ว ธ คำนวณปร มาณไฟฟ าจากม ลต ม เตอร

เมื่อต้องการนำเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างประเทศมาใช้งานซักเครื่อง สิ่งแรกที่เราควรต้องรู้และคำนึงถึง คือ ค่าวัตต์ของเครื่องใช้ไฟฟ้านั้นๆ เพราะเมื่อนำมาใช้กับไฟบ้านเรา ค่าไฟต่างกัน จะต้องใช้หม้อแปลงไฟ และราคาหม้อแปลงแต่ละตัวก็ไม่ใช่ถูกๆ

บทความนี้จะแนะนำการคำนวณค่าวัตต์ของเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ แบบง่ายๆ บ้านๆ คร่าวๆ พอใช้งานได้จริง ไม่ละเอียด ไม่เจาะลึก ไม่เครียด(จริงๆ)

ในเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไป ข้อความที่เรามักจะพบเห็นในตัวสินค้าจะมีค่าประมาณนี้

1. V \= Volts (โวลต์) \= แรงดันไฟฟ้า

2. A \= Amp (แอมป์) \= ปริมาณกระแสไฟฟ้า

3. W \= Watts (วัตต์) \= กำลังไฟฟ้าที่ใช้งานจริง

4. VA \= Volt-Ampere (โวลต์แอมแปร์) \= กำลังไฟฟ้าที่จ่ายให้เครื่องใช้ไฟฟ้า *มักจะพบคำนี้ในหม้อแปลงไฟฟ้า หรือ เครื่องสำรองไฟ

วิธีคำนวณหาค่าวัตต์แบบง่ายๆ คือ เอาค่าโวลต์ (V) ไปคูณกับ ค่าแอมป์ (A) W \= V x A

* จริงๆ มันต้องมีตัวแปรอื่นเพิ่มเติมมาคำนวณอีก แต่ในฐานะของยูสเซอร์ แค่ผู้ใช้ตามบ้าน ทราบแค่นี้ก็เพียงพอต่อการนำข้อมูลไปหาซื้อหม้อแปลงไฟฟ้ามาใช้งานได้แล้ว

เมื่อลองดูด้านหลังเครื่องใช้ไฟฟ้า เราจะพบรายละเอียดประมาณนี้

*ภาพบางส่วนได้มาจากสเปคเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ ของลูกค้า ที่ได้ส่งภาพมาให้ทางร้านช่วยแนะนำจัดสเปคหม้อแปลงไฟฟ้าให้ ����Ѻ��Ţͧ��ŵ��������������ö�ŧ������������¹Өӹǹ��ͧ�ͧ������ ��� 10 V = 10 ��ͧ ���èӹǹ�ç�ѹ俵ç������� ��� 200 ��ŵ� ������ç�ѹ��ͪ�ͧ�͡�ҹ�仺ǡ�������Ъ�ͧ���ӴѺ�������Ţͧ�ç�ѹ��������͡�Ҵѧ���� �ٻ��� 4

ส่วนที่ 1 ค่าไฟฟ้าฐาน

1.1 ค่าพลังงานไฟฟ้า

15 หน่วย(กิโลวัตต์ชั่วโมง)แรก (หน่วยที่ 1 - 15)

บาท

10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 16 - 25)

บาท

10 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 26 - 35)

บาท

65 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 36 - 100)

บาท

50 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 101 - 150)

บาท

250 หน่วยต่อไป (หน่วยที่ 151 - 400)

บาท

เกินกว่า 400 หน่วย (หน่วยที่ 401 เป็นต้นไป)

บาท

รวมทั้งหมด

บาท

1.2 ค่าบริการ

บาท

รวมค่าไฟฟ้าฐาน

บาท


ส่วนที่ 2 ค่าไฟฟ้าผันแปร ( Ft )

จำนวนพลังงานไฟฟ้า x ค่า Ft

บาท


ส่วนที่ 3 ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%

(ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่า Ft) x 7/100

บาท


รวมเงินค่าไฟฟ้า

บาท