้า การผลติ และ บริโภคผักปลอดสารพิษในครวั เรือน การออกกาลังกายดว้ ยวิถีพ้ืนบา้ น บาสโลป เปน็ ต้น

▪ ผนู้ าและชุมชนมคี วามเขม้ แขง็ ▪ บรบิ ทเชิงสังคมเออ้ื ต่อการดาเนินงานสู่ความสาเร็จ

▪ COVID – 19 ทาให้การรวมตัวทากจิ กรรมลาบาก ▪ ขาดนกั วชิ าการในการวิเคราะหข์ ้อมูลชมุ ชน ▪ การเคลื่อนยา้ ยแรงงาน ▪ ผูน้ าทางธรรมชาติยังมีอิทธพิ ลในชมุ ชนนอ้ ย

▪ ควรมกี ารสนับสนนุ งบประมาณดาเนินการอย่างต่อเนอ่ื ง ▪ ให้เกยี รติตน้ แบบทางสงั คม เพ่อื กระตนุ้ ใหเ้ กกิ ารเลยี นแบบ Fo▪oterพPัฒagนeา1ก8ิจoกfร4ร1.มให้เกดิ ความย่งั ยืนในชมุ ชน

154

เครอื ขำ่ ยบริกำรสุขภำพอำเภอหนองหิน เป็นเครือขำ่ ยบริกำรภำครัฐทใ่ี หบ้ ริกำรทงั้ ระดบั ปฐม ภูมิและทุติยภูมิ เพ่ือกำรดูแลสุขภำวะท่ีดีของประชำชนในพ้ืนท่ี ซึ่งกำรให้ควำมสำคัญในกำรส่งเสริม สนับสนุนให้บุคลำกรมีกำรพัฒนำตนเองอย่ำงต่อเนื่อง รวมท้ังสนับสนุนกำรพัฒนำคุณภำพด้ำน วชิ ำกำร กำรศึกษำค้นคว้ำวิจัย ให้แก่บุคลำกรทำงกำรแพทย์และสำธำรณสุขในเครือข่ำย จะส่งผลให้ เกดิ กำรนำควำมรไู้ ปพฒั นำงำนและแก้ไขปัญหำสขุ ภำพในพืน้ ทไี่ ด้อยำ่ งเหมำะสม

คปสอ.หนองหนิ ดำเนนิ กิจกรรมวิชำกำรเพอื่ พัฒนำนวตั กรรมกำรจัดบริกำรสุขภำพ ผ่ำน โครงกำร มหกรรมวิชำกำร “สรำ้ งสรรคส์ ิง่ ใหม่ พฒั นำเครอื ข่ำยวิจัย นวตั กรรม คปสอ.ผำขำว - หนองหนิ ” ดว้ ยกะบวนกำร PDCA ให้บคุ ลำกรเกิดกระบวนกำรเรยี นรู้ เกิดงำนวจิ ยั จำนวน ๑๒ เรอ่ื ง R2R จำนวน ๓ เรอื่ ง และ CQI จำนวน ๗ เรอื่ ง

▪ ผ้บู ริหำรเล็งเห็นควำมสำคญั ของกำรพัฒนำบคุ คลำกรให้เกิดองคก์ รแหง่ กำรเรยี นรู้ เกิดคุณ อำนวย ที่มีประสิทธภิ ำพ ทำใหก้ ำรขับเคลอ่ื นงำนเปน็ ไปไดด้ ้วยควำมรำบรืน่

▪ COVID – 19 ทำใหก้ ำรดำเนินกำรตำมโครงกำรไมเ่ ปน็ ไปตำมท่ีวำงแผนไว้

▪ ควรมกี ำรสนบั สนนุ งบประมำณดำเนินกำรอย่ำงต่อเน่อื ง ให้เกดิ ควำมยัง่ ยนื และเกิดองคก์ ร แหง่ กำรเรยี นรอู้ ย่ำงแท้จรงิ

Footer Page 19 of 41. การศึกษาปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพอย่างมสี ว่ นรว่ มกล่มุ เส่ียงโรคเบาหวาน

การศกึ ษาประสทิ ธผิ ลของการใชส้ มุนไพรบาบดั ร่วมกบั MATRIX Program

155 Footer Page 20 of 41.

156 Footer Page 21 of 41.

157 Footer Page 22 of 41.

One Page ผลการปฏิบัติราชการของ รพร.ดา่ นซ้าย ป ตัวช้วี ดั ท่ี 7 : ทกุ อาเภอสามารถควบคมุ สถานการณโ์ รคตดิ เชื้อไว

1. สถานการณ์

• ณ วันที่ 4 ก.ย.64 มผี ้ปู ่วยโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 201 ผู้ปว่ ยในพน้ื ที่ 15 ราย นอกพ้นื ท่ี 211 ราย กาลงั รกั ษ รพท.เลย 2 ราย อกี 1 ราย อายุมากร่วมกบั มภี าวะอมั

2. ความสาคัญ

• เป็นโรคระบาดทมี่ คี วามรุนแรงสงู สง่ ผลกระทบต่อดา้ น ดารงชวี ติ แบบใหมใ่ นทกุ ดา้ น

3. สภาพปัญหาในพื้นที่

• ผ้ปู ว่ ยโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นผ มากกวา่ ร้อยละ 95

• จานวนเหตกุ ารณ์การระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา Footer Paพgeืน้ 2ท3่ีoทf ัง้41ห.มด 4 เหตกุ ารณ์

ประจาปี 2564

158

วรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้สงบได้ภายใน 21-28 วัน

บรบิ ท

19 (COVID-19) สะสมในอาเภอด่านซ้ายรวม 226 ราย เปน็ ษาตวั 1 ราย หายกลับบา้ น 222 ราย สง่ ตอ่ และเสยี ชีวิตท่ี มพาต และญาตปิ ฏิเสธการสง่ ต่อ นสขุ ภาพและเศรษฐกจิ ของประชาชน มีการปรับวถิ ีการ

ผ้ตู ดิ เชื้อท่มี าจากต่างจังหวดั และขอกลับมารักษาตัวท่ีภมู ลิ าเนา า 2019 (COVID-19) ทอ่ี าเภอดา่ นซา้ ย มกี ลมุ่ การระบาดใน

One Page ผลการปฏิบัติราชการของ รพร.ดา่ นซา้ ย ปร ตวั ช้วี ดั ท่ี 7 : ทุกอาเภอสามารถควบคุมสถานการณ์โรคติดเชื้อไว

ปัจจัยแห่ง • มีศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารควบคมุ โรคอาเภอ ความสาเร็จ • มกี ารจัดหาทรพั ยากรท่ีต้องใช้ในก • มกี ารบริหาร พฒั นาบคุ ลากร แบบ ปญั หาและ • มีการป้องกนั และควบคุมการติดเช อปุ สรรค • มกี ารตดิ ตามผ้สู ัมผสั โรคและควบค • มีการสอ่ื สารความเสีย่ ง และบงั คบั ข้อเสนอแนะเชงิ • มกี ารประสานความร่วมมอื การทา นโยบายและโอกาส Footeพr Pัฒaนgeา24 of 41. • การบังคบั ใช้กฎหมายของศนู ย์ปฏิบ • การปกปิดข้อมูล Timeline ของผ • ประชาชนมคี วามตื่นตระหนกต่อส

ป้องกนั ทก่ี าหนดไว้

• การนาเสนอสถานการณ์และข้อม ให้ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว และถูกตอ้ ง เพ

• การจัดสรรวคั ซีนปอ้ งกนั โรค ควร

ระจาปี 2564

วรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ใหส้ งบไดภ้ ายใน 21-28 วนั 159

อด่านซ้าย การดูแลผู้ป่วยได้อย่างเพียงพอ บบรู ณาการทกุ ภาคส่วน ชอื้ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ คุมการระบาดในชุมชนได้อยา่ งรวดเรว็ บใช้ มาตรการทางสงั คมและกฎหมาย างานกับองค์หน่วยงานภายนอก

บัติการควบคมุ โรคอาเภอด่านซ้าย ไม่สามารถดาเนนิ การไดอ้ ย่างเตม็ ที่ ผู้ปว่ ยบางคน มีผลต่อการแพร่กระจายเชอ้ื และการควบคมุ โรค สถานการณ์การระบาดในชุมชนไมส่ ามารถปฏบิ ัติตวั ได้ตามมาตรการการ

มลู ของผูป้ ว่ ยโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ควรดาเนนิ การ พ่ือการเฝ้าระวังและการควบคุมโรค รจดั ใหม้ อี ย่างเพยี งพอ และรวดเรว็

One Page ผลการปฏิบัติราชการของ รพร.ดา่ นซา้ ย ปร ตวั ชีว้ ดั ที่ 9 : ความสาเรจ็ ของการเฝ้าระวังมารดาตาย

1. สถานการณ์

• ถึงวนั ที่ 31 สิงหาคม 2564 มีมารดาคลอด 583 คน โดยเป็นม สง่ ตอ่ มารดาต้ังครรภไ์ ป รพ.เลย 6 คน มารดาต้ังครรภต์ ดิ เชือ้ ตั้งครรภ์ 9 และ 28 wks. และ 1 คนคลอดท่ากน้

• รอ้ ยละหญิงต้ังครรภเ์ สี่ยงสูงและเสี่ยงสงู มากได้รบั การดแู ล เทา่ • รอ้ ยละหญิงตัง้ ครรภไ์ ดร้ ับการฝากครรภ์ 5 ครง้ั คณุ ภาพ เทา่ กับ • ร้อยละมารดาตกเลอื ดหลงั คลอดเท่ากับ 2.25 • ร้อยละหญิงหลังคลอดไดร้ บั การดูแล 3 ครั้งตามเกณฑ์ เท่ากบั • อตั ราส่วนมารดาตาย เป็น 0

2. ความสาคัญ

• อาเภอดา่ นซา้ ยอยู่ห่างไกลจาก รพ.เลย 82 กม. ทาใหก้ ารสง่ ตอ่ และงานห้องผา่ ตดั เพ่อื ให้การดูแลประชาชนใน อ.ดา่ นซา้ ยและ

3. สภาพปัญหาในพื้นท่ี

• เดิมมีสตู ิ-นรแี พทยเ์ พยี ง 1 คน ทาใหย้ ากลาบากในการดแู ลผู้ปว่ Footer Pagผeู้ป2่ว5ยoทf า4ไ1ด. ม้ ากขนึ้

• พน้ื ท่หี ลายแหง่ เป็นภูเขา ทาใหไ้ ม่สะดวกในการมาใช้บริการในโร

ระจาปี 2564 160

บริบท

มารดาคลอดทางชอ่ งคลอด 396 คน ผา่ ตดั คลอด 187 คน (ร้อยละ 32) covid-19 จานวน 3 คน (รบั กลบั จากภายนอกทัง้ หมด) โดย 2 คน ากับ 95 บ 81.3 บ 67.21

อผ้ปู ว่ ยลาบาก จงึ ไดม้ กี ารพฒั นางานฝากครรภ์ งานห้องคลอด หลังคลอด ะเป็น node ให้ รพ. ภูเรอื และนาแหว้ ในการดแู ลงาน MCH

วย 24 ชม.ทกุ วัน แต่ปจั จบุ ันมีสูติ-นรีแพทยเ์ พิม่ อกี 1 คน ทาใหก้ ารดแู ล รงพยาบาล

One Page ผลการปฏบิ ตั ริ าชการของ รพร.ด่านซา้ ย ปร ตัวชี้วดั ที่ 9 : ความสาเรจ็ ของการเฝ้าระวงั มารดาตาย

ปจั จยั แหง่ • มีการพัฒนาศักยภาพในการดแู ลผู้ป่ว ความสาเร็จ หลังคลอด

ปัญหาและ • การใชบ้ ุคลากรคร่อมสายงาน เช่น พ อุปสรรค รว่ มกบั พยาบาลหอ้ งฉกุ เฉิน

ขอ้ เสนอแนะเชิง • การพฒั นาศกั ยภาพการส่งตรวจ คลงั นโยบายและโอกาส • การพัฒนางานฝากครรภค์ ุณภาพใหเ้ จ

Footพeฒัr Pนaาge 26 of 41. ประสิทธิภาพ

• ดว้ ยสถานการณโ์ รคติดเชื้อไวรสั โคโร ความเส่ียงมากขน้ึ

• การไม่มหี ้องคลอดและห้องผ่าตดั แรง • การใช้งานเจา้ หน้าที่แบบครอ่ มสายงา • จนท. รพ.สต. บางแหง่ ไม่มีพยาบาล

• ควรจดั ใหม้ หี อ้ งคลอด และห้องผา่ ตดั • เพมิ่ อัตรากาลังเจ้าหนา้ ท่แี ละพัฒนา

ระจาปี 2564

161

วย สามารถใหบ้ ริการได้ครอบคลมุ ตงั้ แตก่ ารฝากครรภ์ การคลอดและ

พยาบาลหอ้ งผ่าตดั ร่วมกับงานหอ้ งคลอด และ OPD มวี ิสญั ญีพยาบาล

งเลอื ด และหอ้ งผ่าตัด เพอ่ื ลดปญั หาการสง่ ตอ่ จ้าหนา้ ที่ รพ.สต. เพ่ือใหก้ ารฝากครรภ์และตดิ ตามหลงั คลอดได้อยา่ งมี

รนา 2019 (COVID-2019) สง่ ผลให้การดูแลผปู้ ่วยทาได้ยาก และเกิด

งดนั ลบ าน เสยี่ งต่อการผิดพลาดจากการขาดความชานาญ และขาดกาลังคน ล และมกี ารโยกย้าย จนท.บอ่ ย

ดแรงดนั ลบ าคณุ ภาพ และศักยภาพอยา่ งต่อเนื่อง

One Page ผลการปฏบิ ตั ิราชการของ รพร.ดา่ นซา้ ย ปร ตวั ช้วี ัดท่ี 10 : ความสาเร็จของการดาเนนิ งานสง่ เสรมิ พฤตกิ รรม

และในชุมชน

1. สถานการณ์

• อาเภอด่านซา้ ย มีประชากรผู้สูงอายุ 60 ปขี นึ้ ไป 9,0 คดิ เป็น 11.8% เขา้ ส่สู งั คมผสู้ งู อายุอยา่ งสมบรู ณแ์ บบ

2. ความสาคัญ

• อาเภอด่านซา้ ย มีความเปล่ยี นแปลงดา้ นโครงสร้างป ใหก้ ารเก้อื หนนุ ดแู ลผู้สูงอายุ กลบั มีแนวโน้มลดลง (ว ครอบครัวลดลงตามไปดว้ ย รวมท้ังผสู้ ูงอายสุ ว่ นใหญ ตนเอง ในการดารงชีวิตประจาวันลดลง เนอ่ื งจากควา

3. สภาพปญั หาในพ้นื ที่

• ผสู้ งู อายอุ าเภอดา่ นซา้ ย มีภาวะปว่ ยด้วยโรคเบาหวาน คดิ เป็น 61.8%

Footer Pa•geผ27้สู งูoอf 4า1ย. ุ ทเี่ ปน็ ผู้ปว่ ยติดสังคม 92.63% ผปู้ ่วยตดิ บ้าน

ระจาปี 2564

162

มสุขภาพท่พี งึ ประสงค์ และการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายุในสถานบรกิ าร

บรบิ ท

043 คน คิดเป็น 17.6% และมผี ้สู งู อายุ 65 ปีข้นึ ไป 6,049 คน บ

ประชากรท่ีมีสัดสว่ นประชากรวยั แรงงานและวยั เด็กท่สี ามารถ วัยแรงงานทางานต่างถิ่น) ซ่งึ สง่ ผลให้ศักยภาพของผูส้ งู อายใุ น ญ่ มปี ญั หาด้านสขุ ภาพและความสามารถในการช่วยเหลือ ามเสื่อมของร่างกายและจากสภาพอายุท่ีเพม่ิ ข้ึน

น, ความดันโลหติ สูง และถุงลมโป่งพอง รวม 5,587 คน

น 2.96% ผู้ป่วยตดิ เตียง 0.78%

One Page ผลการปฏิบัติราชการของ รพร.ดา่ นซ้าย ประ ตัวชีว้ ัดท่ี 10 : ความสาเร็จของการดาเนินงานสง่ เสริมพฤติกรรมส

ในชมุ ชน

ปัจจยั แหง่ • มโี รงเรียนผสู้ งู อายุ ทม่ี ีผ้สู งู อายเุ ป็นต ความสาเรจ็ รปู ธรรม

ปญั หาและ • มแี พทยเ์ วชปฏบิ ัติครอบครวั จานวน อุปสรรค • มีองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ และหน

กบั ผู้สูงอายุ • ผู้สูงอายสุ ามารถจดั กิจกรรมเพื่อเปิด

• ด้วยสถานการณโ์ รคติดเชื้อไวรสั โค กจิ กรรมได้อย่างต่อเนอื่ ง

ขอ้ เสนอแนะเชิง • ควรจัดใหม้ กี ารขยายการจัดตั้งโรง นโยบายและโอกาส Footeพr ฒัPaนgeา 28 of 41.

ะจาปี 2564

สุขภาพทพี่ ึงประสงค์ และการดูแลสุขภาพผู้สูงอายใุ นสถานบรกิ า1ร6แ3ละ

ต้นแบบในการดาเนินชวี ติ จานวน 6 แหง่ สามารถดาเนนิ งานได้อยา่ งเปน็ น 2 คน และมที ีมสาหรบั การคดั กรองภาวะสุขภาพของผู้สงู อายุ ทุก รพ.สต. น่วยงานอ่ืนๆ รว่ มสนบั สนุนการจัดกิจกรรม และสนับสนุนงบประมาณให้ ดโรงเรยี นผ้สู งู อายุได้ดว้ ยกลมุ่ ของผสู้ ูงอายุเอง คโรนา 2019 (COVID-2019) ส่งผลให้โรงเรียนผสู้ งู อายุ ไมส่ ามารถดาเนนิ

งเรยี นผสู้ ูงอายุให้ครอบคลุมทุกตาบล

7ตัวชว้ี ัดท่ี ทกุ อำเภอสำมำรถควบคมุ สถำนกำรณโ์ รคตดิ เชอ้ื ไวรสั 164 โคโรนำ 2019 (COVID-19) ให้สงบได้ภำยใน 21-28 วนั

สิ่งที่โดดเดน่ /เชงิ บวก สถำนกำรณโ์ รคติดเชื้อไวรสั โคโรนำ 2019 (COVID–19)

1.กำรควบคุมโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนำ 2019 ผู้ป่ วยสะสม อำเภอผำขำว (COVID-19) สงบภำยใน 21 วนั 2.ผู้บรหิ ำรใหค้ วำมสำคัญกบั กำรแก้ปญั หำในพ้นื ท่ี 241

250

200 153

150

100 74 50 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 021 8 0 140 29

0

ม.ค ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. รวม

นอกพนื้ ท่ี ในพนื้ ท่ี 270 ราย

ปัจจยั ควำมสำเรจ็ ปญั หำอุปสรรค ควำมสำคญั

1.ผู้บรหิ ารมีการกาหนด 1.ผู้เดนิ ทางมาจากพ้ืนทเี่ ส่ียง 1.คัดกรองและตดิ ตามกลมุ่ เสยี่ งท่ีเดินทางมาจากพ้ืนท่เี ส่ยี ง ยุทธศาสตร์ มาตรการ เปา้ หมาย บางคน ไม่ปฏบิ ตั ิตาม 2.รณรงคใ์ ห้ประชาชนกลุ่ม 608 ลงทะเบยี นฉดี วคั ซีนใหค้ รอบคลุม ในการตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉนิ มาตรการ ก.โรคติดตอ่ 3.ความทันเวลาในการควบคุมโรคของทมี SRRT ทมี 5 เสอื 2.ผูบ้ ริหารสนับสนนุ คน เงิน ของ จงั หวัด/อาเภอ อยา่ ง ใหก้ ับกลุม่ ภารกจิ ต่างๆ และ เครง่ ครดั สภำพปญั หำในพ้ืนท่ี บูรณาการการดาเนนิ งานร่วมกบั 2.การกาหนดนโยบาย ศบค./ ทกุ ภาคส่วน กระทรวง ล้าช้าและ คนท่ีไปทางานตา่ งจงั หวดั มีการตดิ เช้อื และเดินเขา้ มาใน 3.มีขวญั และกาลังใจใหก้ บั เปลี่ยนแปลงบ่อยครง้ั ทาให้ พน้ื ท่ี อาเภอผาขาว แล้วไม่รายงานตวั ทาให้เกิดการระบาดของ ผู้ปฏบิ ัตงิ าน เกิดความยากลาบากในการ โรคในพ้ืนที่ ปฏบิ ตั งิ านของพน้ื ที่

ข้อเสนอแนะเชิงนโยบำยและโอกำสพัฒนำ

1.ประชาชนทุกคนสามารถใช้ชีวติ วถิ ี New normal 2.สง่ เสรมิ พัฒนาศักยภาพประชาชนใหส้ ามารถดูแลสุขภาพดว้ ยตนเองได้ และเข้าถงึ ระบบบริการ 3.พฒั นาความรู้และศกั ยภาพเจา้ หน้าท่ี เกย่ี วกับโรคระบาด โดยผู้เชี่ยวชาญ

คFณooteะrPกageร29รoมf41ก. ำรประสำนงำนสำธำรณสขุ ระดบั อำเภอผำขำว จังหวัดเลย โทร. 042-818 101 , 042-818 130

โรงพยาบาลนาดว้ ง

ประเดน็ ตวั ช้วี ัดการปฏบิ ตั ิราช1ก65าร ประจาปงี บประมาณ 2564

ตวั ชีว้ ัด 7 ทกุ อาเภอสามารถควบคมุ สถานการณ์โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ใหส้ งบได้ ภายใน 21-28 วนั

วิเคราะห์สถานการณ์ สภาพปัญหา

โลก อเมริกา ไทย เลย นาดว้ ง

220,616,347 คน 40,703,674 คน 1,236,219 คน 2,651 คน 177 คน

ข้อมูล ณ วนั ที่ 4กันยายน 64

ปัญหาทีพ่ บในพนื้ ท่ีคอื มีประชากรเดินทางไปขายลอตเตอรแี่ ละไปทางานในจังหวดั พืน้ ทีเ่ ส่ยี ง ท่ีมกี ารระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 จานวนมากและเมอื่ กลับบา้ นพบว่าบางคนไมไ่ ด้แยกกักตวั และอยู่รว่ มกับกบั คนในครอบครวั ทาให้เกดิ การตดิ เช้ือของคนในครอบครวั และเกิดกลุ่มเส่ียง ผู้สัมผสั ในชุมชน

กระบวนการ

❖ ค้นหาและการรายงานตวั เพอ่ื สอบสวนโรคและตรวจหาเชื้อ ❖ ตรวจคดั กรองเชิงรกุ ATK ❖ จดั ต้งั ศนู ย์ LQ 5 แหง่ เพ่อื กกั ตัวผ้ทู ่ีเดินทางจากพ้นื ทเ่ี ส่ียง ❖ จดั ต้ังศูนย์ CI เพอ่ื ดูแลรกั ษาผู้ป่วยที่มผี ล ATK

positive ระหวา่ งรอผลตรวจ RT-PCR confirm

❖ จัดต้ังหอผ้ปู ่วย cohort ward เพ่ือดูแลรกั ษาผู้ป่วย ตดิ เชื้อทีเ่ ปน็ ผ้ปู ่วยอาการสีเหลอื งและผปู้ ่วยรายใหม่

❖ จดั ตงั้ โรงพยาบาลสนามอาเภอนาด้วง เพอ่ื ดแู ล รักษาผู้ป่วยสีเขียวและผู้ปว่ ยสเี หลืองท่อี าการดี

❖ ลงFพo้นืotทe่แีr ลPaะgอeอ3ก0สoอfบ4ส1ว. นโรค เพื่อค้นหาผู้ป่วยและผมู้ ปี ระวัติเสี่ยงสมั ผัสทันที ❖ มีทีมฉีด vaccine covid มคี วามพร้อมในการใหบ้ ริการทนั ที เมอื่ ได้รบั จดั สรรวคั ซีน

โรงพยาบาลนาดว้ ง

ประเด็นตัวชีว้ ัดการปฏิบัตริ าช1ก66าร ประจาปีงบประมาณ 2564

ตวั ช้ีวดั 7 ทุกอาเภอสามารถควบคุมสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ใหส้ งบได้ ภายใน 21-28 วนั

ผลการดาเนนิ งานตามตวั ชว้ี ัด

ตัวชว้ี ดั เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน (อตั รา/ร้อยละ)

ทกุ อาเภอสามารถควบคมุ สถานการณโ์ รคตดิ เชื้อไวรสั 100 100 โคโรนา 2019 (COVID-19) ใหส้ งบได้ ภายใน 21-28 วัน ข้อมูล ณ วนั ที่ 4กันยายน 64

ปัญหาอปุ สรรค

1. มีประชากรทีเ่ ดนิ ทางจากพนื้ ที่เสยี่ งเข้ามาในพนื้ ท่อี าเภอนาดว้ งแลว้ ไม่รายงานตวั ต่อเจ้าหน้าท่ี 2. บคุ คลท่ีเดนิ ทางจากพน้ื ท่ีเสี่ยงเข้ามากกั ตวั ในบ้านและไม่ได้แยกกบั คนท่ีอยใู่ นบา้ น ทาให้เกิดการติดเช้อื ในครอบครัว 3. บคุ ลากรเจ้าหนา้ ที่สอบสวนโรคในพื้นทมี่ ีจานวนน้อย 4. ประชาชนในกลุ่มผูส้ ูงอายุ กลมุ่ ผู้ปว่ ยมโี รคประจาตัว 7 กลุม่ โรค และกลุ่มหญงิ ตัง้ ครรภ์ ไดร้ บั วคั ซนี covid-19 จานวนน้อยไมเ่ ป็นตามเป้าหมาย

ขอ้ เสนอแนะและโอกาสพฒั นา

1. มกี ารพัฒนาศักยภาพทีมสอบสวนโรคในพืน้ ทท่ี ัง้ เจ้าหน้าทส่ี าธารณสุข อสม และเจา้ หนา้ ทปี่ กครองเพอ่ื ให้สอบสวนโรคไดร้ วดเร็วและถูกตอ้ ง 2. มกี ารลงฉดี วัคซีนเชงิ รกุ และในพื้นที่กลมุ่ เสีย่ งที่ รพ.สต.

ปจั จัยแหง่ ความสาเร็จ

ผนู้ ามคี วามสามารถและสนับสนุนทัง้ ด้านกาลงั คน งบประมาณ และวสั ดุสิ่งของ องคก์ ารปกครองส่วนท้องถน่ิ และคนในชมุ ชน มีความรว่ มมือกนั

Footer Page 31 of 41.

ทีมสอบสวนและควบคุมโรค สอบสวนและควบคมุ ไดร้ วดเรว็ ถกู ตอ้ งและทันเวลา

โรงพยาบาลนาด้วง

ประเด็นตัวช้ีวัดการปฏบิ ัตริ าช1ก67าร ประจาปีงบประมาณ 2564

ตัวชว้ี ัดที่ 8 รอ้ ยละของส่วนราชการและหน่วยงานสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ ผ่านเกณฑ์

การประเมินการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง

วเิ คราะหส์ ถานการณ์ สภาพปัญหา

โลก อมริกา สาเหตุ ❖ การตดิ ตามประเมนิ ผลยังไมค่ รอบคลมุ ❖ ผูป้ ฏิบตั งิ านยังไมเ่ ข้าใจระบบ 220,ก6า1ร6ต,3ร4ว7จคสนอบภ4า0ย,7ใ0น3ส,6่ว7น4รคานชการ สังกัดกระทรวงสาธารณสขุ ❖ องคก์ รเกิดความเสีย่ งหลายด้าน ปีงบประมาณ 2560 – 2563 - ด้านพัสดุ - ด้านการเงินและบญั ชี ผลการดาเนนิ งานในภาพรวม - ด้านการจดั เก็บรายได้ และ - ด้านการควบคุมภายใน ร้อยละ 65.05 ❖ ตรวจสอบภายใน ่สวนราชการ– ีปงบประมาณ ๒๕๖๓

ไม่ผ่านเกณฑ์

กระบวนการ

กาหนดผูร้ บั ผิดชอบ จดั ทารายงานทกุ ทบทวนระบบ และติดตาม ในการจดั วางระบบ ระดบั โดยปฏบิ ตั ติ าม ผลการดาเนนิ งาน

การควบคุมภายใน วางระบบ มาตรฐานและ นาระบบ หลักเกณฑ์ การควบคุมทีไ่ ด้ และติดตาประเมินผล การควบคุมภายใน ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ

Footer Page 32 of ค41ร.บทกุ สว่ นงานยอ่ ย (12 หน่วยงาน)

โรงพยาบาลนาดว้ ง

168

ผลการดาเนินงานตามตวั ชวี้ ดั

100 94.87 94.44 96.3 100 100 97.12

90

80

70

60

50 ผลการดาเนินงานควบคุมภายใน 5 มิติ (EIA) ปี งบประมาณ 2562-2564

2562 2563 2564 เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน (อตั รา/ร้อยละ) ตัวชีว้ ัด 75 80 ร้อยละของสว่ นราชการและหนว่ ยงานสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ การตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน และการบรหิ ารความเสี่ยง

ปัญหาอปุ สรรค

❖ ผูป้ ฏิบัตไิ ม่ทราบแนวทางการปฏบิ ัติ ❖ การรายงานความเสย่ี งไม่ครอบคลมุ ทกุ กล่มุ งาน

ข้อเสนอแนะและโอกาสพัฒนา

❖ ส่งเสริมสนับสนนุ ให้บคุ ลากรเหน็ ความสาคญั ของการควบคุมภายใน ❖ ศึกษาสภาพปัญหาและอุปสรรคในการจัดวางระบบควบคุมภายใน ❖ อบรมให้ความรแู้ กเ่ จ้าหนา้ ที่ผูป้ ฏิบัติงานด้านการจดั วางระบบควบคมุ ภายใน

ปจั จัยแหง่ ความสาเรจ็

❖ ผู้บรหิ าร สง่ เสริมและเล็งเห็นความสาคญั ของการควบคุมภายในและการบรหิ ารความเสย่ี ง ❖ FกoาoรtปerระPเaมgeินค33วาoมfเ4ส1่ยี . งและบรหิ ารความเส่ยี งอย่างสม่าเสมอ ❖ ทบทวนและตดิ ตามความก้าวหนา้ ของการดาเนินงาน

โรงพยาบาลนาดว้ ง

ประเด็นตวั ชวี้ ัดการปฏบิ ตั ริ าช1ก69าร

ประจาปงี บประมาณ 2564

ตัวชี้วดั ที่ 4 ร้อยละการตดิ ตามกลมุ่ สงสัยปว่ ยโรคเบาหวานและ/หรอื ความดันโลหิตสงู

วเิ คราะหส์ ถานการณ์ สภาพปญั หา ปัญหาอุปสรรค

อาเภอนาดว้ ง ดาเนนิ การขบั เคลื่อนการดาเนนิ งานป้องกนั ❖ จดั ทาแผนการดาเนินงาน NCD ปี 2564 และควบคมุ โรคเบาหวานและโรคความดันโลหติ สงู ภายใต้ คู่มือและแนวทางการดาเนินงานพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ระดับ ❖ ประชุมแลกเปลย่ี นผลการคัดกรอง เฝา้ ระวัง อาเภอ (พชอ.) ผ่านคณะกรรมการ NCD Board ระดบั และปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมกลุ่มเสีย่ งพัฒนาระบบ จังหวัด ระดับอาเภอ ระบบสขุ ภาพอาเภอ (DHS) และ การดแู ลผ้ปู ว่ ยโรคเร้อื รงั ร่วมกบั อบต. ในเขตอาเภอ system manager ระดับอาเภอ กากับติดตาม นาด้วงและเสนอโครงการของบประมาณเงินกองทุน การดาเนินงานผ่านการประเมนิ คุณภาพ NCD Clinic ระดับตาบล Plus และยังพบปัญหาในระบบการบันทกึ และการลง ❖ มขี อ้ ตกลงคืนขอ้ มลู ผลการคัดกรองและ ขอ้ มลู ในระบบฐานขอ้ มูล 43 แฟม้ ที่มีการปรบั และสรา้ ง ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมใน คปสอ. ความเขา้ ใจอยา่ งต่อเนื่อง แตจ่ ากการดาเนนิ งานพบ ❖ ทีมหมอครอบครัวระดบั พน้ื ท่ตี ิดตามกลุม่ เสี่ยง ประเด็นปญั หาดา้ นพฤติกรรมสขุ ภาพประชาชนขาดการ รายบุคคลกรณที ี่เฝ้าระวงั พบภาวะเส่ียงตอ่ การปว่ ย ออกกาลงั กาย การบริโภคที่ไม่เหมาะสม ความเครียด รายใหม่ สูบบหุ รี่ และด่มื สุราทาให้ผลการดาเนินงานการลดผูป้ ว่ ย ❖ พัฒนาระบบการลงข้อมูลและการจักเก็บข้อมูล รายใหมไ่ ม่เป็นไปตามเปา้ หมาย เพ่ือลดปญั หาดงั กล่าว ให้มคี ุณภาพ ได้ดาเนินการด้านการตดิ ตามกลมุ่ สงสยั ปว่ ยความดันโลหติ สงู และกล่มุ สงสยั ป่วยเบาหวาน ตดิ ตามใหค้ วามรูใ้ หเ้ กิด ❖ ประชุมคณะกรรมการติดตามขอ้ มูลระดับอาเภอ ความตระหนกั และตดิ ตามการวัดความดนั โลหิตท่ีบา้ น ทุก 3 เดือน โดยอสม. และนดั การตรวจระดบั นา้ ตาลในเลือดซ้า หลงั การให้ความรู้ในการปรบั เปล่ียนพฤติกรรมในกลุ่มเสย่ี ง ❖ สรุปผลการดาเนินงาน เบาหวาน ในการดาเนินงานติดตามกลุ่มเส่ยี งสงู ทงั้ ในกลมุ่ ❖ ตรวจสอบภายใน ่สวนราชการ– ีปงบประมาณ ๒๕๖๓ สงสยั เบาหวานและความดันโลหติ สูงในพื้นทอ่ี าเภอนาด้วง ของทกุ สถานบริการไดม้ ีการบูรณาการรว่ มกันเปน็ ตัวชีว้ ัด คณุ ภาพบริการด้านการควบคุมโรคไม่ตดิ ต่อเร้อื รงั ท่ีต้อง พฒั นาFแoลotะeดrาPเaนgนิ eก3า4รตo่อf ไ4ป1.เป็นเปา้ หมายหลกั ของอาเภอ นาดว้ ง

โรงพยาบาลนาดว้ ง

170

ผลการดาเนินงานตามตวั ชวี้ ัด เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน (อตั รา/รอ้ ยละ) ตัวชีว้ ัด ≥รอ้ ยละ 50 94.24 ร้อยละการตดิ ตามกลุ่มสงสยั ปว่ ย โรคเบาหวาน ≥รอ้ ยละ 50 99.71 รอ้ ยละการตดิ ตามกลมุ่ สงสยั ปว่ ย โรคความดันโลหิตสงู

ปญั หาอุปสรรค

❖ งบประมาณทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ กบั ช่วงเวลาการดาเนนิ การกจิ กรรมไมส่ อดคลอ้ งกนั ส่งผลให้กระบวนการ ดาเนินกจิ กรรมตา่ งๆ ไม่เปน็ ไปตามกาหนด

❖ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเส่ียง ไม่สามารถนามาปรับเปล่ียนพฤติกรรมแบบเข้มข้นได้ครอบคลุม เนื่องจากงบประมาณไมเ่ พียงพอ / เจา้ หน้าทผี่ ูร้ บั ผดิ ชอบมภี าระงานมากจึงไมส่ ามารถดาเนนิ กิจกรรม

ไดต้ ามเป้าหมาย ❖ ระบบการลงขอ้ มลู และการสง่ ตอ่ ขอ้ มลู ขาดความต่อเนอื่ งและไม่เป็นปจั จบุ นั

ข้อเสนอแนะและโอกาสพัฒนา

❖ พฒั นา Nurse Case Manager DM HT ทีมงานNCDใหเ้ พียงพอและสามารถทางานไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ ❖ พฒั นาระบบการบันทกึ ข้อมลู HosXP .ใหไ้ ด้ตามประเด็นที่ตอ้ งการจดั เกบ็ ทง่ี ่ายและสะดวกตอ่ ผู้ปฏิบตั ิ ❖ ปรบั ระบบการส่งเสริมสขุ ภาพของประชาชนใหเ้ หมาะสมและสามารถดแู ลสขุ ภาพของตนเองได้ อย่างยงั่ ยืน

ปัจจยั แหง่ ความสาเร็จ

❖ งบประมาณสนบั สนนุ การดาเนินงานสอดคลอ้ งกบั หว้ งเวลาการดาเนนิ งาน ❖ การจดั เก็บและสง่ ตอ่ ขอ้ มลู ท่ีรวดเรว็ เป็นปัจจบุ นั และมีคณุ ภาพ ❖ ผFoรู้ oบั tผeดิr Pชaอgบeง3า5นoมfีค4ว1า.มรูค้ วามเขา้ ใจ มีการทางานเป็นทีมและเป็นเครอื ข่าย ❖ กระบวนการสรา้ งความตระหนกั ของโรคไม่ตดิ ต่อเรอื้ รงั ใหแ้ ก่คนในชมุ ชน เหมาะสมและปฏบิ ตั ไิ ด้

ร้อยละการตรวจตดิ ตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหว1า71น และ/หรอื โรคความดนั โลหติ สูง

สถานการณ์และปัญหาทพ่ี บในพ้ืนท่ี

ในปี 2564 กระทรวงสาธารณสุขมีเป้าหมายในการคัดกรองโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหติ สูงในประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปี ขึน้ ไปไม่ต่ากว่าร้อยละ 90 และกลุ่มสงสัยว่า ป่ วยโรคเบาหวานต้องได้การติดตามมากกว่าร้อยละ 60 และกลุ่มสงสัยว่าป่ วยโรคความดัน โลหติ สูงต้องได้การติดตามมากกว่าร้อยละ 70 เพื่อจะได้นากลุ่มผู้สงสัยว่าป่วยเหล่านี้มาตรวจซ้า หากยงั พบว่าเข้าเกณฑก์ ารวนิ ิจฉัยว่าป่วยก็ลงขึ้นทะเบียนเพื่อรับการรักษาต่อไป จากข้อมูลในปีที่ผ่าน มาพบวา่ กลุ่มสงสยั วา่ จะป่วยโรคเบาหวานไดร้ ับการตดิ ตามรอ้ ยละ 62.36 และกลุ่มสงสัยว่าจะป่วยโรค ความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามร้อยละ 71.38 ซึ่ง ทั้งสองกลุ่มนี้ได้รับการวินิจฉัยว่าป่วยรายใหม่ จานวน 14 ราย และ 18 ราย คดิ เป็นร้อยละ 12.17 และ 6.36 ตามลาดับ ในปี 2564 จากการตรวจคดั กรองพบวา่ มกี ลุ่มสงสัยวา่ จะปว่ ยโรคเบาหวาน 101 ราย สงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง 372 ราย ซึ่ง กลุ่มเหล่านี้หากไม่ได้รับการติดตามตรวจซ้าไม่ว่าจะตรวจในสถานพยาบาลสาหรับโรคเบาหวาน และ การวัดความดันโลหิตที่บ้านสาหรับโรคความดันโลหิตสูง ก็จะทาให้ขาดโอกาสเข้าสู่ระบบรักษาหรือสู่ กระบวนการปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมได้

กระบวนการและผลลัพธ์การดาเนนิ งาน

คปสอ.ภูหลวง มีการจัดทาปฏิทินการปฏิบัติงานคัดกรอง และติดตาม มีการประชุมสรุปผลการปฏิบัติงาน

ประจาเดือนทุกเดือน ผู้บริหารได้ให้ความสาคัญติดตามผลในที่ประชุมทุกเดือน มอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบราย

ประเดน็ ซึ่งในปี 2564 มผี ลงานในการติดตามผูส้ งสัยว่าปว่ ยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ดังนี้คือ กลุ่ม

ผู้ป่ วยสงสัยโรคเบาหวานจานวน 101 รายได้รับการติดตาม 87 ราย คิดเป็ นร้อยละ 86.14 และกลุ่มผู้ป่ วย

สงสัยโรคความดันโลหิตสูงจานวน 372 รายได้รับการติดตาม 370 ราย คิดเป็ นร้อยละ 99.46 ซึ่งกลุ่ม

เหล่านีไ้ ด้ถกู วนิ ิจฉัยว่าเป็ นผู้ป่ วยเบาหวานรายใหม่ จานวน 16 ราย (ร้อยละ 18)วินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วยความ

ดันโลหิตสูงรายใหม่ 19 ราย (ร้อยละ 5.4)ส่วนผู้สงสัยว่าจะป่วยที่เหลือได้เข้ากระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม