ว ธ ปร บช องปร นกระดาษหนากว าเด ม

การเขยี น หนงั สอื ราชการ และงานสารบรรณ

รายวิชาการเตรียมฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพรัฐประศาสนศาสตร์ (BPA0601) สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี ปกี ารศกึ ษา 2/2564

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ในหลวงรัชกาลที่ 9 พระตำหนกั จติ รลดารโหฐาน

วันที่ ๓o มีนาคม พทุ ธศักราช ๒๕๔๖

“ข้าราชการ ไม่วา่ จะอยู่ในตำแหน่งใด ระดับไหน มีหน้าที่อย่างไร ลว้ นแต่มีสว่ นสำคัญ อยูใ่ นงานของแผน่ ดินทั้งสิน้ ทกุ คน ทุกฝ่าย จึงไม่ควรจะถือตวั แบ่งแยก หากต้องยกย่องนับถอื ใหเ้ กยี รติกัน สมัครสมาน รว่ มมอื ร่วมความคดิ กนั ให้การปฏิบัติบริหารงานของแผน่ ดินดำเนนิ ไปอย่างมีเอกภาพ และได้ผลทีพ่ ึง ประสงคส์ มบูรณ์ พรอ้ มทกุ ส่วน”

เรยี บเรยี งโดย นางสาวปิราพร ยทุ ธกจิ รหสั นกั ศกึ ษา 6216209001111 นางสาวอรนนั ท์ พงศ์เตรยี ง รหสั นักศกึ ษา 6216209001117 นางสาวสลิลทิพย์ โสมเพชร รหสั นกั ศึกษา 6216209001133 นางสาวจันทร์ลักษณ์ ส่องช่วย รหสั นักศึกษา 6216209001134 นางสาวอนั ธิตา สงั ข์แก้ว รหสั นักศกึ ษา 6216209001138

กลมุ่ เรยี น 62036.163 สาขารฐั ประศาสนศาสตร์ คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สุราษฎรธ์ านี

คำนำ

หนงั สือเล่มนเ้ี ปน็ การรวบรวมเอกสารและงานทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการเขียนหนงั สอื ราชการและงานสารบรรณฉบบั น้ีจดั ทำขึน้ เพอ่ื สรา้ งความรู้ ความเข้าใจและให้แนวทาง ในการเขียนหนงั สือราชการและงานสารบรรณที่ชัดเจน ถูกต้องและเปน็ รปู ธรรม ทีม่ ากขึน้ โดยภายในหนงั สอื ฉบบั น้ี คณะผู้จัดทำได้รวบรวมเนอ้ื หา 6 บท ที่ประกอบ ไปดว้ ย ความหมายและลกั ษณะของหนงั สอื ราชการ การเขยี นหนงั สือภายใน การเขยี น หนังสือภายนอก หนังสือประทบั ตรา หนังสือสั่งการ และหนงั สือประชาสมั พันธ์ เพื่อให้สามารถปฏบิ ตั งิ านได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม และนำไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด

ขอขอบคณุ อาจารยอ์ ยบั ซาดดั คาน อาจารย์ประจำวิชาการเตรียมฝึก ประสบการณว์ ิชาชีพรัฐประศาสนศาสตรท์ ี่คอยใหค้ ำปรกึ ษา แนะนำรายละเอยี ดตา่ ง ๆ และทางคณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งวา่ หนังสือฉบับนี้จะเป็นประโยชน์สูงสดุ ต่อผู้ที่ใหค้ วามสนใจ นำไปประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏิบตั ิงาน เพื่อนำไปสู่ผลสมั ฤทธิ์ ในการดำเนินงานให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสุด

คณะผจู้ ัดทำ

สารบัญ

เรือ่ ง หน้า

พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ในหลวงรัชกาลที่ 9 ก

คำนำ ข สารบัญ ค

สารบัญตาราง ฉ

สารบัญภาพ ช

บทที่ 1 ความหมายของหนงั สอื ราชการ 1

1. ความหมายของหนังสอื ราชการ 1 2. ลกั ษณะของหนังสอื ราชการ 2

2.1 หนงั สือภายใน 3

2.2 หนังสอื ภายนอก 4

2.3 หนังสอื ประทับตรา 7 2.4 หนงั สอื สงั่ การ 7

2.5 หนังสือประชาสัมพันธ์ 8

2.6 หนงั สือทเ่ี จ้าหน้าที่ทำขน้ึ หรอื รบั ไวเ้ ป็นหลกั ฐานในราชการ 8

บทที่ 2 การเขยี นหนังสือราชการภายใน 10

1. ความหมายหนังสอื ราชการภายใน 10 2. โครงสรา้ งของหนังสอื ภายใน (แบบ ๓ ย่อหนา้ ) 10

2.1 ส่วนประกอบพิเศษของหนงั สอื ภายใน 17

3. โครงสร้างของหนังสอื ภายใน (แบบองค์ 5) 19

4. ตวั อยา่ งแบบหนงั สอื ภายใน (แบบ ๓ ย่อหนา้ ) 22 5. ตัวอยา่ งแบบหนงั สอื ภายใน (แบบองค์ 5) 23

6. การทำสำเนาหนงั สอื เพือ่ เป็นหลกั ฐานทางราชการ 24

7. ตวั อยา่ งการเขียนสำเนาคฉู่ บับหนงั สอื ราชการภายใน 25

8. ส่ิงท่คี วรพิจารณาในการเขยี นหนงั สอื ภายใน 26 9. คำแนะนำประกอบการพิมพห์ นังสือภายใน 28

สารบญั (ต่อ)

เรือ่ ง หน้า 10. การตง้ั คา่ ในโปรแกรมการพมิ พ์หนงั สอื ภายใน 31 32 บทที่ 3 การเขยี นหนงั สือภายนอก 32 1. ความหมายหนังสือภายนอก 32 2. โครงสรา้ งหนังสอื ภายนอก 40 3. สว่ นประกอบพิเศษของหนงั สอื ภายนอก 42 4. สิ่งท่คี วรพจิ ารณาในการเขยี นหนงั สือภายนอก 46 5. ตัวอยา่ งรูปแบบหนงั สอื ภายนอก 47 6. คำแนะนำประกอบการพมิ พ์หนงั สือภายนอก 49 7. การต้งั ค่าในโปรแกรมการพมิ พ์หนงั สอื ภายนอก 50 8. คำอธบิ ายการจดั ทำหนงั สือภายนอก (ขอเชิญวิทยากร) 53 9. ตวั อยา่ งหนังสอื ขอเชญิ วทิ ยากร 54 10. คำอธบิ ายการจดั ทำหนงั สอื ภายนอก (ขอความอนเุ คราะห)์ 57 11. ตัวอย่างหนังสอื ขอความอนเุ คราะห์ 58 บทที่ 4 หนงั สอื ประทบั ตรา 58 1. ความหมายหนงั สอื ประทบั ตรา 59 2. โครงสร้างหนังสอื ประทบั ตรา 62 3. ตวั อย่างหนงั สอื ประทบั ตรา 63 63 บทที่ 5 หนังสอื สั่งการ 63 1. ความหมายหนงั สือสง่ั การ 64 1.1 คำส่ัง 65 1.2 ระเบยี บ 66 1.3 ขอ้ บงั คับ 67 2. ตัวอยา่ งหนงั สือสงั่ การรปู แบบคำสงั่ 68 3. ตวั อย่างหนังสอื ส่งั การแบบระเบยี บ 4. ตวั อย่างหนังสือส่งั การแบบข้อบังคับ

สารบญั (ตอ่ ) จ

เรอื่ ง หน้า บทท่ี 6 หนงั สือประชาสมั พันธ์ 69 69 1. ความหมายหนังสือประชาสัมพนั ธ์ 69 2. ประเภทหนังสือประชาสมั พนั ธ์ 69 70 2.1 ประกาศ 70 2.2 แถลงการณ์ 71 2.3 ข่าว 72 3. ตัวอยา่ งหนงั สือประชาสมั พันธ์รปู แบบประกาศ 73 4. ตัวอยา่ งหนังสอื ประชาสัมพนั ธ์รปู แบบแถลงการณ์ 74 5. ตวั อยา่ งหนังสอื ประชาสมั พนั ธร์ ปู แบบขา่ ว บรรณานกุ รม

สารบญั ตาราง ฉ

ตารางที่ หน้า ตารางท่ี 1 ลักษณะคำจดุ ประสงค์ของเรอ่ื ง 15 ตารางท่ี 2 ส่วนราชการเจา้ ของหนงั สือ 35 ตารางที่ 3 ส่วนทา้ ยหนงั สอื 39

สารบัญภาพ ช

ภาพท่ี หน้า ภาพท่ี 1 ส่วนหัวเรือ่ ง 11 ภาพท่ี 2 สว่ นเน้อื เร่ือง 13 ภาพท่ี 3 จดุ ประสงคข์ องเร่ือง 15 ภาพที่ 4 สว่ นท้ายเรื่อง 17 ภาพที่ 5 ตวั อย่างแบบหนงั สอื ภายใน (แบบ ๓ ย่อหนา้ ) 22 ภาพที่ 6 ตวั อย่างแบบหนงั สือภายใน (แบบองค์ 5) 23 ภาพที่ 7 ตวั อย่างการเขียนสำเนาคูฉ่ บบั หนงั สอื ราชการภายใน 25 ภาพท่ี 8 การตง้ั ค่าในโปรแกรมการพมิ พห์ นังสือภายใน 31 ภาพท่ี 9 ส่วนหัวหนังสอื 33 ภาพท่ี 10 สว่ นเหตุที่มหี นงั สอื ไป 33 ภาพท่ี 11 ส่วนจดุ ประสงค์ท่มี หี นังสือไป 34 ภาพที่ 12 ส่วนทา้ ยหนังสอื 34 ภาพที่ 13 ตัวอย่างรปู แบบหนงั สอื ภายนอก 46 ภาพที่ 14 การต้งั ค่าในโปรแกรมการพิมพ์หนงั สอื ภายนอก 49 ภาพท่ี 15 ตัวอย่างหนงั สอื ขอเชิญวทิ ยากร 53 ภาพที่ 16 ตวั อยา่ งหนงั สือขอความอนเุ คราะห์ 57 ภาพท่ี 17 ส่วนหัวหนังสอื 59 ภาพที่ 18 ส่วนเหตุและจดุ ประสงคท์ มี่ ีหนงั สือไป 60 ภาพท่ี 19 สว่ นทา้ ยหนงั สอื 60 ภาพที่ 20 ตัวอยา่ งหนงั สือประทบั ตรา 62 ภาพที่ 21 ตัวอยา่ งหนังสอื สงั่ การรูปแบบคำสงั่ 66 ภาพที่ 22 ตัวอย่างหนงั สือสงั่ การแบบระเบยี บ 67 ภาพที่ 23 ตัวอย่างหนงั สือสั่งการแบบขอ้ บงั คบั 68

สารบัญภาพ (ตอ่ ) ซ

ภาพที่ หน้า ภาพท่ี 24 ตัวอยา่ งหนงั สือประชาสัมพนั ธร์ ปู แบบประกาศ 71 ภาพท่ี 25 ตวั อย่างหนงั สอื ประชาสัมพนั ธร์ ปู แบบแถลงการณ์ 72 ภาพท่ี 26 ตวั อย่างหนังสือประชาสัมพนั ธร์ ปู แบบข่าว 73

บทที่ 1 ความหมายของหนังสอื ราชการ

1. ความหมายของหนงั สอื ราชการ ตามระเบียบสำนกั นายกรฐั มนตรี ว่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ได้ให้

ความหมายของคำวา่ “หนงั สือ” หมายถงึ เอกสารทีเ่ ปน็ หลักฐานในราชการ ได้แก่ หนังสือทม่ี ีไปมาระหวา่ งส่วนราชการหนังสือท่ี ส่วนราชการไปถงึ หน่วยงานอ่ืนใด ซึ่งไมใ่ ช่สว่ นราชการหรอื มไี ปถงึ บคุ คลภายนอกหนงั สือท่หี น่วยงานอ่ืนใด ซึ่งไม่ใช่ สว่ นราชการหรือที่บุคคลภายนอกมีมาถงึ สว่ นราชการเอกสารที่ทางราชการจัดทำขน้ึ เพอื่ เป็นหลักฐานในราชการ และเอกสารทที่ างราชการจดั ทำขนึ้ ตามกฎหมายระเบยี บ หรือขอ้ บังคับหนังสือราชการมคี วามสำคัญ และเป็นประโยชน์อย่างย่ิง ในการปฏบิ ตั ิ ราชการ เพราะในการปฏิบัติบรหิ ารราชการจำเป็นตอ้ งมีกฎ ระเบยี บ ขอ้ บังคับหรือ คำสัง่ ใชอ้ ้างองิ นอกจากนนั้ หนงั สอื โต้ตอบ สอบถามหารอื ตอบข้อหารอื หรือแม้แต่ รายงานการประชมุ สามารถนำมาเปน็ หลักปฏบิ ตั ิ หรอื อา้ งองิ ในการปฏิบตั ไิ ด้

ดังน้ัน ในการจดั ทำหนังสอื ราชการ ผ้เู ขยี นจะตอ้ งมีความละเอยี ดรอบคอบ มคี วามรจู้ ริง ทั้งในเรื่องทจ่ี ะเขียนรปู แบบของหนงั สอื การใชถ้ ้อยคำ สำนวน ตวั สะกด การนั ต์ การลำดับ ความอย่างตอ่ เน่ือง ราบร่ืน เป็นเหตเุ ปน็ ผล สามารถสรปุ ประเดน็ ของเร่ืองใหต้ รงกับวัตถปุ ระสงคท์ ีต่ ้องการจะแจ้งให้ทราบ การจดั หนังสือราชการ ฉบับหนงึ่ ผูใ้ ชแ้ รงตอ้ งใช้ความใสใ่ จ ระมดั ระวงั เป็นอย่างมาก เพราะหนังสอื ราชการ ที่จัดทำนั้นจะเป็นหลักฐานในราชการ และจะนำไปใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงตอ่ ไป สำหรับรูปแบบของข้อความในการเขียนหนังสือราชการ กล่าวโดยย่อจะต้องมี สว่ นขึน้ ต้นท่กี ะทัดรัด มกี ารกล่าวอา้ งองิ หลักฐานชดั เจนเน้อื ความต้องมกี ารตอ่ เนื่องกนั เปน็ เหตเุ ป็นผล และเปน็ ลำดับในส่วนลงท้าย การสรปุ จะตอ้ งแสดงวตั ถุประสงค์ของ ผ้สู ่งให้ผูร้ ับไดท้ ราบอย่างชดั เจนวา่ มีความประสงค์อย่างไร จึงได้มหี นงั สือติดต่อมา กล่าวโดยทวั่ ไปหลกั พนื้ ฐานของหนังสอื ราชการ คอื ใชใ้ นการติดตอ่ ราชการระหว่าง สว่ นราชการตา่ ง ๆ ท้ังภายในและภายนอก โดยมีวตั ถุประสงคใ์ นการสอื่ สารความหมาย

เพือ่ แจง้ ให้ทราบ เพือ่ ขอความร่วมมอื ในการปฏบิ ตั งิ าน เพื่อจะขอทราบขา่ วสาร รวมทง้ั เปน็ การส่งั การตามทไ่ี ด้รบั มอบอำนาจ หรือความรับผดิ ชอบในการปฏิบตั ิภารกิจนน้ั ๆ หนังสือราชการ และระเบยี บสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าดว้ ยงานสารบรรณ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2548 ได้แก้ไขเพมิ่ เตมิ ระเบยี บขอ้ 9 ไวว้ ่า “หนงั สอื ราชการ” คอื เอกสารทเี่ ปน็ หลักฐานในราชการ (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยงานสารบรรณ, 2548) ได้แก่

1. หนงั สอื ทมี่ ไี ปมาระหว่างส่วนราชการ 2. หนังสือที่สว่ นราชการมีไปถงึ หน่วยงานอืน่ ใด ซ่ึงมิใชส่ ่วนราชการหรือท่ีมไี ป ถงึ บุคคลภายนอก 3. หนงั สือทหี่ นว่ ยงานอน่ื ใดที่ไมใ่ ช่ส่วนราชการ หรือบคุ คลภายนอกมีมาถึง ส่วนราชการ 4. เอกสารท่ที างราชการจดั ทำข้นึ เพื่อเปน็ หลักฐานในราชการ 5. เอกสารทีท่ างราชการจดั ทำขนึ้ ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบงั คับ 6. ข้อมูลข่าวสารหรอื หนงั สอื ทไี่ ดร้ บั เข้าจากระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส์

2. ลักษณะของหนงั สอื ราชการ ในปจั จบุ ันการตดิ ต่อราชการทง้ั ภายในหนว่ ยงานและภายนอกหน่วยงาน

เป็นการส่ือถึงบุคคล/หนว่ ยงาน อีกทั้งยังเป็นปญั หาของหน่วยงานและผู้ปฏิบัติ ทเี่ ก่ยี วข้องจำนวนไม่น้อยทีย่ งั ไม่เขา้ ใจในการใช้ภาษาราชการและแบบฟอรม์ ท่ถี กู ต้อง เพอื่ เป็นการสรา้ งความสำเร็จของผปู้ ฏิบตั งิ าน ที่เก่ียวขอ้ งทางด้านหนงั สอื ได้ทราบถงึ รปู แบบการใชค้ ำขนึ้ ตน้ คำลงทา้ ยทถ่ี ูกต้อง เป็นไปในแนวทางเดยี วกนั และเป็นไปตาม ระเบยี บสำนักนายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 ได้จำแนกหนังสือ ราชการไว้มี 6 ชนดิ ดังน้ี (ระเบียบสำนกั นายกรฐั มนตรวี า่ ด้วยงานสารบรรณ, 2526)

1. หนังสอื ภายใน 2. หนงั สอื ภายนอก 3. หนังสอื ประทบั ตรา

4. หนังสอื สง่ั การ (คำสั่ง ระเบียบ ข้อบงั คบั ) 5. หนังสอื ประชาสัมพนั ธ์ (ประกาศ แถลงการณ์และขา่ ว) 6. หนังสือทเ่ี จ้าหน้าทที่ ำข้นึ หรือรบั ไว้เป็นหลักฐานในราชการ (หนังสือ รบั รอง รายงานการประชุมบนั ทึก และหนงั สอื อน่ื )

2.1 หนังสือภายใน คอื หนงั สือติดตอ่ ราชการทเี่ ปน็ แบบพิธีน้อยกว่าหนงั สือภายนอก ใช้ใน

การติดตอ่ ภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกันใชก้ ระดาษบนั ทกึ ข้อความ โดยกรอกรายละเอยี ด ดงั นี้

1. สว่ นราชการให้ลงช่ือส่วนราชการเจ้าของเรือ่ ง หรอื หน่วยงานท่ีออก หนังสือ โดยมีรายละเอียดพอสมควร ปกติถา้ ส่วนราชการทอ่ี อกหนังสอื อยใู่ นระดับกรม ขึ้นไป ใหล้ งชอ่ื ส่วนราชการเจา้ ของเร่ืองทงั้ ระดับกรมและกอง ถ้าราชการทอ่ี อกหนงั สอื อยใู่ นส่วนราชการที่ตำ่ กว่ากรมลงมาให้ลงชือ่ ส่วนราชการเจา้ ของเรอื่ งเพียงระบบกอง หรือสว่ นราชการเจา้ ของเร่อื ง พร้อมทง้ั ใหล้ งหมายเลขโทรศพั ท์ (ถา้ ม)ี

2. ที่ ให้ลงตัวรหัสพยัญชนะและเลขประจำของเจา้ ของเรือ่ ง ทับเลข ทะเบียนหนังสอื สง่ สำหรบั หนงั สือของคณะกรรมการให้กำหนดตัวรหัสพยั ญชนะ เพม่ิ ข้ึนได้ตามความจำเปน็

3. วันที่ ให้ลงตัวเลขของวันท่ี ช่ือเต็มของเดือน และตัวเลขของปี พุทธศกั ราชทอี่ อกหนงั สือ

4. เร่อื ง ให้ลงเรือ่ งยอ่ ท่ีเปน็ ใจความสน้ั ทส่ี ดุ ของหนงั สือฉบบั นั้น ในกรณที ี่ เปน็ หนังสือตอ่ เนอื่ ง ให้ลงเรือ่ งของหนงั สือฉบบั เดมิ

5. คำขึ้นต้นใช้คำขึ้นต้นตามฐานะของผู้รับหนังสือตามตารางการใช้ คำขึ้นต้น สรรพนาม และคำลงท้าย แล้วลงต ำแหน่งของผู้ที่หนังสือนัน้ มถี ึงหรือ ชอื่ บคุ คลในกรณีทมี่ ถี ึงตัวบคุ คลไม่เกยี่ วกบั ตำแหน่งหน้าที่

6. ขอ้ ความให้ส่งสาระสำคัญของเรือ่ งใหช้ ดั เจนและเข้าใจง่าย และหากมี ความประสงคห์ ลายประการใหแ้ ยกเปน็ ข้อ ๆ ในกรณที มี่ ีการอ้างถึงหนงั สือท่ีเคยมี ติดต่อกัน หรือมีสง่ิ ที่สง่ มาด้วยให้ระบุไว้ในขอ้ นี้

7. ลงชื่อและตำแหน่งโดยอนุโลมในกรณีทีก่ ระทรวง ทบวง กรมหรอื จงั หวดั ใดประสงค์ จะกำหนดแบบการเขยี นโดยเฉพาะ เพอื่ ใชต้ ามความเหมาะสม ก็ให้กระทำได้ในทางปฏิบัติ ส่วนราชการมักใช้หนังสือประเภทนี้ติดตอ่ ภายใน กรมเดียวกันเป็นส่วนใหญ่ หากตอ้ งติดต่อต่างกรมกม็ ักใช้เป็นหนังสือภายนอก เช่น หนังสือจากสำนักงาน ก.พ. ติดตอ่ ไปยังสำนักงบประมาณ จงึ สังกดั ในสำนกั นายกรฐั มนตรดี ้วยกนั กม็ ักใช้หนงั สือภายนอก เป็นต้น

2.2 หนังสือภายนอก คือ หนงั สือติดต่อราชการท่ีเปน็ แบบพิธี โดยใช้กระดาษตราครฑุ มรี ูปแบบ

ดงั ต่อไปนี้ 1. ที่ อย่หู วั กระดาษด้านซ้าย ให้ลงรหสั ตัวพยัญชนะและเลขประจำของ

เจ้าของเรือ่ ง เชน่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต 1 เลขท่ี หนังสือ คอื ศธ 04060

2. สว่ นราชการ หรอื ท่ีอยเู่ จา้ ของเรอื่ ง อยู่หวั กระดาษดา้ นขวา

3. วัน เดอื น ปี ไมต่ ้องมีคำว่า “วันท่ี” นำหน้า

4. เร่ือง มีเฉพาะหนงั สือภายนอกและหนงั สือภายในเทา่ นั้น หนังสอื ประทับตราไมม่ ีจะต้องส้นั กระชับ ชัดเจน ไดใ้ จความ และไม่ควรเกนิ 2 บรรทดั

* กรณีที่มีหนังสือ เป็นการ “ขออนุมัติ” “ขอความอนเุ คราะห์” “ขออนุญาต” เช่น ขออนุมัติเลือ่ นข้นั เงินเดอื นข้าราชการเป็นกรณพี ิเศษ ขอความ อนุเคราะห์ช่วยเหลือลูกจ้างประสบภยั ขออนุญาตใช้ห้องประชุมขอเชญิ เปดิ การฝกึ อบรมและบรรยาย

* ถา้ จะตอบหนงั สือโดยใชเ้ รื่องเดิมให้เติมคำวา่ “การ” เชน่ การขอ อนุมัตเิ ลอ่ื นข้นั เงนิ เดอื นขา้ ราชการเปน็ กรณพี เิ ศษ การขอความอนเุ คราะห์ชว่ ยเหลือ ลูกจ้างประสบภยั การขออนญุ าตใชห้ ้องประชุม แตถ่ า้ เปน็ กรณีปฏเิ สธ ไม่ควรใช้ คำว่า “ไมอ่ นมุ ัติ” “ไมอ่ นุเคราะห์” “ไม่อนุญาต” ควรจะใช้คำวา่ “การ” นำหนา้

5. คำขนึ้ ตน้ จะต้องศกึ ษาชื่อ ตำแหนง่ ชอ่ื หนว่ ยงานใหถ้ ูกตอ้ ง

5.1 หนังสือถึงบคุ คลธรรมดา ใชค้ ำว่า “เรียน”

5.2 หนังสือถึงพระภกิ ษุ

- สมเด็จพระสังฆราชเจา้ ใช้คำว่า “ขอประทานกราบทลู …

- สมเด็จพระสังฆราช ใช้คำวา่ “กราบทลู ”

- สมเด็จพระราชาคณะ, รองสมเดจ็ , พระราชาคณะและพระภกิ ษุ ท่ัวไปใช้คำว่า “นมัสการ”

5.3 หนงั สอื ถึงผูด้ ำรงตำแหนง่ สูงพเิ ศษ ใชค้ ำว่า “กราบเรยี น” เช่น ประธานองคมนตรี, นายกรัฐมนตรี, ประธานวฒุ สิ ภา, ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร, รฐั บรุ ุษ เป็นต้น

6. อา้ งถงึ ใชใ้ น 2 กรณี ดังนี้

6.1 กรณีตอบกลับจะตอ้ งอา้ งถงึ หนงั สอื ท่ีหนว่ ยงานนน้ั สง่ มา ในกรณที ี่ เป็นเรือ่ งท่ีสืบต่อกันมาหลายครงั้ ใหอ้ า้ งถงึ ฉบบั ลา่ สดุ

6.2 กรณีตดิ ตามเรื่องทเ่ี ราสง่ ไป

7. สิง่ ทีส่ ง่ มาด้วย ควรจะแยกเปน็ ลำดบั 1,2,3…

8. ข้อความ (ย่อหน้า 10 เคาะตัวอักษร) มีความถูกต้อง ถูกแบบ ถกู เนอื้ หา และถกู ความนิยม รดั กมุ ไมม่ ชี ่องโหว่ให้โตแ้ ยง้ ไม่เย่ินเย่อ หรือใชถ้ อ้ ยคำ ฟุ่มเฟือยสามารถใหผ้ รู้ บั เขา้ ใจวา่ ผู้มหี นังสอื ไปต้องการอะไร จะใหป้ ฏิบัติอย่างไร และโนม้ นา้ วใหผ้ รู้ บั หนงั สือ

ปฏบิ ัตติ ามน้ัน ไมก่ ระทบถงึ ความสัมพนั ธ์อันดี เขยี นใหต้ รงลักษณะและ จดุ มุ่งหมาย

- ถ้าเขยี นถึงผู้ดำรงตำแหน่งท่ีใช้คำขึน้ ต้นว่า “เรียน” ก็เขยี น จดุ ประสงค์วา่ “จงึ เรยี น” ถ้าใช้คำขึ้นต้น “กราบเรียน” ก็ตอ้ งเขยี นจุดประสงค์ว่า “จงึ กราบเรียน”

- ถ้าลกั ษณะ จดุ ประสงค์ทม่ี ีหนังสือไปเป็น “คำขอ” ควรเพิม่ คำว่า “โปรดและ ต่อทา้ ยดว้ ย “คำขอบคณุ ” ทั่วไปมกั จะใชค้ ำวา่ “จะขอขอบคุณม าก” แต่ถา้ ถึงผู้ใหญ่อาจใช้คำวา่ “จะเปน็ พระคุณยง่ิ ” เชน่ “จงึ กราบเรยี นมาเพอ่ื ขอไดโ้ ปรด พจิ ารณาอนญุ าตดว้ ย จะเป็นพระคณุ ย่ิง”

- ถ้าจุดประสงค์ที่มหี นงั สือไป มลี ักษณะไมใ่ ช่ “คำขอ” ไม่ตอ้ งต่อทา้ ย ดว้ ย “คำขอบคุณ” เว้น มีความหมายเป็นคำขออยดู่ ้วย จึงต่อทา้ ยด้วย “คำขอบคณุ ” เชน่ จงึ เรียนมาเพอ่ื ทราบ และถือเป็นหลกั ปฏบิ ตั ติ อ่ ไป

- หนังสอื ถงึ ผมู้ ีฐานะเป็นผ้ใู หญ่กว่า ควรเพม่ิ คำว่า “โปรด” ดว้ ยไม่วา่ จุดประสงคท์ ี่มหี นงั สอื ไปลกั ษณะใด เช่น จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบ

- หนงั สือถงึ ผมู้ ีฐานะเทา่ กัน หรอื ต่ำกวา่ ถ้าจดุ ประสงค์ท่ีมีหนงั สอื ไป ไมใ่ ช่ลกั ษณะ “คำขอ” ไม่จำเป็นตอ้ งเพ่ิมคำว่า “โปรด” เชน่ จึงเรียนมาเพอื่ ทราบ

- หนงั สือถงึ ผู้ใตบ้ ังคับบญั ชา ทีไ่ ม่ใชข่ ้าราชการชัน้ ผู้ใหญ่ แม้จะเป็น “คำขอ” จะไมเ่ พิม่ คำวา่ “โปรด” ก็ได้ โดยถอื ลักษณะ “คำสงั่ ” เชน่ จงึ เรยี นมาเพื่อ ดำเนินการตอ่ ไป”

9. คำลงท้าย จะอยู่ประมาณปลายเท้าครฑุ ดา้ นขวา

9.1 ถา้ เป็นบุคคลธรรมดาใช้คำข้นึ ตน้ ด้วย “เรียน” คำลงทา้ ยใชค้ ำวา่ “ขอแสดงความนับถือ”

9.2 ถา้ เป็นผู้ดำรงตำแหนง่ สูงพเิ ศษ ใช้คำขึ้นตน้ ดว้ ย “กราบเรียน” คำลงทา้ ยใช้คำว่า “ขอแสดงความนบั ถอื อยา่ งยง่ิ ”

10. ลงช่ือ การประทบั ตรายางชอื่ และตำแหน่งจะตอ้ งถกู ตอ้ ง “การรกั ษาการแทน” ใช้ในกรณีทผ่ี ู้บงั คับบญั ชาอยหู่ รอื ไม่อยกู่ ็ได้ แต่มอบหมายอำนาจ หน้าท่ใี ห้

11. สว่ นราชการเจ้าของเรอื่ ง ใหใ้ สช่ ่อื หนว่ ยงานท่อี อกหนังสอื

12. โทรศัพท์/โทรสาร ให้ลงหมายเลขโทรศัพท์และโทรสารของ ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง แต่ปจั จบุ ันนยิ มใส่ช่ือเว็บไซดข์ องหนว่ ยงานดว้ ย

2.3 หนงั สอื ประทับตรา คือ หนังสือท่ใี ชป้ ระทบั ตราแทนการลงชอื่ ของหวั หน้าส่วนราชการระดับ

กรมขนึ้ ไป โดยใหห้ ัวหน้าสว่ นราชการระดับกอง หรอื ผทู้ ่ีไดร้ บั มอบหมายจากหัวหนา้ สว่ นราชการระดบั กรมขึ้นไป เป็นผ้รู บั ผดิ ชอบลงชื่อย่อกำกบั ตรา หนังสอื ประทับตรา ให้ใช้ได้ทั้งระหว่างส่วนราชการกับสว่ นราชการ และระหว่างส่วนราชการกับ บุคคลภายนอกเฉพาะกรณีทไี่ ม่ใชเ่ ร่อื งสำคัญ

2.4 หนงั สอื สงั่ การ มี 3 ชนดิ ได้แก่ คำสง่ั ระเบียบ และข้อบงั คับ

1. คำสง่ั คือ บรรดาขอ้ ความทผ่ี ู้บงั คับบญั ชาสัง่ การใหป้ ฏบิ ตั ิ โดยชอบดว้ ย กฎหมายใหใ้ ชก้ ระดาษตราครุฑ

2. ระเบียบ คือ บรรดาข้อความทีผ่ ู้มีอำนาจหนา้ ทไ่ี ดว้ างไว้ โดยอาศัย อำนาจของกฎหมายหรือไม่กไ็ ด้ เพ่ือถือเป็นหลกั ปฏบิ ัติงานเป็นการประจำให้ใช้ กระดาษตราครฑุ

3. ข้อบังคับ คอื บรรดาข้อความทผี่ ้มู อี ำนาจหนา้ ทก่ี ำหนดใหใ้ ช้ โดยอาศยั อำนาจของกฎหมายทบ่ี ญั ญัติให้กระทำได้ ให้ใช้กระดาษตราครฑุ

2.5 หนงั สอื ประชาสมั พันธ์ มี 3 ชนดิ ได้แก่ ประกาศ แถลงการณ์ และข่าว 1. ประกาศ คือ บรรดาขอ้ ความท่ีทางราชการประกาศ ช้แี จงให้ทราบหรอื

แนะแนวทางปฏบิ ตั ิ ใหใ้ ช้กระดาษตราครฑุ

2. แถลงการณ์ คอื บรรดาขอ้ ความท่ที างราชการแถลง เพ่อื ทำความเข้าใจ ในกิจการของทางราชการ หรอื เหตุการณ์ หรอื กรณใี ด ๆ ใหท้ ราบชัดเจนโดยท่ัวกัน ให้ใชก้ ระดาษครุฑ

3. ขา่ ว คอื บรรดาขอ้ ความท่ีทางราชการเห็นสมควรเผยแพรใ่ ห้ทราบ

2.6 หนงั สอื ทเ่ี จา้ หนา้ ทท่ี ำขึ้นหรอื รบั ไว้เป็นหลกั ฐานในราชการ หรือรบั ไวเ้ ป็นหลกั ฐานในราชการ

1. หนงั สอื รบั รอง ใช้กระดาษตราครฑุ 2. รายงานการประชมุ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

2.1 รายงานการประชมุ ชื่อเรอ่ื งท่ีประชุม

2.2 ครั้งท่ี 2.3 เมื่อวัน เดือน ปีทีป่ ระชุม

2.4 ณ คอื สถานทป่ี ระชุม 2.5 ผูม้ าประชมุ ลงช่อื และตำแหนง่ ผไู้ ด้รบั การแตง่ ต้ังเป็นคณะที่ ประชุมกรณีทมี่ ีผ้มู าประชมุ แทน ใหล้ งว่ามาประชุมแทนผู้ใด 2.6 ผู้ไมม่ าประชมุ ลงชอ่ื และตำแหน่ง ผู้ไดร้ ับการแต่งตง้ั เป็นคณะ ที่ประชมุ แตไ่ ม่ไดม้ าประชมุ พร้อมทง้ั เหตผุ ล

2.7 ผเู้ ข้าร่วมประชุม ลงชอื่ และตำแหนง่ ผทู้ ่ีไมไ่ ด้รบั การแตง่ ต้ังเป็น คณะที่ประชุม แต่ไดเ้ ข้าร่วมประชมุ

2.8 เรม่ิ ประชุมเวลา

2.9 ข้อความ โดยเริม่ ตน้ ดว้ ยประธานกล่าวเปิดประชุม กับมติหรือ ข้อสรุปของทีป่ ระชมุ ในแตล่ ะเรอ่ื งตามลำดบั

ระเบยี บวาระที่ 1 เรอ่ื งที่ประธานจะแจง้ ใหท้ ป่ี ระชมุ ทราบ

ระเบยี บวาระท่ี 2 เรื่องรบั รองรายงานการประชมุ ครงั้ ทแี่ ล้ว ระเบียบวาระท่ี 3 เรื่องสืบเนอ่ื งจากการประชมุ คร้งั ที่แล้ว ระเบยี บวาระท่ี 4 เรอ่ื งเสนอเพอื่ ทราบ

ระเบยี บวาระท่ี 5 เรือ่ งเสนอเพ่ือพจิ ารณา ระเบยี บวาระท่ี 6 เร่ืองอื่น ๆ (ถา้ มี) 2.10 เลกิ ประชุมเวลา

2.11 ผู้จดรายงานการประชมุ /ผตู้ รวจทาน

๑๐

บทที่ 2 การเขยี นหนงั สอื ราชการภายใน

1. ความหมายหนงั สือราชการภายใน หนงั สอื ภายใน คอื หนังสอื ติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธีน้อยกว่าหนังสือ

ภายเป็นหนังสือติดต่อภายในกระทรวง ทบวง กรมเดียวกัน หรอื จังหวดั เดียวกัน ใช้กระดาษบนั ทกึ ข้อความ แตถ่ ้าเป็นหนังสอื ที่มีสาระสำคัญมาก หรือตอ้ งการเป็น แบบพธิ ีการอาจใชห้ นงั สือภายนอกได้ แม้จะอยกู่ ระทรวงเดยี วกัน (ระเบียบสำนัก นายกรัฐมนตรวี ่าด้วยงานสารบรรณและทแี่ ก้ไขเพิม่ เตมิ , 2526)

วธิ พี มิ พ์บันทึกข้อความ ในโปรแกรมการพมิ พใ์ นเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ การพมิ พ์ บนั ทึกขอ้ ความสามารถพิมพไ์ ด้ 2 แบบ คอื แบบ 3 ย่อหน้า และแบบองค์ 5

2. โครงสรา้ งของหนงั สือภายใน แบบ ๓ ยอ่ หน้า (ระเบียบสำนกั นายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยงานสารบรรณ, 2526)

โครงสรา้ งของหนงั สือภายใน ประกอบด้วยสว่ นสำคัญ 4 สว่ น คือ 1. หัวเร่อื ง 2. เนอื้ เรื่อง 3. จุดประสงคข์ องเร่ือง 4. ท้ายเร่อื ง

๑๑

สว่ นท่ี 1 หวั เรื่อง

บันทึกขอ้ ความ

ส่วนราชการ...................................................................................................................... ท.ี่ ..............................................................วันท่ี................................................................. เรอ่ื ง...................................................................................................................................

ภาพที่ 1 สว่ นหัวเรอ่ื ง ทม่ี า : https://www.econ.cmu.ac.th.

1. ส่วนราชการเจ้าของหนงั สือ ลงชื่อสว่ นราชการเจ้าของเรื่องหรือ หน่วยงานที่ออกหนังสือ หรือหน่วยงานทีอ่ อกหนังสอื โดยมรี ายละเอยี ดพอสมควร โดยปกติถา้ สว่ นราชการท่อี อกหนงั สอื อย่ใู นระดบั กรมขนึ้ ไป ใหล้ งชื่อส่วนราชการ เจ้าเรือ่ ง ท้ังระดบั กรมและกอง ถา้ ส่วนราชการทีอ่ อกหนังสอื อย่ใู นระดบั ต่ำกวา่ กรม ลงมา ให้ลงช่อื ส่วนราชการเจา้ ของเรอ่ื งเพียงระดบั กอง หรอื สว่ นราชการเจา้ ของเรือ่ ง ต่อด้วยหมายเลขโทรศพั ท์ภายในของส่วนราชการเจา้ ของเรอื่ งนน้ั

1.1 กรณีส่วนราชการที่ออกหนงั สืออยู่ในระดับกรม (อตส. หรือ ผปู้ ฏิบัตริ าชการแทนหรอื ผู้รกั ษาราชการแทนลงนาม)

กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ สำนัก................. โทร. x xxxx xxxx โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณยี อ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส.์ ...........

1.2 กรณสี ว่ นราชการทอี่ อกหนงั สอื อยใู่ นระดบั กอง (ผอ. ลงนาม)

- ถึงหน่วยงานภายนอก (ในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์)

สำนกั ...........................กรมตรวจบญั ชีสหกรณ์โทร. x xxxx xxxx โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส.์ ............

๑๒

- ถงึ หนว่ ยงานในสงั กดั กรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ สำนกั ..................................กลมุ่ /ฝา่ ย........................................

โทร. x xxxx xxxx โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณยี อ์ ิเลก็ ทรอนิกส.์ ............ 1.3 กรณีส่วนราชการทอี่ อกหนงั สืออยใู่ นระดบั กลมุ่ หรอื ฝ่าย กลุม่ /ฝ่าย................................... สำนัก.....................................

โทร. x xxxx xxxx โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณยี อ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส.์ ............... 1.4 กรณลี งนามโดยคณะทำงาน คณะ.............. โทร. x xxxx xxxx โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณยี ์

อิเล็กทรอนิกส.์ ........................ 2. ท่ี ให้ลงรหัสตัวพยญั ชนะและเลขประจำของเร่อื ง ตามทีก่ ำหนดไวท้ ับ

เลขทะเบยี นหนงั สอื สง่ เชน่ - หนงั สือของสำนกั บรหิ ารกลางกษ 0401/245 - หนงั สือเวยี นทม่ี ีถึงผรู้ บั จำนวนมาก โดยขอ้ ความอย่างเดียวกัน

ใหเ้ พมิ่ รหัสตัวพยัญชนะ “ว” หนา้ เลขทะเบยี นหนงั สอื เชน่ กษ 0401/ว 771 - หนังสอื ของคณะกรรมการ ให้กำหนดรหัสตัวพยัญชนะเพิม่ ข้นึ

ได้ตามความจำเป็นหรอื ใชท้ ข่ี องหน่วยงานระดับกองท่ีเลขาฯ คณะสงั กดั 3. วัน เดือน ปี ลงตัวเลขของวันท่ี ชื่อเต็มของเดอื น และตัวเลขของ

พ.ศ. ท่อี อกหนงั สอื

๑๓

4. เร่ือง เขียนเปน็ วลี หรอื ประโยคสัน้ ๆ ใช้ภาษางา่ ย ชดั เจน ตรงประเดน็ ตรงกบั ส่วนสรปุ ไม่ซำ้ กับเรอ่ื งอน่ื ใชภ้ าษาเขียนทส่ี ภุ าพ และรกั ษาน้ำใจผรู้ ับ

5. คำข้นึ ตน้ ใช้ตามฐานะของผรู้ บั หนงั สือตามทกี่ ำหนดไวใ้ นระเบียบสำนกั นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยงานสารบรรณ โดยท่วั ไปใชค้ ำวา่ “เรยี น” ตามด้วย ตำแหนง่ ของ ผรู้ ับหนงั สือ หรือ ชอ่ื บคุ คลทรี่ ับหนงั สอื

6. ข้อความ ใหล้ งสาระสำคญั ของเรื่องให้ชัดเจนและเข้าใจง่าย หากมี ความประสงคห์ ลายประการให้แยกเป็นขอ้ ๆ ในกรณีทมี่ ีการอ้างถึงหนังสือท่ีเคยมี ตดิ ต่อกนั หรือมสี ่งิ ทีส่ ง่ มาด้วยใหร้ ะบไุ ว้ในข้อนี้

7. ลงช่อื ใหล้ งลายมอื ชอ่ื เจา้ ของหนังสอื และให้พิมพช์ ่ือเตม็ ของเจา้ ของ ลายมอื ช่ือไวใ้ ตล้ ายมือชอื่

8. ตำแหนง่ ให้ลงตำแหน่งของเจา้ ของหนังสือ ในกรณีท่ีกระทรวง ทบวง กรม หรอื จงั หวดั ใดประสงค์จะกำหนดแบบการเขยี นโดยเฉพาะ เพอ่ื ใช้ตาม ความเหมาะสมกใ็ หก้ ระทำได้

ส่วนท่ี 2 เนือ้ เรอ่ื ง

ภาพที่ 2 สว่ นเน้ือเรื่อง ที่มา : https://www.excise.go.th.

๑๔

เนอ้ื เรอ่ื งของหนังสอื ภายใน คอื “ข้อความท่ีผูม้ หี นังสือแจง้ ไปยังผูร้ บั หนงั สอื ประกอบด้วยเหตทุ ่ีมีหนังสอื ไป ซ่งึ เขียนยอ่ หนา้ ต่อจาก “คำข้ึนตน้ ” อาจเปน็ ขอ้ ความ ตอนเดยี ว หรือ 2 ตอน หรือ 3 ตอนก็ได้

การเขียน “เหตุทม่ี หี นงั สือไป” จะข้ึนตน้ ด้วยคำใดคำหนงึ่ ดังตอ่ ไปน้ี

1. กรณีทเ่ี ปน็ เรื่องใหม่ ซึ่งไม่เคยติดตอ่ หรอื รับรู้ในเร่อื งดงั กลา่ วมากอ่ น ระหว่างผมู้ ีหนังสือไปกบั ผู้รบั หนังสอื เกยี่ วกับเรอ่ื งนั้น จะขนึ้ ตน้ เนอื้ เรอื่ งโดยใชค้ ำวา่

“ดว้ ย” นยิ มใชใ้ นกรณีทีบ่ อกกลา่ วเลา่ เหตุท่ีมหี นงั สอื ไป โดยเกรนิ่ ขึ้นมาลอย ๆ ตัวอย่างเช่น ด้วยกรมสรรพสามิตจะจัดการฝึกอบรมหลักสตู ร .........................................

“เนอื่ งจาก” นิยมใชใ้ นกรณีทอ่ี ้างเป็นเหตอุ นั หนกั แนน่ ที่จำเป็นตอ้ ง มหี นงั สือไป เพ่อื ให้ผรู้ บั หนังสือดำเนนิ การอยา่ งใดอย่างหน่งึ ตวั อย่างเช่น เนื่องจาก ทา่ นได้หยดุ ราชการไป 3 วัน โดยไมไ่ ดย้ ื่นใบลาตามระเบียบ จงึ ขอให้ทา่ นชแ้ี จงเหตผุ ล ทหี่ ยดุ ราชการคร้ังนโี้ ดยด่วน

2. กรณที ี่เป็นเรือ่ งต่อเนอ่ื ง หรอื เป็นเรอ่ื งท่มี ีการตดิ ตอ่ กนั มากอ่ นหนา้ นี้ จะขนึ้ ตน้ เนือ้ เรือ่ งโดยใช้คำว่า

“ตาม” จะต่อด้วยคำนาม เช่น ตามหนงั สือที่อ้างถงึ แจ้งว่า ...................................นั้น

“ตามที่” จะตอ่ ดว้ ยประโยค เชน่ ตามท่ีกรมสรรพสามติ อนุมัติให้ .........................นนั้

“อนุสนธ”ิ จะตอ่ ด้วยคำนาม เชน่ อนุสนธิมติ ก.พ. ในการประชมุ ครง้ั ท่ี...............นน้ั

๑๕

ส่วนท่ี 3 จุดประสงค์ของเร่อื ง

จงึ ........................................................................................... ..............................................................................................................

ภาพท่ี 3 จดุ ประสงคข์ องเรื่อง ที่มา : https://www.econ.cmu.ac.th.

จุดประสงค์ของเรอื่ ง คือ “ขอ้ ความ” ทแ่ี สดงความมุง่ หมายท่ีมีหนังสือไปว่า ประสงคจ์ ะให้ผรู้ ับหนงั สอื ทำอะไร หรือทำอย่างไร

การเขยี น “จดุ ประสงคข์ องเรอ่ื ง” ควรเขยี นยอ่ หนา้ ขน้ึ บรรทดั ใหม่ เป็นอกี ตอน หน่ึงตา่ งหากจาก “เนอื้ เร่อื ง”

โดยปกตมิ กั จะเขยี น “จุดประสงค์ของเรอ่ื ง” ข้นึ ตน้ ด้วยคำวา่ “จึง...................”

ลักษณะ ความมงุ่ หมาย ตัวอยา่ ง

คำแจง้ เพื่อทราบ จึงเรียนมาเพอ่ื ทราบ

คำขอ เพอื่ ใหพ้ ิจารณา จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดพิจารณาอนมุ ตั ิ

เพอ่ื ให้ดำเนนิ การ จ ึ งเ ร ี ย นม าเ พ ่ื อ โ ปร ดนำ เส นอค ณะร ั ฐมนตรี พิจารณาต่อไปด้วย เพื่อใหร้ ่วมมอื เพ่ือให้ชว่ ยเหลอื จงึ เรยี นมาเพอ่ื ขอได้โปรดใหค้ วามรว่ มมือ

คำซกั ซอ้ ม เพอื่ ให้เข้าใจ จงึ ขอเรยี นซอ้ มความเขา้ ใจมาเพ่อื ถือเป็นหลัก ปฏิบตั ติ อ่ ไป

๑๖

ลกั ษณะ ความม่งุ หมาย ตวั อย่าง คำช้แี จง เพื่อให้เข้าใจ จงึ เรยี นช้ีแจงมาเพอ่ื ทราบ

คำยนื ยนั เพื่อให้แน่ใจ จงึ เรียนยนื ยนั มาเพอ่ื ทราบ จึงขอเรียนยนื ยนั ขอ้ ตกลงดงั กล่าวมา ณ ท่นี ้ี

คำส่ัง เพอ่ื ใหป้ ฏิบตั ิ จงึ ขอเรยี นมาเพือ่ ถอื เปน็ หลกั ปฏบิ ัตติ อ่ ไป คำเตอื น จงึ เรยี นมาเพือ่ ดำเนนิ การต่อไป

คำกำชบั เพ่อื ไม่ให้ถอื ปฏบิ ตั ิ จงึ ขอเรียนเตอื นมาเพอื่ โปรดดำเนนิ การเรอ่ื งนใี้ ห้ เสร็จโดยดว่ นดว้ ย บัดนี้ถงึ กำหนดชำระคา่ เล่าเรยี นแลว้ จงึ ขอได้ โปรดนำเงนิ จำนวน................บาท ไปชำระ ภายในวันท่ี.......................

เพื่อให้ปฏิบัตติ าม จึงเรยี นมาเพอ่ื จักไดป้ ฏบิ ตั ติ ามมตคิ ณะรฐั มนตรี ดงั กลา่ วโดยเคร่งครัดต่อไป

เพื่อให้สังวร จึงเรียนมาเพื่อโปรดกำชับเจ้าหน้าที่ให้

ระมดั ระวัง ระมดั ระวงั มใิ ห้เกิดกรณเี ชน่ นข้ี ึน้ อีก

คำถาม เพ่อื ขอทราบ จึงเรียนมาเพอ่ื ขอทราบว่า..........................

หารือ เพอ่ื ขอความเห็น จึงเรยี นหารอื มาวา่ .....................................

ตารางท่ี 1 ลักษณะคำจดุ ประสงค์ของเร่อื ง ที่มา : https://www.excise.go.th.

๑๗

สว่ นท่ี 4 ทา้ ยเรือ่ ง

(ลงช่อื )....................................................

(พมิ พช์ อื่ เต็ม).........................................

(ตำแหนง่ )...............................................

ภาพที่ 4 ส่วนท้ายเร่ือง ทม่ี า : https://www.econ.cmu.ac.th.

1. ลงชือ่ และตำแหนง่ ใหล้ งลายมือเจา้ ของหนังสอื และพิมพ์ชอ่ื เตม็ ของ เจา้ ของลายมือชอ่ื ไวใ้ ตล้ ายมือ กบั ลงตำแหนง่ ของเจา้ ของหนงั สือราชการ

2. ส่วนราชการเจา้ ของเรอ่ื ง จะไมป่ รากฏในส่วนทา้ ยเรือ่ ง แตจ่ ะอยใู่ นสว่ น หวั เรื่อง

** หมายเหตุ ส่วนหัวของแบบกระดาษบันทึกข้อความจะต้องใช้ จดุ ไขป่ ลาแสดงเสน้ บรรทดั ทเี่ ปน็ ชอ่ งว่างหลังคำวา่ สว่ นราชการ... ท.ี่ ... วนั ท.่ี ... เรื่อง..... ทัง้ นบ้ี ันทึกข้อความไม่ตอ้ งมคี ำลงท้าย หากกรณีทม่ี คี วามจำเป็น อาจปรบั การพิมพ์ หนงั สือราชการให้แตกต่างได้ตามความเหมาะสม โดยให้คำนึงถงึ ความสวยงามและ รปู แบบของหนงั สือราชการเปน็ สำคญั

2.1 สว่ นประกอบพิเศษของหนงั สอื ภายใน หนังสือราชการภายในบางฉบบั ยงั มอี งคป์ ระกอบบางประการ ซึง่ จะขึ้นอยู่

กบั ลกั ษณะหรือเน้อื ความในหนงั สอื อกี (สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์,

  1. ไดแ้ ก่

๑๘

1. หนังสือที่ต้องปฏิบตั ิให้เร็วกว่าปกติ เป็นหนังสือที่ต้ องจัดส่งและ ดำเนนิ การทางสารบรรณด้วยความรวดเร็วเปน็ พิเศษ หนังสอื ทมี่ ีลักษณะดังกล่าว ระเบียบสำนกั นายกรฐั มนตรี ว่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 กำหนดชน้ั ความเรว็ ไว้ 3 ระดบั คือ

1.1 ด่วนท่ีสุด เป็นหนงั สอื ทใี่ หเ้ จา้ หนา้ ที่ปฏิบตั ิทันทที ี่ไดร้ บั หนงั สอื

1.2 ด่วนมาก เป็นหนงั สอื ทใ่ี หเ้ จา้ หน้าทีป่ ฏิบตั ิโดยเร็ว

1.3 ดว่ น เป็นหนังสอื ทใ่ี หเ้ จา้ หนา้ ทป่ี ฏิบตั ิเรว็ กวา่ ปกติ

การระบุช้ันความเรว็ ดังกลา่ วข้างตน้ ในระบุดว้ ยตัวอักษรสแี ดงใหเ้ หน็ ชดั เจน บนหนงั สือและซองสำหรบั หนงั สือภายนอกให้ระบไุ ว้เหนือคำว่า “ท่”ี สว่ นหนังสือ ภายในให้ระบไุ วเ้ หนือคำวา่ ส่วนราชการ โดยใหอ้ ย่ทู างดา้ นขวาของครฑุ สว่ นท่ีซอง ใหร้ ะบุไว้เหนือสว่ นราชการโดยใหอ้ ย่ดู า้ นขวาของครฑุ

2. หนังสอื ทีไ่ มส่ ามารถเปดิ เผยตอ่ สาธารณชน ซ่ึงจัดเปน็ หนงั สอื ราชการ ลบั หากเนอ้ื ความในหนงั สอื รว่ั ไหลไปถงึ บคุ คลอน่ื ทไี่ ม่มีหนา้ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง อาจก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายแก่ประโยชน์แหง่ รัฐ ดังนั้น หนังสือดังกล่าวจะต้องสงวนไว้เฉพาะ ผู้มหี น้าทท่ี เ่ี กี่ยวขอ้ ง อันจะเปน็ ประโยชน์ต่อการปฏบิ ัตริ าชการเท่านนั้ ตามระเบยี บวา่ ด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ซึ่งได้กำหนดชั้นความลบั ไว้ 3 ระดับ คือ

2.1 ลับที่สุด หมายความถึง ข้อมูลข่าวสารทีม่ ีความสำคญั ที่สดุ ซ่งึ หากเปดิ เผยท้งั หมดหรอื เพยี งบางสว่ น จะก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายต่อความมั่นคง และผลประโยชน์แหง่ รัฐอยา่ งรา้ ยแรงทส่ี ดุ

2.2 ลับมาก หมายความถึง ข้อมูลข่าวสารที่มีความสำคัญมาก ซึ่งหากเปดิ เผยทง้ั หมดหรอื เพียงบางส่วนจะก่อให้เกดิ ความเสยี หายแกป่ ระโยชนแ์ หง่ รฐั อย่างรา้ ยแรง

๑๙

2.3 ลับ หมายความถงึ ข้อมูลขา่ วสารลบั ที่มีความสำคัญ ซึง่ หาก เปดิ เผยทง้ั หมดหรอื เพียงบางส่วนจะก่อใหเ้ กิดความเสยี หายแกป่ ระโยชนแ์ หง่ รฐั

การแสดงชั้นความลับดังกล่าว ให้แสดงด้วยตัวอักษรสีแดงหรือสีอนื่ ที่สามารถมองเห็นได้อย่างเด่นชดั และชดั เจนบนหนงั สอื และซอง โดยหนังสือภายนอก ใหร้ ะบไุ วต้ รงกึง่ กลางหน้ากระดาษด้านบน เหนอื ตราครฑุ และก่ึงกลางหนา้ กระดาษ ด้านล่างในแนวตรง สว่ นหนงั สือภายในใหร้ ะไว้ตรงก่ึงกลาง หน้ากระดาษดา้ นบนเหนอื คำวา่ บันทึกขอ้ ความ และกึ่งกลางหนา้ กระดาษด้านลา่ งในแนวตรงกนั

3. โครงสรา้ งของหนงั สอื ภายใน แบบองค์ 5 (ระเบียบสำนกั นายกรฐั มนตรีวา่ ด้วย งานสารบรรณ, 2526)

1. ตง้ั หน้ากระดาษ ก้นั หนา้ 3 เซนตเิ มตร ก้นั หลงั 2 เซนติเมตร

2. ขนาดตวั ครุฑ 1.5 เซนติเมตร โดยวางตัวครุฑหา่ งจากขอบกระดาษ ประมาณ 1.5 เซนติเมตร

3. คำวา่ “บันทกึ ขอ้ ความ” พิมพด์ ว้ ยอักษรตัวหนาขนาด ๒๙ พอยท์และ ปรับค่าระยะบรรทัดจาก 1 เท่าเป็นค่าแนน่ อน (Exactly) 35 พอยท์

4. ชนั้ ความลบั (ถา้ ม)ี ให้ปั๊มตรงกงึ่ กลางด้านบนและด้านลา่ งของบนั ทึก ขอ้ ความ โดยใช้หมึกสแี ดง

5. ช้นั ความเร็ว (ถา้ มี) ใหป้ ม๊ั ระหว่าง ครฑุ กับ บันทกึ ข้อความ โดยใช้ หมึกสแี ดง

6. คำว่า “ส่วนราชการ” พิมพอ์ กั ษรตัวหนาขนาด 29 พอยท์ สำหรับช่ือ ส่วนราชการใหล้ งชอื่ หนว่ ยงานเจา้ ของเรอ่ื ง หรอื หน่วยงานทอ่ี อกหนังสอื /โทรศัพท์ พร้อมดว้ ยไปรษณยี ์อิเล็กทรอนกิ สข์ องส่วนราชการเจา้ ของเรือ่ ง โดยพิมพ์ด้วยอกั ษร ขนาด 16 พอยท์

๒๐

7. คำว่า “ท่”ี พิมพ์อกั ษรตวั หนาขนาด 29 พอยท์ โดยลงรหสั ตัวพยญั ชนะ และเลขประจำของเจา้ ของเรอ่ื ง ด้วยอักษรขนาด 16 พอยท์

8. คำว่า “วันที่” พิมพ์อักษรตัวหนาขนาด 29 พอยท์ โดยลงตวั เลข ของวนั ที่ ช่อื เต็มของเดอื นและตัวเลขปีพุทธศักราชทีอ่ อกหนังสอื ดว้ ยอกั ษรขนาด 16 พอยท์

9. คำว่า “เรอ่ื ง” พมิ พ์อักษรตวั หนาขนาด 29 พอยท์ โดยลงเร่อื งยอ่ ทเี่ ปน็ ใจความส้นั ที่สุดของหนงั สือฉบบั น้นั ในกรณีท่ีเปน็ หนังสอื ต่อเนอื่ ง ให้ลงเรื่องของ หนังสือฉบบั เดมิ ด้วยอักษรขนาด 16 พอยท์

10. พิมพ์ “คำข้ึนตน้ ” ใหม้ ีระยะบรรทดั หา่ งจากเรือ่ งเทา่ กับระยะบรรทดั ปกติ และเพิ่มค่าก่อนหนา้ อีก 6 พอยท์ (1 Enter + Before 6 pt) การพมิ พ์คำข้ึนต้น ให้ใช้ตามฐานะของผรู้ ับหนงั สอื

11. พมิ พย์ อ่ หนา้ แรก “1. เรอ่ื งเดมิ ”” ใหม้ รี ะยะบรรทัดปกติ และเพ่มิ ค่า ก่อนหน้าอีก 6 พอยต์ (1 Enter + Before 6 pt) และพิมพ์ “2. ข้อเท็จจรงิ ” “3. กฎหมาย ระเบยี บท่ีเก่ียวข้อง” “4. ขอ้ พิจารณา” “5. ข้อเสนอแนะ” ใหม้ รี ะยะ บรรทดั ปกติ โดยแตล่ ะหวั ข้อให้มีระยะย่อหนา้ ตามค่าไมบ้ รรทดั ระยะการพิมพ์เทา่ กบั 2.5 เซนติเมตร (2 Tab) และพมิ พภ์ าคสรุป โดยใหม้ รี ะยะบรรทัดปกติ และเพิ่มค่า กอ่ นหนา้ อีก 6 พอยต์ (1 Enter + Before 6 pt)

12. ลงชือ่ พิมพ์ชือ่ เต็มของเจ้าของลายมือช่ือ พร้อมกบั ตำแหน่งของ เจา้ ของลายมือช่อื ไวใ้ ต้ลายมือช่ือโดยเวน้ ระยะบรรทดั การพมิ พ์ ๓ บรรทดั (4 Enter) สำหรับจำนวนบรรทดั ในการพมิ พ์หนงั สือราชการในแตล่ ะหนา้ ให้เป็นไปตามความ เหมาะสมกับจำนวนขอ้ ความ และความสวยงาม

๒๑

** หมายเหตุ ส่วนหัวของแบบกระดาษบันทึกข้อความจะต้องใช้ จุดไขป่ ลาแสดง เส้นบรรทัดทเี่ ปน็ ชอ่ งวา่ ง หลังคำวา่ สว่ นราชการ... ท่ี.... วันท่ี.... เรื่อง........ ทั้งนี้บันทึกข้อความไมต่ ้องมีคำลงท้ายและกรณที ี่มีความจำเป็น อาจปรับการพิมพ์หนังสือราชการใหแ้ ตกต่างไดต้ ามความเหมาะสม โดยใหค้ ำนึงถึง ความสวยงามและรูปแบบของหนังสอื ราชการเป็นสำคญั

๒๒

4. ตัวอย่างแบบหนงั สอื ภายใน (แบบ ๓ ยอ่ หนา้ )

ภาพท่ี 5 ตวั อย่างแบบหนงั สือภายใน (แบบ ๓ ยอ่ หนา้ ) ทม่ี า : https://www.fisheries.go.th.

๒๓

5. ตวั อย่างแบบหนงั สอื ภายใน (แบบองค์ 5)

ภาพท่ี 6 ตัวอยา่ งแบบหนงั สือภายใน (แบบองค์ 5 ) ทม่ี า : http://sesao24.go.th.

๒๔

6. การทำสำเนาหนังสอื เพ่อื เป็นหลักฐานทางราชการ แบ่งออกเปน็ 2 ลกั ษณะ คอื (กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ,์ 2562)

1. สำเนาคฉู่ บับ โดยปกตหิ นังสือราชการทจี่ ะสง่ ออกจากหนว่ ยงานใด ๆ จะตอ้ งมีการทำสำเนาไว้ 2 ฉบบั ซึง่ เรยี กวา่ สำเนาคูฉ่ บบั ฉบบั หน่ึงเก็บไว้ทตี่ น้ เรื่อง และอกี ฉบับหน่งึ จะเกบ็ ไว้ ทห่ี นว่ ยงานกลางของส่วนราชการ ใบสำเนาคู่ฉบบั จะตอ้ งลง ลายมอื ชอ่ื หรือลายมอื ชอื่ ยอ่ ของผ้ลู งช่อื ในหนงั สอื เพื่อเก็บไว้เปน็ หลกั ฐาน นอกจากนใ้ี ห้ ผรู้ ่าง ผู้พิมพ์ และผู้ตรวจลงลายมอื ชือ่ ไวท้ ส่ี ว่ นล่างดา้ นขวาของหนังสอื ด้วย

2. สำเนาหนงั สอื โดยมีคำรับรอง ในกรณที ่ีจะนำสำเนาหนงั สือราชการไปใช้ เพอ่ื ประโยชนอ์ ย่างใดอย่างหนงึ่ จะตอ้ งรบั รองความถูกตอ้ งของสำเนาหนังสือ โดยให้ ประทบั ตราคำวา่ สำเนาถกู ต้องท่สี ่วนด้านซา้ ยของหนงั สือ แล้วให้ข้าราชการตั้งแต่ ระดบั 2 หรอื เทียบเทา่ ข้นึ ไป ซ่งึ เปน็ เจ้าของเรือ่ ง ลงลายมือชอ่ื พร้อมพิมพช์ อ่ื นามสกลุ และตำแหน่งในบรเิ วณดังกลา่ วด้วย

๒๕

7. ตวั อยา่ งการเขียนสำเนาคูฉ่ บับหนงั สอื ราชการภายใน

ภาพท่ี 7 ตวั อยา่ งการเขียนสำเนาคู่ฉบบั หนังสือราชการภายใน ท่มี า : https://ddc.moph.go.th.

๒๖

8. ส่ิงทคี่ วรพจิ ารณาในการเขียนหนังสือภายใน (สำนกั งานปลดั กระทรวงเกษตร และสหกรณ์, 2563)

1. ตราครุฑทป่ี รากฏในหนงั สอื ราชการ จะต้องมขี นาดตามทรี่ ะเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 กำหนดไว้ คือ ขนาดของครุฑ ในหนังสือภายนอก 3 เซนติเมตร และครฑุ ในหนังสอื ภายในสงู 1.5 เซนตเิ มตร

2. ในการตดิ ต่อกับบุคคลหรอื หน่วยงานตา่ ง ๆ ด้วยหนงั สือภายนอกหรอื ภายใน จะถอื วา่ เปน็ การตดิ ตอ่ ในนามของสว่ นราชการ ดงั นัน้ สรรพนามบรุ ษุ ท่ี 1 ทใ่ี ช้ แทนเจ้าของหนังสือจะไมใ่ ช้คำว่า กระผม ดฉิ ัน หรอื ขา้ พเจ้า แต่จะใช้เป็นชื่อส่วน ราชการท่ีออกหนงั สือนนั้ ๆ

3. ในกรณีท่เี นื้อหาของหนังสือมคี วามหนามากกวา่ 1 หน้า ใหใ้ ช้กระดาษ ตราครุฑ ซ่ึงตราครฑุ อาจพมิ พ์ดว้ ยสดี ำ หรือทำเปน็ ครฑุ ดุนเพียงหน้าแรกหน้าเดียว เทา่ น้ัน ในหน้าต่อไปให้ใชก้ ระดาษขาวธรรมดาทม่ี ขี นาดและคุณภาพเท่าเทียมกับ กระดาษตราครุฑในหน้าแรก

4. เพอ่ื แสดงใหผ้ รู้ ับหนงั สอื เหน็ วา่ หนว่ ยงานเจา้ ของหนงั สอื รสู้ กึ ซาบซึ้งและ ตระหนักถึงความรว่ มมอื หรอื ความชว่ ยเหลอื ท่จี ะไดร้ บั จึงควรใชค้ ำที่แสดงความรสู้ ึก ดังกลา่ วไว้ทตี่ อนท้ายของหนงั สอื ด้วย

เชน่

- จงึ เรียนมาเพือ่ ทราบและดำเนนิ การต่อไป จะขอบคุณย่งิ

- จึงเรียนมาเพ่ือโปรดพิจารณาอนมุ ัติ จักเปน็ พระคุณยงิ่

- หวังเปน็ อยา่ งยิ่งวา่ คงจะได้รับความอนุเคราะห์จากท่าน แล ะ ขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสนี้

๒๗

5. คำหรือข้อความใด ๆ ที่ปรากฏในหนังสอื ราชการ ต้องเป็นคำหรอื ขอ้ ความทถ่ี กู ต้องตามหลกั ไวยากรณ์ มีความหมายท่ีชัดเจน ไม่ควรเขยี นโดยใช้อกั ษรยอ่ ซ่งึ อาจทำใหผ้ ู้อา่ นสับสน เกิดความคลาดเคล่ือนหรือผดิ พลาดในการสอื่ สาร อยา่ งไรก็ ตาม หากมีความจำเป็นท่ไี ม่อาจหลีกเลี่ยงได้หรือตอ้ งการใหห้ นงั สือราชการมขี นาดสน้ั และกระชบั การใชอ้ กั ษรยอ่ อาจใชไ้ ดใ้ นกรณดี ังตอ่ ไปน้ี

- เปน็ คำทใ่ี ช้กันอยา่ งแพร่หลาย และเม่อื พจิ ารณาจากบรบิ ทแล้ว คำยอ่ ดงั กลา่ วเป็นทที่ ราบความหมายโดยท่ัวไป

เชน่ กทม. ย่อมาจาก กรุงเทพมหานคร พ.ร.บ.งบประมาณ ยอ่ มาจาก พระราชบญั ญัติงบประมาณ

- มีการกล่าวถงึ คำหรือข้อความดงั กล่าวมาคร้ังหนง่ึ แลว้ โดยเขียนเปน็ คำหรือข้อความทีค่ รบถว้ นสมบรู ณ์และตามดว้ ยอกั ษรย่อของคำหรอื ขอ้ ความดงั กล่าว ในวงเล็บ เมื่อเขียนคำหรือขอ้ ความนน้ั ในคร้ังตอ่ มาก็สามารถใช้อักษรยอ่ ได้เลย

6. ในการกลา่ วถึงส่งิ ใดสง่ิ หน่งึ ซื่อเป็นคำวสิ ามายนามและหรอื เป็นคำท่มี ี ขนาดยาว อาจเขียนคำกล่าวโดยเขียนเปน็ ชื่อเตม็ เพยี งครงั้ แรกทกี่ ล่าวถงึ เพยี งครัง้ เดยี ว สำหรบั การกล่าวถงึ สง่ิ นั้นในครั้งต่อไป อาจเขยี นในลกั ษณะของการย่อคำโดยใช้ เครื่องหมายไปยาลน้อย (ฯ) กำกับทา้ ยคำที่เขยี นย่อน้ัน เชน่ “พจนานกุ รมฉบับ ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542” อาจเขยี นยอ่ เปน็ “พจนานกุ รม ฯ” เปน็ ต้น

7. ในการเขยี นหนงั สือราชการ พงึ ระลกึ ไวเ้ สมอวา่ เปน็ การเขยี นเพือ่ ใหผ้ รู้ บั เปน็ ผ้อู ่าน และใหม้ ีความเข้าใจในเนื้อหาหรือข้อความน้นั ๆ การเขยี นจงึ ควรคำนึงถงึ การใชค้ ำ โดยยึดผอู้ า่ นเปน็ หลัก

8. การพิมพห์ นงั สือราชการ ควรยดึ รูปแบบตามทป่ี รากฏในระเบยี บสำนก นายกรัฐมนตรีว่าดว้ ยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ประกอบหนงั สือสำนกั นายกรฐั มนตรี ท่ี นร 0106/ว 2019 ลงวันท่ี 30 พฤศจกิ ายน 2553 ซง่ึ ไดอ้ ธิบายวิธีการพิมพ์ หนงั สอื ราชการภาษาไทยด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การพิมพใ์ นเคร่อื งคอมพิวเตอรไ์ ว้

๒๘

อย่างชัดเจน กล่าวคือ พยัญชนะต้นอยู่บรรทัดหนึ่ง แต่สระและตัวสะกดของคำ คำเดียวกันอยใู่ นบรรทดั ตอ่ มา เชน่ คำวา่ “มหาวิทยาลยั ” ตดั คำเป็น “มหาวทิ ” อยอู่ ีก บรรทดั หนึ่ง และ “ยาลัย” อยอู่ กี บรรทดั หนึง่ หรือชื่ออยบู่ รรทดั หน่ึง นามสกุลอยู่ บรรทัดหน่งึ ไม่เหมาะสม

9. การลงชือ่ ตำแหนง่ ของเจา้ ของหนงั สือ ในกรณที บ่ี คุ คล ซ่ึงดำรงตำแหนง่ ท่ตี อ้ งลงนาม เป็นเจ้าของหนงั สือ ได้มอบหมายให้ผูอ้ ืน่ ลงนามแทน หรือบุคคลนั้น ไมส่ ามารถปฏิบัติราชการไดต้ อ้ งให้ผ้อู ืน่ ลงนามแทน การพมิ พ์ชอื่ ตำแหนง่ จะตอ้ งพมิ พ์ ตำแหนง่ ของผู้ท่ีลงนามและลักษณะของการปฏิบัตงิ านแทน เช่น ปฏบิ ัติราชการแทน รักษาราชการแทน ทำการแทน ฯลฯ ไวบ้ รรทัดเดียวกนั และระบุตำแหนง่ ของบุคคลท่ี เป็นเจา้ ของเร่อื งตัวจรงิ ไว้ในบรรทดั ต่อมา

เช่น ลายมือช่อื

(นายวิชยั ไตรสรุ ตั น์)

ผู้ชว่ ยปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณป์ ฏบิ ตั ิราชการแทน

อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยนเรศวร

10. การจา่ หนา้ ซอง ทั้งทีส่ ่งทางไปรษณยี แ์ ละสง่ โดยคนเดินสารจะต้องระบุ เลขท่ีหนังสอื ราชการทอี่ ย่ใู นซองดว้ ย โดยใหเ้ ลขที่หนงั สือราชการนน้ั อยใู่ นตำแหน่ง ด้านลา่ งของส่วนราชการเจา้ ของหนงั สอื

9. คำแนะนำประกอบการพมิ พห์ นงั สือภายใน (สธุ ัญญ์ ฤทธิขาบ, 2563)

1. การตัง้ คา่ ในโปรแกรมการพมิ พ์

1.1 การต้ังระยะขอบหนา้ กระดาษ

- ขอบซ้าย 3 เซนติเมตร ขอบขวา 2 เซนตเิ มตร

๒๙

- ขอบบน 2.5 เซนติเมตร ขอบลา่ งประมาณ 2 เซนติเมตร

1.2 ระยะบรรทัดปกติคอื 1 เท่า หรือ Single

ในกรณที ีม่ คี วามจำเปน็ อาจปรบั ระยะเปน็ 1.05 พอยท์หรือ 1.1 พอยท์ ไดต้ ามความเหมาะสม โดยใหค้ ำนงึ ถงึ ความสวยงามและรปู แบบหนงั สือเป็นสำคญั

1.3 ต้ังคา่ ไม้บรรทัดการพมิ พ์ ระหว่าง 0 - 16 ซ.ม.

2. ขนาดครุฑ

2.1 ตราครฑุ สงู 3 เซนตเิ มตร ใชส้ ำหรบั กระดาษตราครฑุ

ตราครุฑสูง 1.5 เซนติเมตร ใชส้ ำหรับบันทกึ ข้อความ

2.2 การวางตราครุฑให้วางห่างจากขอบกระดาษบนประมาณ 2.5 เซนติเมตร

3. การพิมพ์

3.1 สว่ นหวั ของแบบบนั ทึกขอ้ ความกำหนดขนาดตวั อกั ษร ดังน้ี

1. คำว่า “บนั ทึกข้อความ” พิมพด์ ้วยอกั ษรตัวหนาขนาด 29 พอยท์ และปรับคา่ ระยะบรรทดั จาก 1 เท่าเปน็ ค่าแนน่ อน (Exactly) 35 พอยท์

2. คำว่า “ส่วนราชการ วันที่ เรอ่ื ง” พมิ พ์ดว้ ยอกั ษรตวั หนาขนาด

20 พอยท์

3.2 การพมิ พค์ ำขึ้นตน้ ให้มรี ะยะบรรทัดหา่ งจากเรือ่ งเท่ากับระยะ บรรทดั ปกติ และเพิ่มคา่ กอ่ นหนา้ อกี 6 พอยท์ (1 Enter + Before 6 pt)

1. การพมิ พ์ขอ้ ความภาคเหตุ ภาคความประสงค์ ภาคสรปุ และ การยอ่ หนา้ ใหถ้ อื ปฏิบตั เิ ชน่ เดยี วกบั การพิมพ์หนงั สือภายนอก

๓๐

2. การพิมพช์ ือ่ เตม็ ของเจ้าของหนงั สือ ให้เว้นระยะบรรทดั การพิมพ์ 3 บรรทัด จากภาคสรุป (4 Enter) การพิมพ์หนังสอื บันทกึ ขอ้ ความ โดยใช้ โปรแกรมการพมิ พเ์ ครื่องคอมพวิ เตอร์ จะต้องจัดทำให้ถกู ต้อง โดยเฉพาะส่วนหัวของ กระดาษบันทกึ ข้อความ จะต้องใชจ้ ุดไขป่ ลาแสดงเสน้ บรรทดั ทีเ่ ปน็ ชอ่ งวา่ งหลงั คำและ ไมต่ อ้ งมีเสน้ ทบึ แบง่ ส่วนหวั กระดาษกบั ส่วนขอ้ ความ ท้งั น้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามหนังสือสำนกั นายกรฐั มนตรี ท่ี นร 0106/ว 2019 ลงวนั ท่ี 30 พฤศจกิ ายน 2554

3.3 จำนวนบรรทดั ในการพิมพ์หนังสือราชการในแต่ละหนา้ ให้เป็นไป ตามความเหมาะสมกบั จำนวนขอ้ ความ และความสวยงาม

3.4 การพิมพห์ นังสือราชการแบบอ่ืนตามที่ระเบยี บกำหนดใหถ้ ือ ปฏิบตั ิตามนยั ดังกล่าวขา้ งต้น โดยอนุโลม โดยคำนึงถงึ ความเหมาะสมกับรปู แบบของ หนังสือชนิดนั้น กรณที ม่ี ีความจำเปน็ สว่ นราชการอาจปรับการพมิ พ์หนังสอื ราชการให้ แตกต่างจากนี้ได้ตามความเหมาะสม โดยให้คำนงึ ถงึ ความสวยงาม และรูปแบบของ หนงั สอื ราชการเปน็ สำคัญ

๓๑

10. การตัง้ ค่าในโปรแกรมการพมิ พห์ นงั สอื ภายใน

ภาพที่ 8 การตัง้ ค่าในโปรแกรมการพิมพ์หนงั สอื ภายใน ทม่ี า : https://workflow.cad.go.th

๓๒

บทที่ 3 การเขยี นหนังสอื ภายนอก

1. ความหมายหนงั สอื ภายนอก หนงั สือภายนอก คือ หนงั สอื ติดต่อราชการทเ่ี ป็นแบบพิธี โดยใชก้ ระดาษตรา

ครฑุ เขยี น เป็นหนังสือตดิ ตอ่ ระหวา่ งส่วนราชการ หรือส่วนราชการถงึ หนว่ ยงานอ่ืนใด ซงึ่ มิใช่สว่ นราชการ หรือมีถึงบคุ คลทวั่ ไป ใช้ในโอกาสทตี่ ิดต่อราชการระหว่างกระทรวง หนึ่ง หรอื กรมหน่งึ หรือจังหวดั หน่ึง หรอื ส่วนราชการแหง่ ใดแหง่ หนงึ่ กบั กระทรวงอนื่ หรือกรมอื่น หรือจงั หวดั อื่น หรอื หนว่ ยงานอ่นื หรอื กับบคุ คลทวั่ ไป (ระเบียบสำนัก นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยงานสารบรรณและทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เตมิ , 2526)

หนงั สอื ภายนอก คอื หนังสอื ติดต่อราชการท่ีเป็นแบบพิธี โดยใช้กระดาษ ตราครฑุ เป็นหนงั สอื ติดต่อระหว่างส่วนราชการ หรือสว่ นราชการมีถงึ หนว่ ยงานอืน่ ใด ซึ่งมิใช่สว่ นราชการ หรือทีม่ ถี ึงบคุ คลภายนอก รวมถึงขา้ ราชการบำนาญ (ปวณี า จนั ทรป์ ระดษิ ฐ์, 2560)

2. โครงสร้างหนงั สอื ภายนอก โครงสร้างหนังสือภายนอก ประกอบด้วยส่วนสำคญั 4 ส่วน ดังน้ี (ระเบยี บ

สำนกั นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยงานสารบรรณและที่แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ , 2526)

1. หวั หนังสอื

2. เหตทุ ม่ี ีหนงั สอื ไป

3. จดุ ประสงคท์ ม่ี ีหนังสือไป

4. ท้ายหนงั สือ

๓๓

ส่วนท่ี 1 หัวหนงั สอื

ท.ี่ ............ ตราครฑุ (สว่ นราชการเจา้ ของหนงั สือ)

(วัน เดือน ปี)

เรื่อง............................

เรียน..............................

อา้ งถงึ (ถ้าม)ี ............................

สิ่งทสี่ ง่ มาด้วย (ถ้าม)ี ..............................

ภาพท่ี 9 ส่วนหัวหนงั สือ ท่มี า : http://dept.npru.ac.th.

สว่ นที่ 2 เหตทุ ม่ี ีหนงั สอื ไป

(ข้อความ).................................................................................................. .................................................................................................................................. .................................................................................... .............................................. .................................................................................................................................. .................................................................................................................................. ..................................................................................................................................

ภาพที่ 10 สว่ นเหตุท่ีมีหนงั สอื ไป ท่ีมา : http://dept.npru.ac.th.

๓๔

ส่วนที่ 3 จุดประสงคท์ ีม่ ีหนงั สอื ไป

(ขอ้ ความ).................................................................................................. ..................................................................................................................................

จงึ .............................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………….....

ภาพที่ 11 ส่วนจุดประสงคท์ ม่ี หี นงั สอื ไป ที่มา : http://dept.npru.ac.th.

ส่วนท่ี 4 ทา้ ยหนังสอื (คำลงท้าย)......................................... (ลงชอื่ ).............................................. (ส่วนราชการเจา้ ของเรอ่ื ง)........... (พิมพ์ชอ่ื เต็ม).................................... โทร. x xxxx xxxx (ตำแหนง่ )....................................... โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณยี อ์ ิเล็กทรอนกิ ส.์ .......... สำเนาส่ง (ถา้ มี)……………………

ภาพท่ี 12 ส่วนทา้ ยหนงั สือ ทีม่ า : http://dept.npru.ac.th.

๓๕

1. ที่ ให้ลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจำของเร่อื งตามที่กำหนดไว้ แลว้ ทับด้วยเลขทะเบยี นหนงั สือส่ง (เลขทะเบยี นเร่ิมต้นทุกปปี ฏิทนิ )

เชน่ - หนังสือของสำนกั บรหิ ารกลาง กษ 0401/245 - หนังสอื เวียนทม่ี ีถึงผู้รบั จำนวนมาก โดยมีขอ้ ความอยา่ งเดียวกนั

ใหเ้ พ่ิมรหสั ตวั พยัญชนะ “ว” หนา้ เลขทะเบียนหนงั สือ เช่น กษ 0401/ว 771 - หนงั สือของคณะกรรมการ ให้กำหนดรหสั ตวั พยญั ชนะเพ่มิ ขึ้นได้

ตามความจำเป็นหรือใช้ทขี่ องหนว่ ยงานระดับกองทเี่ ลขาฯ คณะสังกดั

2. สว่ นราชการเจ้าของหนงั สอื ให้ลงช่อื สว่ นราชการ สถานทร่ี าชการหรอื คณะกรรมการ ซงึ่ เป็นเจา้ ของหนงั สอื น้นั และลงทีต่ ั้งไว้ด้วย ซึ่งส่วนราชการเจ้าของ หนงั สอื ตอ้ งสอดคล้องกับผู้ลงนามหนงั สอื

ผูล้ งนาม ส่วนราชการเจ้าของหนงั สอื อตส. หรอื ผปู้ ฏิบัติ ราชการแทนหรอื สว่ นกลาง สว่ นภูมภิ าค รกั ษาราชการแทน กรมตรวจบัญชสี หกรณ์ กรมตรวจบัญชสี หกรณ์ ผอ.ลงนาม เทเวศร์ กทม. 10200 สำนกั งานตรวจบญั ชี คณะกรรมการ สหกรณ์ที่... ลงนาม (ที่อยู่).............................

สำนกั .................... สำนักงานตรวจบัญชี กรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ สหกรณ์... เทเวศร์ กทม. 10200 กรมตรวจบญั ชสี หกรณ์

คณะ............................. (ทีอ่ ยู่)............................. กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ เทเวศร์ กทม. 10200 คณะ.............................

กรมตรวจบญั ชีสหกรณ์ สำนักงานตรวจบัญชี สหกรณ.์ .. (ทอ่ี ยู่).............................

๓๖

ผู้ลงนาม สว่ นราชการเจา้ ของหนังสือ

ส่งให้กระทรวง สว่ นกลาง สว่ นภมู ิภาค ลงนาม กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์ ถนนราชดำเนนิ -

นอก กทม. 10200

ตารางท่ี 2 ส่วนราชการเจา้ ของหนงั สอื ที่มา : https://www.excise.go.th.

3. วัน เดอื น ปี ใหล้ งเลขของวนั ท่ี ชอื่ เตม็ ของเดอื น และตัวเลขของปี พทุ ธศักราช ทอี่ อกหนงั สือ (ไม่ต้องแสดงพยญั ชนะ พ.ศ.) เช่น 30 เมษายน 2556

4. เรือ่ ง ใหล้ งเรอื่ งยอ่ ท่ีเปน็ ใจความส้ันท่ีสดุ ของหนงั สอื ฉบับน้ัน ในกรณที ี่ เปน็ หนงั สือต่อเนอื่ งให้ลงเร่อื งของหนงั สอื ฉบบั เดิม

5. คำขึ้นต้น ใหใ้ ช้คำข้ึนต้นตามฐานะของผู้รับหนงั สือตามรายการใช้ คำขน้ึ ต้น สรรพนาม และคำลงทา้ ยท่กี ำหนดไวใ้ นระเบียบสำนกั นายกรฐั มนตรีวา่ ดว้ ย งานสารบรรณ แลว้ ลงตำแหนง่ ของผทู้ หี่ นังสอื นัน้ มถี ึง หรอื ชอื่ บคุ คลในกรณีท่ีมีถึง ตวั บุคคลไมเ่ กี่ยวกบั ตำแหน่งหน้าท่ี

เชน่ เรยี น อธบิ ดีกรมท่ีดนิ เรยี น นายระเบยี บ ประกอบกิจ

6. อ้างถึง (ถ้ามี) ให้อา้ งถึงหนังสือทีเ่ คยมีติดต่อกันเฉพาะหนังสือท่ี ส่วนราชการผ้รู ับหนังสือไดร้ ับมาก่อนแล้ว จะจากส่วนราชการใดกต็ าม โดยเรียงลำดบั ดงั นี้ ช่ือสว่ นราชการเจา้ ของหนงั สอื ชั้นความลับ (ถา้ ม)ี ชัน้ ความเรว็ (ถา้ มี) เลขที่ หนงั สือ และวนั ที่ เดือน ปี ของหนงั สือนน้ั

๓๗

เชน่ อา้ งถึง หนังสือสำนักงาน ก.พ. ลบั ด่วนมาก ท่ี นร

070833/142 ลงวนั ท่ี 1 มนี าคม 2556

กรณีเปน็ หนงั สือถงึ ประชาชนท่ีมหี นงั สือมา โดยไมม่ เี ลขทหี่ นงั สอื

เชน่ อา้ งถงึ หนังสอื ของทา่ น ลงวันท.ี่ .................. อ้างถงึ หนังสอื ของทา่ น เรือ่ ง....................... (กรณไี ม่ได้ลงวันท)่ี

7. สิ่งทีส่ ่งมาด้วย (ถ้ามี) ใหล้ งชอ่ื ส่ิงของ เอกสาร หรือบรรณสารทสี่ ่งไป พรอ้ มกับหนงั สอื นั้น หากมีหลายชดุ ให้ระบุจำนวนชดุ ไว้ดว้ ย (กรณีมสี ง่ิ ท่ีส่งมาด้วย ตงั้ แต่ 2 หัวขอ้ ขึน้ ไป ในเนอื้ หาของหนงั สอื จะตอ้ งบอกส่งิ ทีส่ ง่ มาด้วยทั้งหมด เช่น รายละเอยี ดตามส่ิงท่ีส่งมาดว้ ย 1 และ 2) ในกรณีท่ีไม่สามารถสง่ ไปในซองเดียวกันได้ ให้แจง้ ด้วยวา่ สง่ ไปโดยทางใด

เช่น กรณเี พียงเรอ่ื งเดยี ว แสดงดงั นี้

สงิ่ ท่ีส่งมาด้วย รายงานการประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน จำนวน 5 ชุด

กรณมี ีเอกสารสง่ มากกวา่ 1 เรอื่ ง แสดงดังน้ี ส่งิ ที่ส่งมาดว้ ย 1. แบบประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน จำนวน 3 ชุด 2. รายชื่อขา้ ราชการท่มี คี ุณสมบตั ิ จำนวน 2 ชุด

8. ข้อความ ให้ลงสาระสำคัญของเรื่องให้ชัดเจนและเข้าใจงา่ ย หากมี ความประสงค์หลายประการใหแ้ ยกเปน็ ข้อ ๆ

8.1 เหตทุ ีม่ ีหนงั สือไป เป็นข้อความที่ผู้มหี นังสอื ไป แจ้งเหตุที่ต้อง มีหนังสือไปยงั ผู้รับหนงั สอื ซึง่ อาจเปน็ ขอ้ ความตอนเดยี วหรือ 2 ตอน หรอื หลายตอน กไ็ ด้

๓๘

8.2 จดุ ประสงค์ท่ีมีหนังสอื ไป เปน็ ขอ้ ความแสดงความประสงค์ท่ีมี

หนงั สอื ไปใหผ้ ู้รับหนงั สือทำอะไร เชน่

จึงเรียนมาเพอ่ื ทราบ (ผูบ้ งั คบั บญั ชา มถี งึ ผู้ใต้บงั คบั บญั ชา)

จงึ เรียนมาเพอื่ โปรดทราบ (ผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชา มหี นังสอื ถึง

ผู้บงั คบั บัญชาหรือในกรณีทอ่ี ยใู่ น ระดบั เดยี วกัน หรือในกรณที ี่

ใหเ้ กียรตผิ ู้รบั ถงึ แม้จะอยใู่ นระดับ

ต่างกัน)

จึงขอเรียนหารือมาวา่ ..........

จงึ เรียนขอความกรุณามาเพอ่ื โปรด อนเุ คราะห์

จงึ ขอกำชบั มาเพ่อื จกั ได้ระมดั ระวัง

มใิ ห้เกิดกรณเี ช่นนข้ี นึ้ อกี

9. คำลงท้าย ใหใ้ ชค้ ำลงทา้ ยตามฐานะของผ้รู ับหนังสอื ตามตารางการใช้ คำขึ้นต้น สรรพนาม และคำลงทา้ ย ที่กำหนดไว้ในระเบียบสำนกั นายกรฐั มนตรวี า่ ด้วย

งานสารบรรณ

10. ลงชอ่ื ให้ลงลายมือชอ่ื เจ้าของหนงั สอื และใหพ้ มิ พ์ช่อื เตม็ ของเจา้ ของ ลายมอื ช่อื ไว้ใตล้ ายมอื ชอื่

11. ตำแหน่ง ใหล้ งตำแหนง่ ของเจา้ ของหนงั สือ (ตำแหน่งของผู้ลงลายมอื ชอื่ ต้องสอดคล้องกับสว่ นราชการเจา้ ของหนงั สอื )

12. สว่ นราชการเจา้ ของเรื่อง ใหล้ งชอ่ื ส่วนราชการเจ้าของเร่ืองหรือ หน่วยงานที่ออกหนงั สอื

- สว่ นราชการทอี่ อกหนงั สืออยรู่ ะดบั กระทรวงหรอื ทบวง ใหล้ งชื่อ สว่ นราชการเจา้ ของเรื่องทงั้ ระดับกรมและระดบั กอง

- ส่วนราชการที่ออกหนังสอื อยู่ในระดับกรมลงมา ให้ลงช่อื ส่วนราชการเจา้ ของเรือ่ งเพียงระดับกอง หรือหนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบ

๓๙

13. โทร ให้ลงหมายเลขโทรศพั ท์ของสว่ นราชการเจ้าของเร่ืองหรือ หน่วยงานทีอ่ อกหนงั สอื

14. โทรสาร ใหล้ งหมายเลขโทรสารของส่วนราชการเจา้ ของเร่ืองหรือ หนว่ ยงานที่ออกหนงั สอื ตอ่ จากหมายเลขโทรศพั ท์

15. ไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ (ถา้ มี) ให้ระบุไปรษณีย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ท่ีใช้ใน การรบั ส่งข้อมลู ขา่ วสารอิเล็กทรอนกิ ส์

ตามหนังสอื สำนกั นายกรฐั มนตรี ที่ นร 1305/ว 6069 ลว.18 ก.ค.2544 เรอื่ ง การระบเุ ลขหมายโทรศพั ท์ โทรสาร และไปรษณียอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์

เช่น สว่ นท้ายหนงั สอื

ส่วนราชการเจา้ ของหนังสือ ส่วนราชการเจ้าของเรือ่ ง กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ สำนักบรหิ ารกลาง โทร. x xxxx xxxx สำนกั บรหิ ารกลาง โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ [email protected]

ฝา่ ยบรหิ ารทวั่ ไป โทร. x xxxx xxxx โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณยี ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ [email protected]

๔๐

สว่ นราชการเจ้าของหนังสอื ส่วนราชการเจา้ ของเรื่อง คณะกรรมการ............... ฝา่ ย............... (ท่ีเปน็ เลขาฯ คณะ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โทร. x xxxx xxxx โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณีย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ [email protected])

กรมตรวจบญั ชสี หกรณ์ สำนักบริหารกลาง โทร. x xxxx xxxx โทรสาร x xxxx xxxx ไปรษณีย์ อิเล็กทรอนกิ สs์ [email protected]

ตารางที่ 3 สว่ นทา้ ยหนงั สือ ท่ีมา : https://workflow.cad.go.th.

16. สำเนาสง่ (ถ้าม)ี ในกรณที ี่ผู้สง่ จัดทำสำเนาส่งไปให้ส่วนราชการหรอื บุคคลอ่นื ทราบ และประสงค์จะให้ผ้รู บั ทราบว่าได้มีสำเนาส่งไปให้ผใู้ ดแลว้ ใหพ้ มิ พช์ อ่ื เตม็ หรือชื่อยอ่ ของส่วนราชการหรือ ชอื่ บุคคลทสี่ ่งสำเนาไปใหเ้ พอื่ ใหเ้ ปน็ ทเ่ี ข้าใจระหวา่ งผู้สง่ และผู้รับ ถ้าหากมีรายชื่อทส่ี ่งมาใหพ้ มิ พว์ า่ ส่งไปตามรายชอ่ื ท่ีแนบและแนบรายชื่อไป ดว้ ย

3. สว่ นประกอบพเิ ศษของหนงั สอื ภายนอก หนงั สือราชการภายนอกบางฉบับยงั มีองคป์ ระกอบบางประการ ซึง่ จะขนึ้ อยู่

กับลกั ษณะหรอื เนื้อความในหนังสอื อกี ได้แก่ (ระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรีวา่ ด้วยงาน

สารบรรณ, 2526)