ว ธ การทอผ าลายข ด สำหร บการทำร ม

หลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนื่อง

โครงการอบรมส่งเสริมอาชีพ ๑ อำเภอ ๑ อาชพี อาชีพระยะส้ัน วิชาการทอผ้าฝ้าย จำนวน ๔๐ ชั่วโมง

ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย อำเภอเกษตรวสิ ยั ถนนปทั มานนท์ ตำบลเกษตรวสิ ัย อำเภอเกษตรวิสัย จังหวดั รอ้ ยเอ็ด รหสั ไปรษณีย์ ๔๕๑๕๐ โทรศัพท์ ๐๔๓-๕๘๙๓๘๑

คำนำ

ด้วย ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเกษตรวิสยั ได้รบั จดั สรร งบประมาณโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน จากสำนักงาน กศน.จังหวัดร้อยเอด็ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ เพื่อดำเนินการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนส่งเสริมอาชีพ และตอ่ ยอด อาชพี เดิมของประชาชนในเขตอำเภอเกษตรวิสัย โดย นางมยุรี สัตยไพศาล ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอ เกษตรวิสัย ได้มอบหมายให้ นางพร มะเสนะ ตำแหนง่ ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน รบั ผิดชอบ ดำเนินการสำรวจกลมุ่ เป้าหมาย ประสานงานวทิ ยากรในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลมุ่ อาชพี ระยะสนั้ “ ๑ อำเภอ ๑ อาชพี ” หลกั สตู รการทอผา้ ฝ้าย จำนวน ๔๐ ชว่ั โมง ซึ่งประชาชนให้ความสนใจและ ต้องการเรียนรฝู้ กึ ปฏิบตั กิ ารทอผ้าฝ้ายลวดลายต่างๆ เพื่อเปน็ การใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ เปน็ อาชีพเสรมิ เพมิ่ รายไดล้ ดรายจา่ ย สามารถทอผ้าใชเ้ องในครัวเรือนได้ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัยอำเภอเกษตรวิสยั จงึ ได้มองเหน็ ความสำคัญและความต้องการของประชาชน จึงไดจ้ ัดทำหลกั สูตร วชิ าการทอผ้าฝา่ ย เพื่อเสนอขอความเห็นชอบ และเผยแพรค่ วามรูต้ อ่ ไป

นางพร มะเสนะ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๓

สารบัญ

เร่อื ง หน้า

หนงั สอื รับรองเหน็ ชอบหลกั สูตร ๑ หลักสูตรการทอผ้าฝ้าย ๒ โครงสร้างหลกั สตู ร ๓ สอ่ื การเรียนรู้/การวดั ผลประเมินผล/เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร ๘

ภาคผนวก

.ใบความรู้ ภาพกิจกรรม

หนงั สือรบั รองเห็นชอบหลกั สูตร

โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน “ ๑ อำเภอ ๑ อาชีพ” หลกั สูตรการทอผ้าฝ้าย จำนวน ๔๐ ชั่วโมง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเกษตรวิสยั

ตามท่ี ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเกษตรวิสยั มีความประสงค์จะ ดำเนินการจัดฝึกอบรมประชาชน โดยการจดั กิจกรรมท่มี เี น้ือหาเก่ยี วกับกิจกรรมการศึกษาต่อเน่อื งตาม โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รปู แบบห้องเรียนวชิ าชพี หลักสูตรระยะส้นั “ ๑ อำเภอ ๑ อาขพี ”หลักสตู ร การทอผา้ ฝา้ ย จำนวน ๔๐ ช่วั โมง ใหก้ บั ประชาชนทส่ี นใจเพอ่ื ไดร้ บั ความรปู้ ระสบการณ์ตรงพรอ้ มลงมือฝึก ปฏบิ ัติจริง มเี จตคติและทักษะทีจ่ ำเปน็ สำหรับการดำรงชีวิตในสงั คมปจั จุบัน ซึ่งเป็นการใชเ้ วลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ามารถทอผ้าใช้เองและทำเป็นอาชีพเสรมิ เพ่ิมรายไดล้ ดรายจา่ ยในครัวเรอื น เพอื่ ให้เป็นไปตาม หลกั เกณฑก์ ารจัดกิจกรรมการฝกึ อบรมประชาชนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงาน กศน. ตามหนังสอื กรมบญั ชีกลาง ดว่ นท่สี ุด ท่ี กท ๐๔๐๖.๔/๐๖๖๐๖ ลงวนั ท่ี ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ และหนังสือสำนกั งาน กศน. ที่ ศธ ๐๒๑๐.๑๑๗/๓๑๙๘ ลงวนั ท่ี ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๙

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเกษตรวสิ ยั จึงขอเสนอหลักสูตรการทอ ผา้ ฝ้าย “ ๑ อำเภอ ๑ อาขพี ” จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง เป็นหลักสูตรใช้จัดกจิ กรรมโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน รปู แบบห้องเรียนวชิ าชพี ระยะสนั้ เพ่อื ขอความเห็นชอบใหด้ ำเนนิ การตามวตั ถุประสงคข์ องโครงการ ตอ่ ไป

ลงช่ือ ผ้เู สนอหลกั สตู ร ( นางพร มะเสนะ )

ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น

ลงช่อื ผเู้ หน็ ชอบหลกั สูตร (นางสาวมยุรี ถนัดคา้ )

ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา

ลงชอ่ื ผอู้ นุมัตหิ ลกั สูตร ( นางมยรุ ี สตั ยไพศาล )

ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอเกษตรวสิ ัย

หลักสูตรอาชีพ การทอผา้ ฝา้ ย จำนวน ๔๐ ช่ัวโมง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเกษตรวิสัย



ความเป็นมา

สภาพสังคมในปัจจบุ นั มนษุ ย์เราไดร้ ับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านตา่ งๆเช่นด้านเศรษฐกิจ การเมือง สงั คมและสิง่ แวดลอ้ มเป็นอยา่ งมาก ประชากรเพม่ิ ขนึ้ เร่อื ยๆ แต่ทรพั ยากรมนี ้อยลง จึงมีความ จำเปน็ ต้องใช้ทรัพยากรที่มีอยอู่ ย่างจำกัดให้มคี วามคมุ้ ค่ายงิ่ ขึน้ โดยเฉพาะดา้ นการดำรงชพี และชีวิตความ เปน็ อยขู่ องประชาชนนอกจากจะมีการประกอบอาชีพเพอื่ เป็นการเลยี้ งตัวเองและครอบครวั แล้ว ยังมีส่ิงทถี่ ือ วา่ เปน็ ภาระหนกั คืออาหารเพ่ือบริโภคประจำวัน จงึ จำเปน็ อยา่ งยิง่ ท่ีมนษุ ยเ์ ราจะต้องสร้างข้ึนหรือหามา ทดแทนโดยวิธกี ารตา่ ง ๆ เพือ่ การอยูร่ อด

การทอผ้าด้ายเป็นแนวคิดและการพัฒนาผลิตสิ่งประดษิ ฐ์จากวัสดุเหลือใช้ เพื่อเป็นการช่วยส่งเสรมิ เอาชีพใหก้ บั ประชาชนได้ใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ ไดร้ ู้วิธกี ารข้ันตอนการทอผา้ ดา้ ยในรูปแบบต่างๆ วิธีการ ทำทอผ้าด้ายและเป็นการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า ซึ่งวัสดุที่นำมาทอผ้าไหมเป็นวัสดุที่นำมาจาก ธรรมชาติ นอกจากน้ันยงั สามารถนำไปจำหนา่ ยเพื่อเปน็ รายไดเ้ สรมิ ใหก้ ับครอบครวั

หลกั การของหลกั สตู ร ๑. เปน็ หลกั สูตรทเ่ี น้นการจดั การศกึ ษาอาชพี เพ่อื การมีงานทำ ท่ีเนน้ การบูรณาการเนือ้ หาสาระภาค

ทฤษฏีควบคไู่ ปกบั การฝึกปฏบิ ัติจริง ผเู้ รยี นสามารถนำความรู้และทักษะไปประกอบอาชีพไดจ้ ริงอยา่ งมี คณุ ภาพและมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม

๒. เปน็ หลักสูตรท่เี น้นการดำเนนิ งานรว่ มเครือขา่ ย สถานประกอบการ เพอ่ื ประโยชน์ในการประกอบ อาชีพและการศึกษาดงู าน

๓.เปน็ หลกั สูตรท่ีผเู้ รียนสามารถนำผลการเรียนรู้ไปเทียบโอนเขา้ สหู่ ลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ในรายวิชาเลือกของสาระการประกอบอาชพี

๔. เป็นหลักสูตรทีเ่ นน้ การใชศ้ กั ยภาพ 5 ดา้ นในการประกอบอาชพี ได้แก่ ศักยภาพด้านทรัพยากร ภูมิอากาศ ภมู ิประเทศและทำเลที่ตัง้ ศิลปวัฒนธรรมประเพณแี ละวถิ ชี ีวิต และด้านทรพั ยากรมนุษย์

จุดมุง่ หมาย ๑. มีความรูแ้ ละทกั ษะในการประกอบอาชีพ สามารถสรา้ งรายได้ท่ีมน่ั คง มง่ั ค่ัง ๒. ตดั สนิ ใจประกอบอาชีพให้สอดคลอ้ งกับศกั ยภาพของตนเอง ชมุ ชน สงั คม และส่งิ แวดลอ้ มอย่างมี

คณุ ธรรมจริยธรรม ๓. มเี จตคติทีด่ ีในการประกอบอาชพี ๔. มคี วามรคู้ วามเข้าใจและฝึกทักษะการบรหิ ารจัดการในอาชีพได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๕. มีโครงการประกอบอาชพี เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการพฒั นาอาชีพของตนเอง

กลมุ่ เปา้ หมาย ประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายในพน้ื ท่บี า้ นอาลาง หมทู่ ่ี ๘ ต. โนนสวา่ ง อ.เกษตรวสิ ยั จ.รอ้ ยเอ็ด

ท่ไี มม่ อี าชพี หรอื มอี าชีพและต้องการพฒั นาอาชีพจำนวน ๑๑ คน ระยะเวลา

๔๐ ชั่วโมง ทฤษฎี ๑o ชว่ั โมง ปฏิบตั ิ ๓๐ ชั่วโมง ในระหว่างวนั ที่ ๑๒ – ๒๑ มกราคม ๒๕๖๓

หลกั สูตรอาชีพการทอผา้ ฝ้าย “ ๑ อำเภอ ๑ อาชีพ” จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง

สาระสำคญั

อาชพี การทอผา้ ฝา้ ย เปน็ หัตถกรรมพ้ืนบ้านที่ทำสืบทอดต่อกันมาเป็นเวลานาน ตั้งแต่สมัยโบราณรุ่น ปยู่ ่าตายายจนกระท่ังถึงร่นุ ลกู หลาน การทอผ้าเป็นงานศิลปะทผ่ี ู้ประกอบอาชพี นตี้ ้องมคี วามสามารถในการ คิดลวดลายการทอผา้ ด้ายลวดลายต่างๆ ในปัจจุบันมคี วามสำคญั มากและสร้างรายได้ใหก้ บั กลุ่มสตรี บา้ นอาลาง หมู่ที่ ๘ ตำบลโนนสว่าง อำเภอเกษตรวิสยั จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นอย่างมาก

ปจั จบุ ันการทำอาชพี ทอผา้ ฝ้ายลวดลายต่างๆประชาชนส่วนใหญส่ นใจประกอบอาชีพรองจากอาชพี การทำนาไดร้ ับการนิยมอย่างมากเพราะเป็นอาชพี เสริมท่สี รา้ งรายไดใ้ หก้ บั ครอบครัว และชุมชนมีความ เข้มแขง็

ความสำคญั ของหลักสูตร หลักสูตรอาชพี การทอผ้าฝ้ายลวดลายต่างๆ มคี วามสำคญั ดงั นี้ ๑. เปน็ การจัดทำหลักสูตรด้านหตั ถกรรม ท่ีมคี วามยดื หยุน่ ดา้ นการกระบวนการเรยี นรู้ และการ วัดผลประเมนิ ผล โดยบูรณาการให้สอดคลอ้ งกบั ศกั ยภาพของชมุ ชนใน ๕ ด้าน คือ ด้านของ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นแต่ละพ้นื ท่ี ศักยภาพของพน้ื ทตี่ ามลกั ษณะภมู อิ ากาศ ศักยภาพของพื้น ที่ตามลักษณะภมู ปิ ระเทศ ศกั ยภาพด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณี ความเปน็ อยใู่ นวถิ ีชวี ติ ครอบครัวและศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษย์การจดั การศึกษาตามหลักสูตรอาชีพการทอผา้ ฝ้าย ลวดลายต่างๆมงุ่ เนน้ กลุ่มเปา้ หมายประชาชนผู้ไม่อาชีพ หรือผทู้ ม่ี อี าชพี แต่ต้องการพฒั นาอาชพี ให้ มคี วามมน่ั คง ยงิ่ ขึ้น ๒. เป็นการสง่ เสรมิ อาชพี ทมี่ ีในชมุ ชนให้สามารถเป็นแหลง่ เรียนรตู้ ลอดชวี ิตของคนในชมุ ชน ๓. การจดั กระบวนการเรยี นรู้ มงุ่ เนน้ การฝึกปฏบิ ตั ิ การเรียนรดู้ ้วยตนเอง เพื่อพฒั นากลุ่มเป้าหมาย ใหม้ ีความพร้อมในการประกอบอาชพี ให้มคี วามเข้มแข็ง และยั่งยืนตลอดไป

จุดมุ่งหมายของหลักสตู ร หลกั สูตรอาชพี การทอผา้ ฝา้ ยลวดลายตา่ งๆ มจี ดุ หมายเพอ่ื ให้กลมุ่ เป้าหมายมีความรู้ ความเขา้ ใจ

มที ักษะในการประกอบอาชีพการทอผ้าฝ้าย สามารถประกอบอาชีพสร้างรายไดอ้ ย่างมคี วามม่นั คง เขม้ แข็ง และมีความคุณธรรม

กลมุ่ เป้าหมาย ๑. ประชาชนผู้ไม่อาชีพวัยแรงงาน ๑๕ – ๕๙ ปี ๒. ประชาชนผอู้ าชพี และต้องการพัฒนาอาชีพ วยั ๖๐ ปีขึน้ ไป

ระยะเวลาของหลักสูตร หลกั สูตรอาชพี การทอผา้ ฝา้ ย ใชเ้ วลาเรยี นตลอดหลกั สูตร จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง

โดยแยกเปน็ ดังนี้ ๑. ภาคทฤษฎี จำนวน ๑๐ ชวั่ โมง ๒. ภาคปฏบิ ัติ จำนวน ๓๐ ช่ัวโมง

ผลการเรียนรทู้ ่ีคาดหวัง ผู้เรยี น ผู้รับบริการ สามารถฝึกทกั ษะ และประกอบอาชพี ได้

ศึกษาและฝกึ ทักษะ เพ่อื ให้ผเู้ รียน ผรู้ ับบรกิ ารมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถประกอบอาชพี การทอผา้ ฝา้ ยลวดลาย

ตา่ งๆ และสามารถถ่ายทอดองคค์ วามรไู้ ด้

การจัดประสบการเรียนรู้ ศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง เรยี นรู้จากวิทยากรผู้สอน บรรยาย สาธิตและฝึกปฏิบตั ใิ นพ้ืนท่ี หมทู่ ี่ ๘

บ้านอาลาง ตำบลโนนสว่าง อำเภอเกษตรวิสัย จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด เรียนรจู้ นสามารถปฏิบัตเิ ป็นอาชีพเสรมิ และ ใชเ้ ป็นแหลง่ เรียนร้ใู นชุมชน และชมุ ชนใกล้เคียงได้ศึกษา เรียนรูอ้ าชีพ

ขอบข่ายเนอื้ หา การเตรยี มการ วัสดุ อุปกรณก์ ารทอผ้าฝา้ ยและผา้ ฝ้ายลวดลายต่างๆ ข้นั ตอนการผา้ ฝา้ ย การจำหนา่ ย (การตลาด)

การวดั และประเมนิ ผล

ประเมนิ ความกา้ วหน้าด้วยวธิ กี ารสมั ภาษณ์ สอบถาม การสังเกต แบบติดตามผู้เรยี นจบหลกั สูตร

โครงสร้างหลกั สตู ร

หลกั สตู รอาชีพการทอผา้ ฝา้ ย “ ๑ อำเภอ ๑ อาชพี ”

จำนวน ๔๐ ชวั่ โมง

ท่ี หัวเรอ่ื ง จุดประสงค์ เน้อื หา จำนวน (ชั่วโมง) (ตัวชว้ี ดั ) ๖ ช่วั โมง ทฤษฎี ๓ ๑. ชอ่ งทางการประกอบอาชีพ ๑. อธิบายความสำคญั ในการ ๑.๑ ความสำคัญในการประกอบ ปฏบิ ตั ิ ๓

การทอผ้าฝ้ายลวดลาย ประกอบอาชีพการทอ อาชพี การทอผา้ ฝ้าย ๒๔ ชว่ั โมง ปฏบิ ัติ ๑๙ ต่างๆ ผา้ ฝ้ายลวดลายตา่ งๆได้ ๑.๒ แหล่งเรียนรใู้ นการประกอบ ทฤษฎี ๕

๒. สามารถวิเคราะห์ อาชีพการทอผา้ ฝา้ ย ชัว่ โมง

หลักการในการประกอบ ๑.๓ ทิศทางในการประกอบอาชีพ ๑๐ ช่วั โมง ทฤษฎี ๒ อาชพี การทอผา้ ฝ้ายลวดลาย ชัว่ โมง ปฏิบตั ิ ๘ ต่างๆได้ ชวั่ โมง

๓. สามารถบอกทิศทางใน

การประกอบอาชพี ได้

๒. ทักษะการประกอบอาชพี ๑. อธิบายเกย่ี วกบั ลายของ ๒.๑ ลักษณะลายผา้ ฝ้าย

การทอผา้ ฝา้ ย/ผา้ พ้นื ผา้ ฝ้ายลวดลายต่างๆได้ ๒.๒ วัสดุ อปุ กรณ์ ในการทอผ้า

๒. จัดเตรยี มวสั ดุ-อปุ กรณ์ ฝา้ ยลวดลายต่างๆ

ทใ่ี ช้ในการทอผ้าฝ้าย ๒.๓ วิธกี ารในการทอผ้าฝ้าย

ลวดลายต่างๆได้ ลวดลายตา่ งๆ

๓. อธบิ ายขนั้ ตอนและ ๒.๔ ฝึกปฏบิ ตั ิการทอผ้าฝา้ ย

สามารถปฏิบตั กิ ารทอผ้าฝ้าย ลวดลายต่างๆ

ลวดลายต่างๆได้

๓ การบริหารจัดการอาชีพ ๑. วางแผนควบคุมคุณภาพ ๓.๑ การควบคุมการผลติ และ

การทอผา้ ฝ้ายลวดลาย การผลติ และออกแบบการ บรรจภุ ณั ฑ์

ต่างๆ บรรจภุ ัณฑ์ได้ ๓.๒ การจดั การตลาด

๒. จัดทำฐานขอ้ มูลระเบียนผู้ ๓.๓ การประชาสมั พันธ์

ซอื้ สนิ คา้ เปน็ ระบบ ๓.๔ การวเิ คราะหศ์ กั ยภาพ

๓. วางแผนและปฏิบตั ิการ สนิ คา้

กระจายสินค้าและ - การบนั ทกึ ขอ้ มูลตน้ ทุน-กำไร

ประชาสัมพนั ธไ์ ด้ ๓.๕ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม สำหรับผู้

๔. วิเคราะหต์ ามต้องการ ประกอบอาชีพ

ในการใช้ผ้าสไบและการ การทอผ้าฝา้ ยลวดลายต่างๆ

แขง่ ขนั ในตลาดผ้ผู ลิต

๔. โครงการการประกอบ ๑. บอกความสำคัญของ ๔.๑ ความสำคัญของโครงการ ๘ ชว่ั โมง อาชพี การทอผ้าฝ้าย การประกอบอาชีพการทอผา้ ฝ้าย ปฏิบตั ิ ๘ ลวดลายตา่ งๆ โครงการอาชพี ได้ ลวดลายต่างๆ ช่ัวโมง ๒. บอกประโยชน์ของ ๔.๒ ประโยชนข์ องโครงการ การประกอบอาชีพการทอผา้ ฝ้าย โครงการอาชีพได้ ลวดลายตา่ งๆ ๓. อธิบายลักษณะการเขยี น ๔.๓ องคป์ ระกอบของโครงการ โครงการท่ีดี การประกอบอาชีพการทอผ้าฝ้าย ลวดลายต่างๆ ๔. สามารถเขียนโครงการ ใหเ้ หมาะสม และถูกต้องได้

๕. ประเมนิ ความเหมาะสม และสอดคลอ้ ง กบั โครงการ

สื่อการเรยี นรู้ 1. ศกึ ษาเอกสาร / ใบความรู้ 2. ศกึ ษาจากแหลง่ เรียนรู้ในชมุ ชน /วิทยากร /ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น

การวดั และประเมินผล 1. มเี วลาเรียน ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80 2. มผี ลการประเมินตลอดหลกั สูตร ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 60 3. มผี ลงานการประเมินทดสอบท่ีมีคุณภาพตามหลักเกณฑก์ ารทอผ้าฝ้าย

เง่ือนไขการจบหลักสตู ร 1. มเี วลาเรียน ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 2. มีผลการประเมนิ ตลอดหลกั สูตร ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 3. มผี ลงานการประเมนิ ทดสอบท่ีมีคุณภาพตามหลกั เกณฑ์การทอผ้าฝ้าย

เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทจี่ ะได้รับหลงั จากจบหลักสูตร ๑. ประกาศนียบัตรการศกึ ษา ออกโดยศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

อำเภอเกษตรวสิ ัย

การเทียบโอน ๑. ผเู้ รยี นที่จบหลกั สตู รน้ีสามารถนำไปเทียบโอนผลการเรียนรู้กับหลกั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ในสาระการประกอบอาชีพรายวิชาเลือกที่สถานศกึ ษาไดจ้ ดั ทำขนึ้ ในระดับใดระดบั หนึง่

ใบความรู้

ผ้าฝ้าย

สายใยความผูกพันแห่งชีวิตและเส้นใย ฝ้าย (cotton) คือ เส้นใยเก่สาแก่ชนิดหนึ่งซ่ึงใช้ใน การทอผ้ามาแต่สมัยโบราณ สิ่งท่ีบ่งบอกให้รู้ว่ามนุษย์มีการปลูกฝ้ายและป่ันฝ้ายเป็นเส้นด้ายมานาน แล้ว คือหลักฐานทางโบราณคดี ซ่ึงขุดพบในซากปรักหักพังอายุประมาณ ๓,๐๐๐ ปี ก่อนคริสตกาลท่ี แหล่งโบราณคดีโมฮันโจดาโร (Mohenjo daro) ซึ่งอยู่ในบริเวณแหล่งอารยธรรม ลุ่มน้ำสินธุในเขต ประเทศปากีสถานปัจจุบัน ส่วนการทอผ้าฝ้ายในประเทศไทยนั้น คงมีขึ้นหลังการทอผ้าจากป่าน กัญชา สันนิษฐานว่าการปลูกฝ้ายในไทยรับเอาพันธุ์และวิธีการมาจากประเทศอินเดีย และหลังจาก พบว่าผ้าทอจากฝ้ายมีเนื้อนุ่ม สวมใส่สบายและย้อมติดสีดีกว่าผ้าป่านกัญชา อีกท้ังขั้นตอนและ กระบวนการแยกและเตรียมฝ้ายก็ไม่ยุ่งยาก ใช้เวลาน้อยกว่าการเตรียมป่านกัญชามาก ชาวไทยจึงค่อย ๆใช้ป่านกัญชาลดลงตามลำดับ ปัจจุบันแหล่งปลูกฝ้ายในประเทศไทย คือ จังหวัดเลย เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ ลพบุรี ปราจีนบุรี สุโขทัย เพชรบุรี นครราชสีมา และกาญจนบุรี

พันธุ์ฝ้ายในประเทศไทยมีหลายชนิด และมีฝ้ายพื้นเมืองอยู่ 2 สายพันธ์ุ ซึ่งให้ปุยสีขาว อย่างท่ีมักพบเห็นทั่วไป และฝ้ายพันธ์ซ่ึงให้ปุยสีน้ำตาลอ่อนที่ชาวบ้านเรียกกันว่าสีขี้ตุ่นหรือสีตุ่น และ เรียกฝ้ายชนิดน้ีว่าฝ้ายตุ่น ฝ้ายตุ่นเป็นพันธุ์ฝ้ายที่หายากและป่ันยากกว่าฝ้ายพันธุ์สีขาว เนื่องจากมีปุย สั้นและไม่ค่อยฟูเหมือนพันธุ์สีขาว ดอกฝ้ายตุ่นมีขนาดเล็กสีน้ำตาล เส้นใยสั้น ใช้เป็นวัตถุดิบที่สำคัญใน การทอผ้าด้วยมือแบบพ้ืนเมือง ส่วนฝ้ายพันธ์ุชนิดอ่ืน ๆ มักใช้ทอผ้าในระดับอุตสาหกรรม โดยมากผ้า ฝ้ายมีคุณสมบัติช่วยในการกร องแสงได้อย่างดีจึงมักนำมาทำ ผ้าม่านอีกทั้งยังประหยัดดค่าใช้จ่ายอีก ด้วย

ผ้าที่ทอจากฝ้ายส่วนใหญ่คือ ผ้าทอจากทางภาคเหนือ ชาวล้านนาจะเร่ิมปลูกฝ้ายราวเดือนพฤษภาคม และรอเก็บในเดือนพฤศจิกายน นิยมเก็บฝ้ายก่อนที่ฝ้ายจะร่วงลงสู่พื้น ป้องกันไม่ให้ฝ้ายสกปรก หลังจากเก็บฝ้ายแล้วชาวบ้านต้องนำฝ้ายไปตาก เพื่อคัดเอาแมลงและสิ่งสกปรกออก ก่อนจะนำไปหีบ หรืออีดในท่ีอีดฝ้าย แยกเอาเมล็ดออกก่อนนำไปปั่นเป็นเส้นด้าย

ขั้นตอนการทอผ้าฝ้าย

ขั้นตอนที่ ๑ นำฝ้ายเป็นใจมาคล่ีออกใส่กงกวัก เพื่อนำไปพันใส่หลักกวักฝ้าย แล้วนำมาเข็นหรือปั่นใส่

กระป๋องหรือหลอดไม้ขนาดใหญ่ การป่ันฝ้ายใส่กระป๋อง ถ้าต้องการเส้นฝ้ายท่ีมีเส้นใหญ่ อาจจะปั่น ครั้งละ ๒ -๓ ใจ ให้เส้นฝ้ายมารวมกัน

ข้ันตอนที่ ๒ นำกระป๋องที่มีเส้นฝ้ายพันอยู่ไปเรียงตามลำดับ สี ของเส้นฝ้ายเส้นยืนตามลวดลายที่จะทอ

โดยนำมาเรียงคร้ังละประมาณ ๔๐ กระป๋อง จะได้เส้นฝ้ายยืนครั้งละ ๔๐ เส้น แล้วนำแต่ละเส้นไป คล้องกับบันไดลิง เพื่อไม้ให้เส้นฝ้ายพันกันและขึ้นเฟือขอต่อไป

ขั้นตอนท่ี ๓ นำฝ้ายเส้นพุ่งจากบันไดลิงมาขึ้นเฟือขอ ซ่ึงเฟือขอจะทำหน้าท่ีสำหรับเรียงฝ้ายเส้นยืนตาม

ความยาวท่ีต้องการ และทำการสลับเส้นยืนสำหรับใช้กับตะกอเส้นข้ึนเส้นลงด้านล่างของเฟือขอเมื่อ สิ้นสุด การเรียงเส้นฝ้ายจะนำแต่ละเส้นมาม้วนเพื่อให้เกิดลักษณะของการสลับเส้น สำหรับการทอยก เป็นเส้นข้ึนเส้นลงท่ีด้านล่างขาวของเฟือขอ

ขั้นตอนท่ี ๔ นำกลุ่มฝ้ายเส้นยืนจากเฟือขอมาข้ึนก่ี แล้วคลี่ฝ้ายเส้นยืนตามที่ได้กำหนดไว้ โดยใช้เขี้ยวหมา

หรือฟันปลาเป็นตัวช่วยในการสางเส้นฝ้ายแต่ละกลุ่มเส้นออกจากกัน เส้นด้ายในการทอลายหนึ่ง เพื่อ แยกเส้นด้ายในการนำไปสืบฝ้ายกับเขาฟืม

ขั้นตอนท่ี ๕ หากทอลายเดิมที่เคยทอมา ก็จะนำฝ้ายเส้นยืนใหม่มาต่อกับเศษผ้าฝ้าย หรือเชิงชายที่ตัดมา

จากการทอครั้งก่อนที่เรียกว่า “เครือ” เมื่อทอผ้าเสร็จแล้ว ช่างทอจะตัดผ้าท่ีทอแล้วออกจากกี่ โดย คงเหลือเศษผ้าฝ้ายหรือเชิงชายจากการทอให้ติดอยู่กับตะกอและฟืม เพื่อเป็นต้นแบบของลาย หากจะ มีการทอลายนั้นในครั้งต่อไป เพื่อให้การสืบต่อลายทำได้ง่ายข้ึน เพราะถ้าไม่เก็บไว้ การเร่ิมต้นขึ้นลาย ใหม่จะมีความยากลำบากมาก ดังนั้นช่างทอจึงต้องเก็บลายไว้ทุกเครือ เน่ืองจากเส้นยืนมีความยาวมาก ก่อนทอหรือเม่ือทอไปได้สักระยะหนึ่ง เส้นยืนอาจจะพันกันได้ ดังนั้นจึงต้องคอยคล่ีจัดเส้นยืนออกไม่ให้ พันกัน

ขั้นตอนท่ี ๖ หลังจากการสืบลายแล้ว สามารถเริ่มกระบวนการทอได้ โดยการเหยียบไม้เหยียบเพ่ือยกเขา

ฟืมข้ึนลง แล้วพุ่งกระสวยสอดเข้าไปในช่องว่างระหว่างเส้นยืน ให้เส้นพุ่งพุ่งไปขัดกับเส้นยืน และใช้ฟืม ดันให้เส้นพุ่งอัดเรียงกันแน่น แล้วใช้เท้าเหยียบไม้เหยียบให้ตะกอเส้นยืนสลับขึ้นลง และพุ่ง กระสวย กลับไปกลับมาขัดกับเส้นยืน หลังจากท่ีพุ่งเส้นพุ่ง ไป มา และใช้ฟืมดันให้เส้นพุ่งแน่นหลายๆ ครั้ง ก็จะ ได้ผ้าทอเป็นผืน แล้วนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ต่อไปและหากบทความนี้มีประโยชน์กับผู้อ่าน หรือคนที่ผู้อ่านหวังดีก็อย่าลืมแชร์ให้เค้าได้อ่านด้วย

ใบความรู้

อุปกรณ์การทอผ้า

อปุ กรณก์ ารทอผ้า เป็นภูมิปัญญาของชาวบา้ นซึง่ อุปกรณแ์ ตล่ ะชนดิ สะท้อนใหเ้ ห็นถึงความละเอยี ดออ่ นใน การสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ดังนี้

หลา

หลา เปน็ เคร่ืองมอื ปนั่ ด้ายใหเ้ ป็นเกลยี วแนน่ หรอื ควบกันกไ็ ด้ ส่วนโครงสรา้ งประกอบจากทอ่ นไมค้ ล้าย ตวั T สว่ นฐานทำจากไมเ้ นอ้ื แข็งยาวประมาณ 80-100 เซนตเิ มตร ดา้ นขวามือมีเสาหลกั 2 ขา้ งทะลุ ฐานขึ้นไปจะยาวเท่ากัน กง่ึ กลางจะเจาะทะลุใส่คานแกนของวงล้อปนั่ ฝ้าย วงลอ้ นี้จะทำด้วยซี่ไมไ้ ผ่มดั ประกอบกนั ด้วยเส้นเชือก มลี ักษณะคล้ายวงล้อจักรยาน ที่คานแกนกลางวงล้อน้ีจะต่อยาวออกมาเป็นท่ี จบั สำหรบั หมุนปั่นด้าย เรียกวา่ แขนหลา ดา้ นซ้ายมอื จะมีเหล็กปลายแหลมยาวประมาณ 6 น้วิ เรียกว่า ไน ระหว่างเหลก็ ไนกับวงลอ้ จะมีเชือกคลอ้ งเรียกว่า สายหลา เมอื่ หมนุ วงลอ้ เหล็กในก็จะหมนุ ด้วย

กง

กง เปน็ เคร่ืองมอื ใช้ในการกรอดา้ ยเพื่อจัดด้ายให้เปน็ ไจ หรอื กรอดา้ ยใสห่ ลอด มีรูปทรงกระบอก โดยใช้ ไม้ไผเ่ หลาปลายใหบ้ าง ทำเป็นโครงดา้ นหัวและด้านท้าย ไขว้กันเป็น 2 คู่ แล้วมีเชอื กขงึ ไขวก้ นั ไป-มา

ระหว่างไม้ 2 คูน่ ี้ ตรงกลางจะมแี กนไมไ้ ผย่ ืน่ ยาวออกไปสำหรบั สอดกับหลักตีนกง ใช้ใสไ่ จด้าย เพื่อจะ กวกั เตรียมเข้าสูก่ ารทอผา้

ใบความรู้

อกั

อกั เปน็ เครื่องมอื สำหรบั คัดดา้ ย ทำดว้ ยไม้เน้อื แข็ง อาจจะทำ 4 ขา 6 ขา หรอื 8 ขา แตล่ ะขาหา่ ง ประมาณ 15 เซนติเมตร กไ็ ด้รปู ทรงเปน็ ทรงกระบอก บางแหง่ สานดว้ ยไม้ไผ่ มรี ตู รงกลาง เพ่ือสอดกับ ไมค้ อนอัก สำหรบั กวักด้ายออกจากกง เรยี กวา่ กวัก

ฟมื

ฟืม ประกอบดว้ ยโครงซ่งึ เป็นตัวฟมื ไมเ้ น้ือแข็ง ความกว้างของฟืมประมาณ 5-6 เซนติเมตร สว่ นความ ยาวของฟืมคอื ความกว้างของผา้ และฟันหวี (Reed beam) เป็นฟันซี่เล็กๆ เรียงกันเป็นตับอยกู่ ลางและ ระยะหา่ งของฟันเป็นทใี่ ชส้ ำหรับสอดเสน้ ด้ายผ่าน นอกจากนั้น ฟนั หวยี งั เป็นอุปกรณก์ ารทอท่ีมี ความสำคัญ อยูส่ ่วนหนา้ ตะกอหรือเขาท่ีใช้กระทบเสน้ ด้ายพงุ่ ให้สานทอกบั เส้นด้ายยืนเป็นผืนผ้า หน้า ฟืมจะมีทงั้ ขนาดยาวและขนาดสัน้ ขนึ้ อยูก่ ับวตั ถปุ ระสงค์ของการทอผา้ ว่าตอ้ งการจะทอผา้ หนา้ กวา้ ง หรือผา้ หน้าแคบ สามารถถอดเปล่ยี นได้ โดยจำแนกชนดิ ของฟืมในภาคอีสานออกเป็น 2 ประเภท คือ “ฟืมขา” เปน็ ฟืมทีม่ ขี นาดช่องฟันฟืมคอ่ นข้างหา่ ง เหมาะสำหรับการทอผา้ ฝา้ ยทม่ี ขี นาดเสน้ ใยค่อนข้าง

หนา “ฟืมขัน” เปน็ ฟนั ฟมื ทีม่ ขี นาดชอ่ งฟนั ฟมื คอ่ นข้างถ่ี เหมาะสำหรบั การทอผา้ ไหมที่มขี นาดเส้นใย เลก็ บาง ดง้ั เดิมในภาคอีสานจะใช้ซ่ีไม้ไผ่ในการผูกร้อยทำฟนั ฟืม ต่อมาในปัจจบุ นั นยิ มใชซ้ โี่ ลหะทำฟนั ฟมื เพราะมีความแขง็ แรง ทนทานสูง

.ใบความรู้

ก่ี

ก่ี หรือหูก มลี ักษณะเป็นโครงสรา้ งรปู สเ่ี หลี่ยม ประกอบด้วยเสาหลัก 4 หลกั ขนาดสงู เทา่ กันท้ัง 4 ต้น

แปรง

แปรง หวีหกู หรอื แปรงหวีเครือเสน้ ด้ายยืน มที ั้งทำจากเสน้ ใยต้นใต้ (ใบตน้ สนสองใบ) หรอื ขนหมปู า่ เปน็ อุปกรณใ์ นการหวเี ครอื เสน้ ดา้ ยยนื เพอ่ื จัดระเบียบเส้นใยมิใหพ้ นั กันยงุ่ ขณะทอผา้ ดว้ ยการชบุ น้ำข้าวมาหวบี นเสน้ ยนื แต่ให้เรยี งตัวเป็นระเบียบ ใชท้ ง้ั การทอผ้าฝ้ายและการทอผ้าไหม โดยเฉพาะการ ทอไหมจะทอได้สะดวกข้ึน แต่ต้องใช้ทกั ษะความชำนาญในการหวี ไม่ใหน้ ำ้ ข้าวคา้ งจุดใดจดุ หน่ึงมาก เกนิ ไป เพราะจะทำใหก้ ารกระทบฟืมไม่สนิท จนเกิดตำหนบิ นเนอ้ื ผา้ ได้

ใบความรู้

กระสวย

กระสวย เป็นอปุ กรณ์ใส่เสน้ ดา้ ยพุ่ง มหี ลายลักษณะ ได้แก่ กระสวยแบบเรือ 3 หลอด หรือแกนเดี่ยว ทำจากไมเ้ นือ้ แขง็ ยาวประมาณ 12-14 นวิ้ โดยถากเนื้อไมใ้ หเ้ ป็นรูปคล้ายลำเรอื ตรงกลางของกระสวย เซาะบากเป็นรอ่ งลกึ 1 ชอ่ ง และเจาะด้านขา้ ง 1 รู เพ่อื สอดเสน้ ดา้ ยออก เป็นกระสวยทีใ่ ชใ้ ส่หลอดด้าย เสน้ พุ่งไดเ้ พียงหลอดเดยี ว เหมาะสำหรบั ใช้ทอผา้ เนอ้ื บาง ทั้งผ้าไหมและผา้ ฝา้ ย ซ่งึ กระสวยทอผา้ ไหมจะ มขี นาดเล็กเรียวกว่ากระสวยทอผ้าฝ้าย กระสวยแบบเรอื 2 หลอด หรอื แกนคู่ ทำจากไม้เนอ้ื แขง็ ยาว ประมาณ 14-16 นว้ิ โดยถากไมใ้ หเ้ ปน็ รปู คลา้ ยลำเรอื ช่วงกลางแบง่ เซาะบากเปน็ ร่องลกึ 2 ช่อง ใช้ สำหรับใสห่ ลอดด้ายเสน้ พงุ่ 2 หลอด และเจาะรูด้านข้าง 2 รู เพ่อื สอดเสน้ ดา้ ยออก นิยมใช้ทอผ้าเนื้อ หนา โดยใส่เสน้ ใยสีเดยี วกันทงั้ 2 หลอด ในขณะเดียวกันกส็ ามารถประยุกต์ใส่หลอดด้าย 2 สี เพอ่ื สร้าง ลายผ้าท่ีมสี องสีผสมกนั กระสวยแบบเรอื 3 หลอด ทำจากไมเ้ น้อื แข็งยาวประมาณ 18-20 นวิ้ ถากไม้ ใหเ้ ป็นรูปคลา้ ยลำเรือ ช่วงกลางแบง่ เซาะบากเป็นรอ่ งลกึ 3 ช่อง ไว้สำหรบั ใส่หลอดด้ายเส้นพุ่ง 3 หลอด และเจาะรูด้านขา้ ง 3 รู เพ่อื สอดเส้นด้ายออก นิยมใชก้ ระสวยชนดิ นท้ี อผ้าท่หี นาเปน็ พเิ ศษ เชน่ ผ้าหม่ หรอื ทอเสน้ พงุ่ พิเศษในการทอขิด เปน็ ต้น หรือจะประยุกตใ์ สห่ ลอดด้าย 3 สี เพอ่ื สร้างลายผ้าทมี่ ีสามสีผสมกนั ไมค้ อนอักหรอื แทน่ อกั เปน็ แทน่ ไมส้ ีเ่ หล่ียมผืนผ้า ขนาดกว้างประมาณ 20 เซนตเิ มตร ยาวประมาณ 40 เซนตเิ มตร หนาประมาณ 5 เซนติเมตร ทำด้วยไม้เนอื้ แขง็ เป็นหลักขึน้ ไป แลว้ มคี านยืน่ ออกไปเพือ่ ใสอ่ กั ให้แกวง่ หรือหมนุ เฝือ ส่วนใหญ่นยิ มเรียก “หลกั เฝอื ” คนอีสานนยิ มเรยี กออกเสยี งว่า “หลักเฝยี ” เปน็ กรอบไม้สี่เหลีย่ ม ไม้ท่ี อยทู่ างซ้ายและทางขวาจะมไี ม้เล็กๆ ปกั เป็นหลักแต่ละหลักห่างกนั ประมาณ 20 เซนติเมตร ปกติจะมี ดา้ นละ 20 หลัก ใช้สำหรับทำดา้ ยเสน้ พุง่ หลกั ตนี กง

เปน็ ไม้ 2 ชน้ิ มีท่ยี ดึ ใหต้ ง้ั ไดส้ งู ประมาณ 80 เซนตเิ มตร ทีป่ ลายข้างบนเจาะรสู ำหรับใสก่ ง ไม้ท้ัง 2 น้ี จะทำให้ติดกนั หรือแยกกันก็ได้ หน้าท่ขี องหลักตนี กงคอื เปน็ ฐานใหก้ ับกง และในภาคอีสานนยิ มทำ แยกออกจากกันเพ่ือสะดวกและง่ายในการจัดเก็บ ไมค้ านหูก เป็นคานไม้พาดเชอื่ มตอ่ ระหว่างเสาหลักท้ัง 4 ตน้ เครือเส้นดา้ ยยืนพาดบนไมค้ าน ด้านหนา้ แล้วโยงมาผูกไมค้ านดา้ นหลงั ดึงเส้นยนื ให้ตึง

ใบความรู้

ไมร้ องนั่ง เปน็ แผน่ ไม้ที่คาดไวบ้ นคานไม้ดา้ นลา่ งดา้ นคนทอ เพ่ือใหค้ นทอนัง่ และวางอุปกรณ์การทอ เชน่

ตะกว้าใส่หลอดด้าย กระสวย เป็นตน้ ไมม้ ้วนผา้ เปน็ ไม้ทอ่ นสเี่ หลย่ี ม ท่ีปลายทั้งสองขา้ งเสียบเข้าเดือยท่ีหลักไม้ดา้ นใกล้ผ้ทู อเพอื่ มว้ นเก็บผา้ ที่ทอเสร็จเรยี บร้อยเอาไว้ ทางอีสานเรยี กว่า “ไม้กำพน่ั ” ไม้หาบหูก

เป็นไมไ้ ผก่ ระบอกขนากลางยาวพาดคานไม้ เพ่อื ใช้ผกู เชือกโยงฟมื และรอกทพ่ี ยุงตะกอหรอื เขา เอาไว้ หรอื อาจกลา่ วไดว้ ่าเป็นไมท้ ่สี อดร้อยกับเชือกท่ีผกู เขาด้านบน เพอ่ื ใหห้ ูกยดึ ตดิ กับกี่ ไม้หาบหกู จะ มีอนั เดยี ว ไม่วา่ จะใช้ฟืมทมี่ ี 2 เขา, 3 เขา หรอื 4 เขา ไมห้ าบหูกน้ี หากเสาหลักสงู บางทอ้ งถ่นิ ก็จะผูก หอ้ ยต่ำลงมาจากคานไม้อีกทหี นงึ่ ไมเ้ หยยี บหกู

เปน็ ไมไ้ ผล่ ำขนาดเล็ก ยาวประมาณ 1 เมตร ผูกโยงกบั ตะกอหรือเขาสำหรบั เหยยี บ เพื่อบังคบั การสลับขึ้นลงของเครือเสน้ ดา้ ยยืน โดยปกติจะมี 2 อนั สำหรบั การทอแบบสองตะกอ แต่ถ้าเปน็ การทอ ผ้าแบบสามตะกอกจ็ ะมี 3 อัน และถา้ เปน็ การทอผา้ ยกดอกพ้ืนฐาน 4-8 ตะกอ จำนวนไม้เหยยี บหกู ก็ จะมจี ำนวนเทา่ กนั กบั จำนวนตะกอทใ่ี ช้ในการทอผ้า ตะกอหรอื เขา

เป็นแผงเสน้ ดา้ ยท่ีถักเกีย่ วเครือเส้นดา้ ยยนื เอาไว้ โดยใชไ้ มไ้ ผ่ 2 ซีเ่ ปน็ คาน โดยปกติถ้าเป็นผา้ ทอแบบสองตะกอก็จะมตี ะกอหรอื เขา 2 อนั ซึง่ จะคัดเก็บเครอื เสน้ ด้ายยืนสลบั กนั เส้นตอ่ เสน้ เพื่อยก เปิดเส้นด้ายยนื ใหแ้ ยกข้ึน-ลง ทำให้ช่างทอผ้าสามารถสอดกระสวยเสน้ ด้ายพงุ่ ผ่าน ไปสานทอขัด เพ่ือให้ เกิดเป็นผืนผา้ ซง่ึ หากมกี ารเพิ่มจำนวนแผงตะกอ 4-8 ตะกอ ก็จะสามารถสร้างลวดลายบนผนื ผ้าได้ ไม้ค้ำ เป็นอปุ กรณค์ ่ำแยกเสน้ ยนื ออกจากกนั เพื่อทอเสริมเส้นพ่งุ พเิ ศษได้ง่ายข้นึ ผูท้ อใชไ้ มค้ ้ำในการ ทอขดิ และจก บางทอ้ งถนิ่ เรยี กวา่ “ไม้คำ้ ขดิ ” (ไม้ดาบ) ลกั ษณะเปน็ แผ่นไมบ้ างเรยี บสม่ำเสมอกนั ตลอด ปลายสองข้างเจียนให้โค้งแหลม ผงั หรอื ธนู

ทำจากซ่ีไมไ้ ผด่ ัดโคง้ ท่ีปลายทั้งสองด้านห้มุ เหลก็ ปลายแหลมเพื่อเสยี บยึดกับริมผนื ผ้า ช่วย ขยายหนา้ ผา้ ไว้ให้เทา่ กันตลอด เปน็ อุปกรณ์ท่ีช่วยกำกับขนาดหน้าผ้าให้สม่ำเสมอ โดยผู้ทอจะขยับเล่ือน ผงั หรือธนตู ามขอบหรือรมิ ผา้ ท่ีทอเสรจ็ ไปเร่ือยๆ รอก เปน็ อปุ กรณ์ท่ีช่วยพยงุ ฟืมและเขาหรือตะกอให้อยู่ในตำแหน่งท่ีพอเหมาะ ไม่ต่ำหรอื สูงจนเกินไป เดมิ ทำจากไม้เนอ้ื แขง็ แกะเปน็ วงล้อรอกภายใน โครงภายนอกแกะสลักเป็นลวดลายสวยงาม บาง ทอ้ งถ่นิ ก็ทำจากวัสดงุ า่ ยๆ เช่น ใชป้ ลอ้ งไม้ไผข่ นาดสน้ั ปัจจุบนั บางทอ้ งถนิ่ ใชร้ อกเหลก็ หรือรอก ทองเหลือง แทนรอกไมแ้ กะสลกั หรือรอกไม้ไผ่

ภาพตวั อยา่ ง

การทอผา้ ฝา้ ย จำนวน ๔๐ ชัว่ โมง

ภาพตวั อย่าง การทอผา้ ฝา้ ย จำนวน ๔๐ ชั่วโมง

คณะผจู้ ดั ทำ

ทปี่ รกึ ษา ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอเกษตรวิสัย นางมยรุ ี สัตยไพศาล ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา

นางสาวมยรุ ี ถนดั ค้า

ผูจ้ ดั ทำหลักสตู รทอผา้ ฝา้ ย วทิ ยากร / ภูมปิ ัญญาท้องถิ่นด้านการทอผา้ ฝา้ ย นางจันทรท์ ิพย์ จศู รี ครู กศน. ผ้รู วบรวมองคค์ วามรู้

นางพร มะเสนะ

พมิ พ์/รปู เลม่ ครอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน นางพร มะเสนะ