ร บสม คร ม.ต น ว ทยาล ยนาฏศ ลปกาฬส นธ

นาฏศลิ ปไ์ ทย ประวัตคิ วามเปน็ มาของนาฎศิลป์ไทย นาฏศลิ ปไ์ ทยเปน็ ศลิ ปะการแสดงประจำชาติ เป็นสมบัตขิ องชาตทิ ่มี ีคุณคา่ สูง เป็นทรัพย์สินทางปัญญา ท่ีบรรพบรุ ุษได้สร้างสรรค์ไวแ้ ละไดร้ ับการถา่ ยทอดสืบต่อกันมาอยา่ งต่อเนื่อง ทัง้ ยงั เปน็ แบบแผนท่ียึดถือ ปฏบิ ตั ิแสดงถงึ ความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ สืบทอดต้งั แต่อดีตจนถึงปัจจุบัน การแสดงนาฏศลิ ปเ์ ปน็ การ แสดงท่ีใช้ทา่ รำประกอบ เพื่อสอื่ ให้ผชู้ มเข้าใจเร่ืองราวของการแสดง ให้ได้รับความเพลิดเพลินมคี วามสุขท่ีได้ ชมไดฟ้ งั เปน็ การแสดงท่ีมคี วามวิจิตรงดงามมลี ีลาอ่อนชอ้ ยตามแบบอย่างไทย ทำใหเ้ ป็นทช่ี นื่ ชอบของผ้ชู ม ความประณีตงดงามในศลิ ปวัฒนธรรมแขนงนี้ คนไทยทุกคนควรจะตระหนัก เหน็ คณุ ค่า รว่ มกันอนุรกั ษ์ สบื ทอดสืบสานและรว่ มส่งเสรมิ เพ่อื ให้ศลิ ปะการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทยคงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป ท่มี าของนาฏศิลปไ์ ทย การแสดงละคร ฟ้อน รำระบำ เต้น เป็นศิลปะท่มี นุษย์ประดิษฐ์ข้ึนมาตง้ั แตม่ นุษย์ เรม่ิ อยรู่ ่วมกัน เปน็ ชมุ ชนมีววิ ฒั นาการและการพฒั นาการเป็นลำดับอย่างต่อเนื่องที่ไปสกู่ ารละเล่นร้องรำทำเพลงแลว้ มาเปน็ การแสดงทเ่ี ล่นเปน็ เร่ืองเปน็ ราว ท่มี าของการแสดงเหล่าน้ีไดม้ ี ผ้สู นั นษิ ฐานถึงมูลเหตุของท่ีมาไวห้ ลาย ประการ ซ่งึ อาจประมวลไดด้ งั น้ี ๑ ๑. เกดิ จากการเลียนแบบธรรมชาติ โดยเฉพาะการเคล่อื นไหวอริ ยิ าบถตามธรรมชาติของมนุษย์ เช่น แขน ขา หน้าตา หรือการแสดงความรู้สึก อารมณ์ตา่ ง ๆ ของมนษุ ยท์ ี่แสดงออกมาในกริ ิยาอาการตา่ ง ๆ เช่น ความ โกรธ ความรัก โศกเศร้า เสียใจ มนษุ ยไ์ ด้ใช้ลักษณะทา่ ทางตา่ ง ๆ เหลา่ นใ้ี นการสื่อความหมายและนำมา ดดั แปลงใหน้ ุ่มนวลน่าดชู ัดเจนไปกว่าธรรมชาติ จนเกดิ เป็นศลิ ปะ การฟ้อนรำขน้ึ และใช้เป็นการแสดงโดยมี ววิ ฒั นาการมาเป็นลำดับ จนกระท่ังเกดิ เป็น ทา่ ทางการร่ายรำท่งี ดงามท่เี ปน็ พ้ืนฐานของการฟ้อนรำทาง นาฏศิลป์ เรียกวา่ ภาษาท่ารำทางนาฏศิลป์ เช่น ทา่ อาย ทา่ ดม ท่ายม้ิ ๒ ๒. เกิดจากการมนุษยค์ ิดประดิษฐ์เคร่อื งบนั เทงิ ใจ เมื่อหยุดพักจากภารกิจประจำวัน เป็นการผ่อนคลายความ เหน็ดเหน่ือยโดยเร่มิ จากการเล่าเร่ืองตา่ ง ๆ สู่กนั ฟงั เชน่ นิทาน นิยาย ต่อมาได้มวี ิวัฒนาการโดยนำเอาดนตรี มาประกอบการเลา่ เรือ่ งเหลา่ นน้ั เรยี กวา่ การขับเสภา ภายหลงั มีการประดษิ ฐ์ท่าทางตา่ ง ๆ และมีการพฒั นา รปู แบบไปเปน็ การรา่ ยรำจนถึงขนั้ การแสดงเป็นเรอ่ื งราว ๓. เกิดจากการละเล่นเลยี นแบบของมนษุ ย์ ทม่ี ักหาความสนกุ สนานเพลดิ เพลินจากการเลียนแบบแม้เร่อื งราว ของตนเอง เชน่ เลยี นแบบทา่ ทางของพ่อ แม่ ครู ผใู้ หญ่ หรอื เลียนแบบธรรมชาตสิ ิง่ แวดล้อมตา่ ง ๆ เชน่ การ เล่นงูกินหาง การเล่นขายของ การเลน่ มอญซ่อนผา้ ความสนกุ ของการเลน่ เลยี นแบบอยู่ท่ีการได้เลน่ เปน็ คน อื่น ซ่งึ ถือเปน็ การเรียนรูใ้ นเร่ืองของ การแสดงขั้นตน้ ของมนุษย์ ทนี่ ำไปสู่การสรา้ งสรรค์การแสดงนาฏศลิ ป์ ๓ ๔. เกดิ จากการเซ่นบวงสรวงบชู าเทพเจ้า ในสมยั กอ่ นมนุษยม์ คี วามเชอ่ื ในเร่ืองเทพเจา้ พระผู้เป็นเจ้าสงิ่ ศกั ด์สิ ทิ ธิ์ และจะเคารพบชู าในสงิ่ ที่ตนนับถือ เม่ือมนุษยเ์ กดิ ความหวัน่ กลวั จะมีการเคารพสกั การบชู าส่ิง ศกั ดิ์สทิ ธเิ์ ร่มิ จากการอธิษฐานบวงสรวงบชู าด้วยอาหาร ตอ่ มา มกี ารบวงสรวงบูชาดว้ ยการร่ายรำ มกี ารเลน่ เคร่อื งดนตรี ดดี สี ตเี ปา่ และมีการรอ้ งประกอบ เพ่ือให้เทพเจ้าพอใจมีความกรุณาผ่อนผนั หนักเปน็ เบาหรอื ประทานใหป้ ระสบความสำเร็จ ในสง่ิ ที่ปรารถนา จากความเชอ่ื เหลา่ น้ี จงึ ได้เกิดลทิ ธิทางศาสนาและตำนานเกี่ยวกบั เทพเจา้ ในสมยั สโุ ขทัย มหี ลักฐานสำคัญ คอื หลกั ศิลาจารึกที่ปรากฏคำว่า “ระบำรำเตน้ เลน่ ทกุ วนั ” ทำให้เข้าใจได้วา่ สมยั สโุ ขทัยน้ีมีระบำเกดิ ขน้ึ แต่ คำว่าละครยังไม่ปรากฏและในสมัยนี้ มีวัฒนธรรมของอนิ เดยี แพรห่ ลายเขา้ มามากมายโดยเฉพาะศิลปะการ ฟ้อนรำอินเดียเป็นชาติที่มีความเจรญิ ก่อนวฒั นธรรมจึงแพรห่ ลายเข้าไปในชมพทู วีป การฟ้อนรำของอินเดยี มี ตำราแต่โบราณ เรียกว่า “นาฏยศาสตร์” ประเทศไทย ก็ได้รบั อทิ ธิพลทางอารยธรรมนี้ในด้านการฟ้อนรำ โดย ไดน้ ำมาดัดแปลงแต่งเติมให้เหมาะสมตรงกบั ความนิยม ความสำคญั ของนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์นอกจากจะเป็นเครื่องมือบันเทิงใจสำหรับมนุษย์แล้ว นาฏศลิ ป์ยงั เปน็ การแสดงออกทาง ศิลปวฒั นธรรม ทดี่ ขี องชาติ และมีความสำคญั ต่อวิถชี ีวติ ของมนษุ ย์ในพิธีกรรมต่าง ๆ ตลอดทัง้ ยงั สามารถ สะท้อนใหเ้ ห็นถงึ ความแตกต่างของสงั คม ซึ่งสง่ ผลให้นาฏศิลป์ มคี วามสำคญั ดังนี้ ๑. นาฏศลิ ป์แสดงถงึ ความเป็นเอกลักษณป์ ระจำชาติ ทแี่ สดงให้เหน็ ถึงเอกลักษณเ์ ฉพาะ ทสี่ ะท้อนถึงระดับ จิตใจ สภาพความเปน็ อยู่ ความร้คู วามสามารถ ความเป็นไทย ความเจรญิ รุง่ เรือง วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร์ ซ่งึ อารยธรรมเหล่านม้ี ีกำเนิดจากศิลปะท่มี คี ุณค่า ทำใหเ้ กดิ ความคิดที่จะช่วยกนั สร้างสรรค์ ความ ๔ เจริญกา้ วหน้าใหแ้ ก่บ้านเมือง และตระหนักถงึ ความสำคัญท่จี ะต้องรักษานาฏศิลป์ไว้เป็นสมบตั ิทางวัฒนธรรม ของชาติ ดังท่เี รณู โกศินานนท์ (๒๕๓๕, ๖) กล่าวถึงนาฏศลิ ป์ไทยท่ีแสดงถึงความเปน็ ไทยไวด้ ังนี้ ๑.๑) ท่ารำอ่อนช้อยงดงามและแสดงอารมณ์ตามลักษณะท่ีแทจ้ ริงของคนไทยมคี วามหมายกวา้ งขวาง ๑.๒) จะต้องมีดนตรีประกอบดนตรีนี้จะแทรกอารมณ์หรือรำกบั เพลงที่มีแต่ทำนองก็ได้ หรือมีเนอื้ ร้องและให้ ทา่ ไปตามเนื้อร้องนัน้ ๆ ๑.๓) คำร้อง หรอื เน้ือรอ้ งจะต้องเป็นคำประพนั ธ์ ส่วนมากจะเปน็ กลอนแปด ซ่งึ จะนำไปร้องกับเพลงชน้ั เดยี ว หรอื เพลงสองชน้ั ไดท้ ุกเพลง คำร้องนี้ทำใหผ้ สู้ อน หรือผูร้ ำกำหนดทา่ รำไปตามเน้อื ร้อง ๑.๔) เครอ่ื งแตง่ กายละครไทย ซ่ึงผิดแผกกบั เครือ่ งแต่งกายละครของชาติอน่ื มีแบบอย่างของตนโดยเฉพาะ ขนาดยดื หยุ่นได้ตามสมควร เพราะการสวมจะใชก้ ลงึ ดว้ ยด้ายแทนทีจ่ ะเยบ็ สำเร็จรูป การแต่งกายของละคร ไทยอาจจะคล้ายของเขมรก็เพราะได้แบบอย่างจากไทยไป ๒. นาฏศิลป์เปน็ แหลง่ รวมของศลิ ปะแขนงตา่ ง ๆ นาฏศิลปไ์ มไ่ ด้จำกัดเฉพาะเรื่องของ การรอ้ งรำทำเพลง เท่านนั้ แตน่ าฏศลิ ป์ยังไดร้ วมเอาศลิ ปะประเภทอ่นื ๆ มาใชร้ ่วมในการแสดงดว้ ย เชน่ ศิลปะในการประพนั ธ์ หรอื วรรณคดี ศลิ ปะการออกแบบเครอ่ื งแตง่ กาย ตลอดจนไฟฟ้าแสงเสยี งก็รวมอยูด่ ้วย ดงั นั้นจึงกลา่ วได้วา่ นาฏศิลปม์ คี วามสำคัญคือ เป็นแหลง่ รวมของศิลปะสาขาตา่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกนั ด้วยความประณีตละเอยี ดอ่อน และรอบคอบสุขุม ถึงจะสามารถทำใหก้ ารแสดงนาฏศลิ ปส์ มบูรณแ์ บบสวยงาม ๕ ประเภทของนาฎศลิ ป์ไทย นาฎศลิ ป์ คอื การร่ายรำทีม่ นุษย์ไดป้ รุงแต่งจากลีลาตามธรรมชาตใิ ห้สวยสดงดงาม โดยมี ดนตรีเป็นองค์ประกอบในการร่ายรำนาฎศิลปข์ องไทย แบ่งออกตามลกั ษณะของรูปแบบการแสดงเป็น ประเภทใหญ่ ๆ ๔ ประเภท คอื ๑. โขน เปน็ การแสดงนาฎศลิ ปช์ ัน้ สูงของไทยท่ีมี เอกลักษณ์ คือ ผู้แสดงจะต้องสวมหัวท่ีเรยี กวา่ หวั โขน และใชล้ ลี าทา่ ทางการแสดงดว้ ยการเต้นไปตามบทพากย์ การเจรจาของผู้พากย์และตามทำนองเพลง หน้าพาทย์ท่ีบรรเลงด้วยวงปพ่ี าทย์ เร่อื งที่นยิ มนำมาแสดง คอื พระราชนพิ นธบ์ ทละครเรอื่ งรามเกียรต์ิ แต่งกาย เลียนแบบเคร่ืองทรงของพระมหากษตั รยิ ์ที่เป็นเครอื่ งต้น เรียกว่าการแตง่ กายแบบ “ย่ืนเคร่อื ง” มี จารตี ขั้นตอนการแสดงท่ีเปน็ แบบแผน นยิ มจัดแสดงเฉพาะพิธสี ำคญั ได้แก่ งานพระราชพธิ ตี า่ ง ๆ ๒. ละคร เปน็ ศิลปะการรา่ ยรำที่เล่นเป็นเร่ือง ราว มพี ฒั นาการมาจากการเลา่ นิทาน ละครมี เอกลกั ษณ์ในการแสดงและการดำเนินเรือ่ งดว้ ยกระบวนลีลาท่ารำ เข้าบทร้อง ทำนองเพลงและเพลงหนา้ พาทยท์ ีบ่ รรเลงดว้ ยวงป่ีพาทย์มีแบบแผนการเลน่ ทเี่ ปน็ ทง้ั ของชาวบา้ นและของหลวงทเ่ี รยี กวา่ ละครโนรา ชาตรี ละครนอก ละครใน เรอื่ งท่นี ิยมนำมาแสดงคือ พระสุธน สงั ขท์ อง คาวี อเิ หนา อณุ รทุ นอกจากน้ี ยังมีละครทีป่ รบั ปรงุ ขึ้นใหมอ่ ีกหลายชนิด การแต่งกายของละครจะเลยี นแบบเคร่ืองทรงของพระมหากษตั ริย์ เรยี กวา่ การแตง่ การแบบยนื เครื่อง นิยมเล่นในงานพธิ ีสำคัญและงานพระราชพธิ ขี องพระมหากษัตริย์ ๖ ๓. รำ และ ระบำ เปน็ ศลิ ปะแหง่ การรา่ ยรำประกอบเพลงดนตรีและบทขับร้อง โดยไม่เล่นเปน็ เร่อื งราว ในท่ีน้หี มายถึงรำและระบำที่มลี ักษณะเป็นการแสดงแบบมาตรฐาน ซ่งึ มีความหมายที่จะอธิบายได้ พอสงั เขป ดงั นี้ ๓.๑ รำ หมายถงึ ศลิ ปะแหง่ การรายรำที่มผี ู้แสดง ต้งั แต่ ๑ - ๒ คน เช่น การรำเด่ียว การ รำคู่ การรำอาวุธ เปน็ ตน้ มีลักษณะการแต่งการตามรปู แบบของการแสดง ไม่เลน่ เป็นเรอ่ื งราวอาจมีบทขับ รอ้ งประกอบการรำเข้ากบั ทำนองเพลงดนตรี มีกระบวนท่ารำ โดยเฉพาะการรำคจู่ ะตา่ งกบั ระบำ เนอื่ งจาก ทา่ รำจะมีความเชอ่ื มโยงสอดคลอ้ งต่อเน่ืองกัน และเป็นบทเฉพาะสำหรับผู้แสดงนั้น ๆ เช่น รำเพลงชา้ เพลง เรว็ รำแม่บท รำเมขลา – รามสูร เปน็ ตน้ ๓.๒ ระบำ หมายถึง ศลิ ปะแห่งการรา่ ยรำที่มีผู้เล่นตงั แต่ ๒ คนขึน้ ไป มีลกั ษณะการแต่งการ คลา้ ยคลงึ กนั กระบวนท่ารายรำคลา้ คลึงกนั ไม่เลน่ เปน็ เร่ืองราว อาจมีบทขับรอ้ งประกอบการรำเข้าทำนอง เพลงดนตรี ซึ่งระบำแบบมาตรฐานมกั บรรเลงดว้ ยวงป่ีพาทย์ การแต่งการนิยมแต่งกายยนื เคร่ืองพระนาง หรอื แต่งแบบนางในราชสำนกั เช่น ระบำสี่บท ระบำกฤดาภนิ ิหาร ระบำฉิ่งเป็นต้น ๗ ๔. การแสดงพืน้ เมือง เป็นศิลปะแห่งการร่ายรำที่ มที ง้ั รำ ระบำ หรือการละเลน่ ทเ่ี ปน็ เอกลักษณ์ ของกลมุ่ ชนตามวฒั นธรรมในแตล่ ะภมู ิภาค ซ่งึ สามารถแบ่งออกเปน็ ภมู ภิ าคได้ ๔ ภาค ดงั นี้ ๔.๑ การแสดงพ้ืนเมอื งภาคเหนือ เป็นศลิ ปะการรำ และการละเลน่ หรือท่ีนยิ มเรียกกนั ท่ัวไปว่า “ฟ้อน” การฟอ้ นเปน็ วัฒนธรรมของชาวล้านนา และกลมุ่ ชนเผา่ ต่าง ๆ เชน่ ชาวไต ชาวลือ้ ชาว ยอง ชาวเขิน เป็นต้น ลักษณะของการฟ้อน แบ่งเป็น ๒ แบบ คือ แบบด้งั เดิม และแบบที่ปรับปรุงขนึ้ ใหม่ แต่ยงั คงมีการรักษาเอกลกั ษณ์ทางการแสดงไว้คือ มีลีลาท่ารำทแ่ี ช่มช้า ออ่ นช้อยมกี ารแตง่ กายตาม วฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ ท่สี วยงามประกอบกบั การบรรเลงและขับร้องดว้ ยวงดนตรพี ้นื บ้าน เชน่ วงสะลอ้ ซอ ซงึ วง ปูเจ่ วงกลองแอว เปน็ ต้น โอกาสที่แสดงมักเลน่ กันในงานประเพณีหรือตน้ รบั แขกบ้านแขกเมอื งไดแ้ ก่ ฟ้อน เลบ็ ฟอ้ นเทียน ฟ้อนครวั ทาน ฟ้อนสาวไหมและฟ้อนเจิง ๔.๒ การแสดงพน้ื เมอื งภาคกลาง เป็นศิลปะการรา่ ยรำและการละเล่นของชนชาวพนื้ บ้านภาค กลาง ซึ่งส่วนใหญ่มีอาชีพเกีย่ วกบั เกษตรกรรม ศิลปะการแสดงจึงมีความสอดคล้องกับวิถชี วี ิต และเพื่อความ บันเทงิ สนุกสนาน เป็นการพักผอ่ นหยอ่ นใจจากการทำงาน หรอื เมอ่ื เสรจ็ จากเทศการฤดเู กบ็ เก็บเก่ียว เชน่ การเล่นเพลงเกีย่ วขา้ ว เตน้ กำรำเคยี ว รำโทนหรอื รำวง รำเถิดเทอง รำกลองยาว เป็นต้น มีการแตง่ กายตาม วฒั นธรรมของท้องถน่ิ และใช้เคร่ืองดนตรีพ้นื บ้าน เชน่ กลองยาว กลองโทน ฉ่งิ ฉาบ กรับ และโหม่ง ๘ ๔.๓ การแสดงพ้ืนเมืองภาคอสี าน เป็นศิลปะการรำและการเล่นของชาวพน้ื บ้านภาคอสี าน หรือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย แบง่ ได้เป็น ๒ กลุ่มวฒั นธรรมใหญ่ ๆ คอื กลุ่มอสี านเหนือ มีวัฒนธรรม ไทยลาวซ่ึงมักเรียกการละเลน่ วา่ “เซิง้ ฟ้อน และหมอลำ” เช่น เซงิ้ บงั ไฟ เซิง้ สวงิ ฟ้อนภูไท ลำกลอนเก้ยี ว ลำเต้ย ซึ่งใช้เครื่องดนตรีพน้ื บ้านประกอบ ได้แก่ แคน พิณ ซอ กลองยาว อีสาน ฉ่งิ ฉาบ ฆ้อง และกรับ ภายหลังเพมิ่ เติมโปงลางและโหวดเข้ามาด้วย สว่ นกลมุ่ อีสานใตไ้ ด้รับอิทธพิ ลไทยเขมร มกี ารละเล่นทเี่ รยี กวา่ เรือม หรอื เร็อม เชน่ เรือมลูดอนั เร หรอื รำกระทบสาก รำกระเนบ็ ติงต็อง หรือระบำต๊กั แตน ตำขา้ ว รำอาไย หรือรำตดั หรอื เพลงอีแซวแบบภาคกลางวงดนตรี ที่ใช้บรรเลง คือ วงมโหรีอสี านใต้ มเี คร่ืองดนตรี คือ ซอด้วง ซอด้วง ซอครัวเอก กลองกันตรึม พณิ ระนาด เอกไม้ ปีส่ ไล กลองรำมะนาและเคร่ืองประกอบจังหวะ การแต่ง กายประกอบการแสดงเป็นไปตามวฒั นธรรมของพ้ืนบ้าน ลักษณะทา่ รำและทว่ งทำนองดนตรีในการแสดง คอ่ นข้างกระชบั รวดเรว็ และสนุกสนาน ๔.๔ การแสดงพื้นเมืองภาคใต้ เปน็ ศลิ ปะการรำและการละเล่นของชาวพืน้ บา้ นภาคใต้อาจ แบง่ ตามกลมุ่ วฒั นธรรมได้ ๒ กลุ่มคือ วัฒนธรรมไทยพทุ ธ ไดแ้ ก่ การแสดงโนรา หนังตะลุง เพลงบอก เพลงนา และวัฒนธรรมไทยมุสลมิ ได้แก่ รองเงง็ ซำแปง มะโยง่ (การแสดงละคร) ลเิ กฮูลู (คลา้ ยลิเกภาคกลาง) และ ซิละ มีเครื่องดนตรีประกอบที่สำคัญ เชน่ กลองโนรา กลองโพน กลองปืด โทน ทบั กรบั พวง โหมง่ ปีก่ าหลอ ป่ไี หน รำมะนา ไวโอลิน อัคคอรเ์ ดยี น ภายหลังไดม้ ีระบำท่ีปรบั ปรงุ จากกิจกรรมในวิถีชวี ิต ศิลปาต่าง ๆ เข่น ระบำร่อนแต่ การดี ยาง ปาเตตะ๊ เป็นต้น ๙ นาฏศลิ ปไ์ ทยสภ่ี าค ภาคกลาง ภาคกลางไดช้ ่ือว่าอู่ขา้ วอู่นำ้ ของไทย มีภูมิประเทศเป็นทร่ี าบล่มุ มีแมน่ ้ำหลายสาย เหมาะแก่ การกสิกรรม ทำนา ทำสวน ผคู้ นมีความเป็นอยู่ท่สี ขุ สบาย จงึ มีเวลาท่ีจะคดิ ประดิษฐห์ รือสรา้ งสรรค์ส่ิงที่ สวยงามไดม้ าก และมีการเล่นร่ืรนเริงในโอกาสต่าง ๆ มากมาย ท้ังตามฤดูกาล ตามเทศกาลและตามโอกาสทม่ี ี งานร่ืนเริงภาคกลางเปน็ ทร่ี วมของศลิ ปวัฒนธรร้ม การแสดงจึงมกี ารถา่ ยทอดสบื ต่อกันและพัฒนาดัดแปลง ขน้ึ เรื่อย ๆและออกมาในรปู แบบของขนบธรรมเนียมประเพณี และการประกอบอาชพี เช่น เตน้ กำรำเคียว เพลงเกย่ี วข้าว เพลงเรือ เพลงฉ่อย เพลงอีแซว ลเิ ก ลำตดั กลองยาว เถิดเทิง เป็นตน้ บางอย่างกลายเปน็ การ แสดงนาฏศิลป์แบบฉบบั ไปก็มี เชน่ รำวง และเน่ืองจากเปน็ ทร่ี วมของศิลปะนี้เอง ทำใหค้ นภาคกลางรบั การ แสดงของท้องถ่นิ ใกล้เคียงเขา้ ไวห้ มด แล้วปรุงแตง่ ตามเอกลักษณ์ของภาคกลาง คือการร่ายรำทีใ่ ชม้ อื แขน และลำตวั เช่น โขน ละครชาตรี ละครนอก ละครใน ลเิ ก หุ่น หนงั ใหญ่ ๑๐ ลิเก ลิเก เกดิ ขนึ้ ในสมยั กรุงศรอี ยธุ ยา หรือตน้ กรงุ รตั นโกสินทร์ คำว่า ลิเก เพี้ยนมาจากคำวา่ ซิเกร์ ในภาษา เปอร์เซีย ท่ียืมมาจากคำวา่ ซกิ รุ (Zakhur) ในภาษาอาหรบั อนั หมายถงึ การอ่านบทสรรเสริญเปน็ การรำลกึ ถงึ อลั ลอหฺพระเจ้าในศาสนาอิสลาม พระครูศรมี หาโพธคิ ณารกั ษ์ก็ได้กล่าวถึงลเิ กไว้ วา่ พวกมสุ ลิมนิกายชีอะห์ หรอื เจ้าเซน็ จากเปอรเ์ ซยี นำสวดลิเกทเ่ี รียกว่า ดเิ กร์ เข้า มาในสมัยรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั กรมพระยาดำรงราชานภุ าพกท็ รง บันทึกว่า ย่ีเกน้ัน เพยี้ นมาจาก จิเก เพลงและดนตรี ดำเนนิ เรื่องใช้เพลงหงส์ทองชน้ั เดยี ว แต่ดดั แปลงให้ดน้ ได้เนอ้ื ความมาก ๆ แล้วจึงรับ ดว้ ยป่ีพาทย์ แตถ่ ้าเล่นเรื่องต่างภาษา กใ็ ชเ้ พลงท่มี สี ำเนยี งภาษานัน้ ๆ ตามท้องเรื่อง แต่ด้นใหค้ ล้ายหงส์ทอง ตอ่ มานายดอกดิน เสอื สงา่ ไดด้ ัดแปลงเพลงมอญครวญของลเิ กบันตน ท่ีใชก้ ับบทโศก มาเป็นเพลงแสดง ความรักดว้ ย เรื่องทแ่ี สดง นยิ มใชเ้ ร่ืองละครนอก ละครใน และเร่ืองพงศาวดารจนี มอญ ญวน เชน่ สามกก๊ ราชาธิราช การแต่งกาย แต่งตวั ดว้ ยเครื่องประดับสวยงาม เลียนแบบเครอ่ื งทรงกษัตรยิ ์ จงึ เรียกวา่ ลิเกทรงเคร่ือง \"สมยั ของแพง\" กล็ ดเคร่ืองแต่งกายทแี่ พรวพราวลงไป แต่บางคณะกย็ ังรักษาแบบแผนเดิมไว้ โดยตวั นายโรงยัง แต่งเลียนแบบเคร่ืองทรงของกษัตริย์ในส่วนทม่ี ิใช่เครอื่ งตน้ เชน่ นงุ่ ผ้ายกทอง สวมเสอื้ เข้มขาบหรือเยยี รบับ แขนใหญถ่ ึงข้อมือ คาดเข็มขัดนอกเสื้อ ประดบั เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณต์ ่าง ๆ แตด่ ัดแปลงเสียใหม่ เช่น เคร่อื ง สวมศีรษะ เครื่องประดบั หนา้ อก สายสะพาย เครื่องประดับไหล่ ตัวนางนุง่ จบี ยกทอง สวมเสอ้ื แขนกระบอก ยาว หม่ สไบปักแพรวพราว สวมกระบังหนา้ ต่อยอดมงกุฎ ท่ีแปลกกวา่ การแสดงอ่ืน ๆ คือสวมถุงเท้ายาวสีขาว แทนการผัดฝุน่ อยา่ งละคร แต่ไม่สวมรองเท้า ๑๑ ระบำกินรีรอ่ น ระบำกนิ รรี อ่ น เปน็ แสดงท่ีอยูใ่ นละครเรือ่ งพระสธุ น-มโนราห์ ซ่งึ กรมศลิ ปากรได้เคยจัดแสดงให้แก่ ประชาชนชมมาแลว้ คณุ หญงิ แผ้ว สนิทวงศเ์ สนี ผู้เชี่ยวชาญนาฏศลิ ปไ์ ทย ของกรมศลิ ปากร ได้ปรับปรงุ และ ประดิษฐท์ า่ รำให้ประณีตสวยงาม และกะทัดรดั เหมาะแกผ่ ู้ชมซงึ่ เปน็ ท้ังประชาชนชาวไทย และชาว ต่างประเทศ ประกอบกบั เรื่องมโนราหเ์ ป็นวรรณกรรมท่ีแพรห่ ลาย เปน็ ท่ีรจู้ ักกนั อย่างกวา้ งขวางในหลาย ประเทศ การแสดงชุดน้ีจึงได้รบั ความนิยมยกย่องมากในด้านความวจิ ิตรสวยงามของกระบวนทา่ รำและเคร่ือง แต่งกาย เครื่องแตง่ กาย แต่งชุดกินรี ดนตรี ปีพ่ าทยไ์ มน้ วม โอกาสการแสดง งานมงคลต่าง ๆ รำเคยี วเกย่ี วข้าว ๑๒ รำเคียวเกีย่ วขา้ ว ในสมัยก่อนเรยี กการละเล่นชนิดน้วี ่า “เต้นกำ” แตก่ รมศิลปากรได้ไปถ่ายทอด และ นำไปเผยแพร่ ก็ไดเ้ พ่มิ คำวา่ “รำเคียว” ตอ่ ท้าย จึงทำให้ประชาชนทง้ั หลายรจู้ ักการละเล่นแบบนี้ในชอ่ื ของ “เตน้ กำรำเคยี ว” การนำเพลงเต้นกำรำเคียวไปเผยแพรน่ ้ัน กรมศิลปากรได้ดดั แปลงท่ารำและเน้ือร้องใหม่- เพอ่ื ใหส้ ุภาพข้ึน และใชร้ ะนาดเปน็ เครอ่ื งดนตรีประกอบในตอนตน้ และตอนท้าย เพลงเต้นกำรำเคยี วน้ัน ถอื เปน็ เพลงพ้ืนบ้านประจำจังหวัดนครสวรรค์ และในบางครั้งกใ็ ชแ้ ทนเพลงพน้ื บ้านในนามภาคกลางดว้ ย ผู้เล่น การเลน่ เพลงเตน้ กำรำเคียวนัน้ ผเู้ ล่นเปน็ ชาวบา้ นที่มาเกี่ยวข้าว ไมจ่ ำกดั จำนวน ชาย หญงิ จะ จับคู่เลน่ กันเปน็ คู่ ๆ ประมาณ ๕ คู่ ถึง ๑๐ คู่ จะแบ่งผ้เู ลน่ เป็น ๒ ฝ่าย คือ ฝา่ ยชาย เรียกวา่ พอ่ เพลง ฝ่าย หญิง เรยี กวา่ แม่เพลงเร่ิมด้วยพอ่ เพลงร้องชกั ชวนแมเ่ พลงใหอ้ อกมาเต้นกำรำเคียวโดยรอ้ งเพลงและเตน้ ออกไปรำล่อ ฝ่ายหญงิ และแม่เพลงก็ร้องและรำแก้กันไปซ่ึงพ่อเพลงแม่เพลงน้ีอาจจะเปลยี่ นไปหลาย ๆ คน ช่วยกนั ร้องจนกวา่ จะจบเพลง ส่วนผ้ทู ีไ่ มไ่ ด้เปน็ พอ่ เพลงแม่เพลงก็ต้องเป็นลูกคู่ การแตง่ กาย ทง้ั ของฝ่ายชายและฝ่ายหญงิ คอื ชดุ ทใ่ี ส่ในการทำนา ฝ่ายชายจะนงุ่ กางเกงขาก๊วย และ สวมเสอื้ มอ่ ฮอ่ มสีดำหรือสีน้ำเงนิ เข้มมีผา้ ขาวมา้ คาดเอว สวมหมวกสานใบลาน ฝา่ ยหญงิ จะนงุ่ โจงกระเบนสี ดำ หรอื โจงกระเบนผา้ ลายกไ็ ด้ และสวมเส้อื แขนกระบอกสีดำหรือสนี ้ำเงนิ เข้ม สวมงอบ อุปกรณ์ในการเล่น เคยี วเก่ยี วขา้ วคนละ ๑ เลม่ พร้อมกับกำรวงขา้ วคนละ ๑ กำ สถานท่ีเล่น เลน่ กันในทอ้ งนาทีเ่ ก่ยี วขา้ ว หรือลานดินกวา้ ง ๆ ในท้องนา เลน่ กันในฤดเู กยี่ วขา้ ว ขณะที่ มกี ารเก่ียวข้าวน้ัน เขามักจะมีการรอ้ งเพลงเกีย่ วขา้ วไปด้วย โดยรอ้ งแก้กันระหวา่ งฝา่ ยชายกับฝา่ ยหญิง และ เม่ือหยดุ พกั การเก่ียวขา้ วประมาณตะวนั บ่ายคล้อยแลว้ การเตน้ กำรำเคียวจงึ เริม่ เลน่ ดนตรที ใี่ ช้ ตามแบบฉบบั ของชาวบา้ นแบบเดิมไม่มดี นตรีประกอบเพยี งแต่ลูกคู่ทุกคนจะปรบมือ และ รอ้ ง เฮ้ เฮ้ว ใหเ้ ข้าจังหวะ รำวง ๑๓ รำวง วิวัฒนาการมาจากรำโทนเพลงรอ้ งได้มีการกำหนดท่ารำของแตล่ ะเพลงไว้โดยเฉพาะ เชน่ เพลง งามแสงเดือน ใชท้ า่ สอดสร้อยมาลาเป็นทา่ รำ เพลงชาวไทยใช้ทา่ ชักแปง้ ผัดหน้า เพลงดวงจนั ทรว์ นั เพ็ญใช้- ท่าแขกเต้าเข้ารงั และทา่ ผาลาเพยี งไหล่ เปน็ ตน้ เพลงรำวงทกี่ ำหนดทา่ รำโดยใช้ท่ารำแม่บทดังกล่าวนี้ เรียกวา่ รำวงมาตรฐาน นิยมในงานรน่ื เรงิ แทนการเต้นรำ และยังจดั เปน็ ชดุ นาฏศิลป์ไทยที่นำไปแสดงเพ่ือ ความบนั เทิงไดอ้ ีกด้วย เครือ่ งแต่งกาย กำหนดการแตง่ กายของผู้เล่นรำวงให้เปน็ ระเบียบ เชน่ ผู้ชายแตง่ ชุดสากล ผูห้ ญงิ แตง่ ชดุ เส้อื กระโปรง หรอื ชุดไทยพระราชนิยม ผชู้ ายนุง่ โจงกระเบน สวมเส้ือคอกลม มีผา้ คาด เอว ผู้หญงิ แต่งชุดไทย เป็นต้น การเล่นรำวง นอกจากจะเป็นทนี่ ยิ มของชาวไทยแลว้ ชาวต่างชาตกิ ็ยงั นยิ ม เลน่ รำวงด้วยเพลงรำวงทตี่ า่ งชาตริ ูจ้ ักและมักจะร้องกันได้ คอื เพลงลอยกระทง การเลน่ รำวงจะเล่นได้ทุก โอกาสทีม่ ีงานรน่ื เริงหรอื มีการแสดงนาฏศิลป์ไทย ในการนำนาฏศิลปไ์ ทยไปแสดงที่ตา่ งประเทศใน บางคร้งั เม่ือจบการแสดงแลว้ จะมกี ารเชิญชวนแขกผมู้ ีเกยี รติ ข้นึ มาร่วมรำวงกบั ผแู้ สดงชายและหญงิ ของ คณะนาฏศลิ ป์ไทย นับเปน็ การเชื่อมสมั พนั ธ์ไมตรีระหว่างคณะนาฏศลิ ป์ไทยและชาวตา่ งชาติที่เขา้ มาชมการ แสดง อกี ทงั้ ยงั เป็นการเผยแพร่ศิลปะการเลน่ รำวงใหแ้ พร่หลายไปในนานาประเทศอีกด้วย รำกลองยาว ประวัติความเปน็ มา การเลน่ เถิดเทงิ มผี สู้ ันนิษฐานวา่ เป็นของพม่านยิ มเล่นกันมาก่อน เม่ือครัง้ พม่า มาทำสงครามกบั ไทย ในสมัยกรุงธนบรุ ี หรือสมัยตน้ แหง่ กรุงรตั นโกสินทร์ เวลาพกั รบพวกทหารพม่าก็เลน่ สนุกสนานด้วยการเลน่ ต่าง ๆ ซ่งึ ทหารพมา่ บางพวกก็เล่น “กลองยาว” พวกไทยเราได้เห็นก็จำมาเลน่ กนั บ้าง ยงั มเี พลงดนตรเี พลงหน่งึ ซึ่งดนตรีไทยนำมาใชบ้ รรเลง มีทำนองเป็นเพลงพมา่ เรียกกนั มาแต่เดิมว่า เพลง พม่ากลองยาว ต่อมาได้มผี ้ปู รบั เปน็ เพลงระบำ กำหนดใหผ้ ้รู ำแตง่ ตวั ใสเ่ สอ้ื นงุ่ โสรง่ ตา ศรี ษะโพกผ้าสีชมพู ๑๔ (หรอื สีอนื่ ๆ บ้างตามแตจ่ ะให้สีสลับกนั เหน็ สวยอยา่ งแบบระบำ) มือถือขวานออกมาร่ายรำเขา้ กับจังหวะ เพลงทีก่ ลา่ วนี้ จงึ เรยี กเพลงนีก้ นั อีกช่ือหนึง่ วา่ เพลงพมา่ รำขวาน อีกความหนงึ่ มผี ู้กล่าววา่ การเลน่ เทงิ บ้องกลองยาวน้ี เพิ่งมเี ขา้ มาในเมอื งไทยเม่ือสมัยรชั กาลที่ ๔ กรงุ รตั นโกสินทร์นี้เอง กล่าวคอื มพี ม่าพวกหน่งึ นำเขา้ มาในรัชกาลนัน้ ยังมีบทรอ้ งกราวรำยกทพั พมา่ ใน การแสดงละครเรอื่ งพระอภัยมณี ตอน เกา้ ทัพ ซง่ึ นยิ มเล่นกันมาแต่ก่อน สังเกตดูก็เป็นตำนานอยู่บ้างแล้ว คอื ร้องกนั ว่า ทงุ เล ฯ ทีนจี้ ะเหพ่ ม่าใหม่ ตกมาเมอื งไทย มาเปน็ ผ้ใู หญต่ ีกลองยาว ตีวอ่ งตไี วตีไดจ้ งั หวะ ทนี ีจ้ ะกะเป็นเพลงกราว เล่ืองชือ่ ลอื ฉาว ตกี ลองยาวสลดั ได ๆ เมือ่ ชาวไทยเราเห็นเปน็ การละเลน่ ทส่ี นกุ สนานและเล่นได้ง่าย ก็เลยนิยมเล่นกันแพรห่ ลายไปแทบทุก หวั บ้านหัวเมอื ง สืบมาจนตราบทุกวันนี้ กลองยาวท่ีเลน่ กันในวงหนง่ึ ๆ มีเลน่ กนั หลายลกู มีสายสะพายเฉวียง ปา่ ของผตู้ ี ลกั ษณะรูปรา่ งของกลองยาวขึงหนงั ด้านเดยี วอีกข้างหนึง่ เปน็ หางยาว บานปลายเหมอื นกับกลอง ยาวของชาวเชยี งใหม่ แต่กลองยาวของชาวเชยี งใหมเ่ ป็นกลองยาวจริง ๆ ยาวถึงประมาณ ๒ วา สว่ นกลอง ยาวอย่างท่เี ล่นกันนี้ ยาวเพียงประมาณ ๓ ศอกเทา่ นั้น ซ่งึ ส้ันกว่าของเชียงใหมม่ าก ทางภาคอสี านเรยี ก กลองยาวชนิดนวี้ า่ กลองหาง กลองยาวแบบนน้ีของพม่าเรียกวา่ โอสิ มลี ักษณะคล้ายคลึงกับของชาวไทยอาหมในแคว้นอัสสัม เว้น แต่ของชาวไทยอาหมรปู ร่างคลา้ ยตะโพน คือ หัวทา้ ยเล็ก กลางปอ่ งใบเล็กกวา่ ตะโพน ขึ้นหนังท้งั สองข้าง ผูก สายสะพายตีได้ ตามท่เี หน็ วิธีเลน่ ท้ังกลองยาวของพมา่ และกลองของชาวไทยอาหม ดวู ิธกี ารเลน่ เป็นแบบ เดยี วกัน อาจเลยี นแบบการเล่นไปจากกนั กไ็ ด้ เมอ่ื รฐั บาลไทยมอบให้คณะนาฏศลิ ปข์ องกรมศลิ ปากรไปแสดงเพ่อื เชื่อมสมั พันธไมตรี ณ นครย่างกุ้ง และมณั ฑเลย์ ระหวา่ งเดอื นมีนาคมและเมษายน พ.ศ.๒๕๐๙ ทางรฐั บาลพม่าไดจ้ ดั นกั โบราณคดีพม่าผ้หู นึ่ง เป็นผนู้ ำชมพิพธิ ภณั ฑส์ ถานและ โบราณสถานเร่อื งกลองยาวไดก้ ล่าววา่ พมา่ ได้กลองยาวมาจากไทยใหญ่อีก ต่อหนึ่ง การละเล่นประเภทนี้วา่ เถิดเทงิ เทิงบ้องนั้น คงเรยี กตามเสยี งกลองยาว กลา่ วคอื มเี สียงเมื่อเริ่มตีเปน็ จังหวะ หคู นไทยไดย้ ินเป็นวา่ “เถดิ -เทิง-บ้อง-เทงิ -บ้อง” กเ็ ลยเรียกตามเสียงท่ีไดย้ นิ วา่ เถิดเทงิ หรือเทงิ บ้อง กลองยาวตามกันไป เพือ่ ใหต้ ่างกบั การเลน่ อย่างอ่นื ลักษณะการแสดง ก่อนเลน่ มีการทำพธิ ีไหวค้ รู มดี อกไมธ้ ปู เทียน เหลา้ ขาว บุหรี่และเงินคา่ ยกครู ๑๒ บาท การไหว้ครใู ชก้ ารขับเสภา เมอื่ ไหวค้ รูแล้วจะโห่ขน้ึ ๓ ลา แลว้ เรมิ่ แสดง โดยนักดนตรีประกอบเรมิ่ บรรเลงผ้รู า่ ยรำกจ็ ะเดินและร่ายรำไปตามจังหวะกลอง มีท่าร่ายรำทั้งหมด ๓๓ ทา่ ทา่ ที่หวาดเสยี วและ ตน่ื เตน้ มากทส่ี ุดกเ็ ห็นจะเปน็ ท่าท่ี ๓๐ - ๓๑ คือทา่ ที่มีการตอ่ กลองข้ึนไป ๓ ใบ ให้ผแู้ สดงคนหนงึ่ ขน้ึ ไปยืน ๑๕ บนกลองใบที่ ๓ แลว้ ควงกลอง และคาบกลอง ซึ่งผู้แสดงต้องใช้ความสามารพิเศษเฉพาะตัว ผตู้ ีกลองยาว บางพวกกต็ ีหกหัวกนั แลบลนิ้ ปล้ินตา กลอกหน้ายักค้วิ ยักคอไปพลาง และถ้าผตู้ ีคนใดตไี ดจ้ นถึงกบั ถอง หน้า-กลองดว้ ยศอก โขกด้วยคาง กระทงุ้ ด้วยเขา่ โหมง่ ดว้ ยเข่า โหม่งดว้ ยหวั เลน่ เอาผู้ตีคลกุ ฝ่นุ คลกุ ดนิ ขะมุกขะมอมไปท้ังตวั สุดแตจ่ ะให้เสยี งกลองยาวดัง ขึน้ ได้เปน็ สนุกมาก และนิยมกนั วา่ ผู้ตกี ลองยาวเก่งมากผู้ เล่นกภ็ มู ใิ จ นอกจากน้ันก็มีคนรำแตง่ ตวั ต่าง ๆ สดุ แตส่ มัครใจ คนดคู นใดรู้สึกสนุกจะเข้าไปร่วมรำด้วยกไ็ ด้ เพราะเปน็ การเล่นอย่างชาวบา้ น ใครจะสมคั รเข้ารว่ มเลน่ รว่ มรำด้วยกไ็ ด้ บางคนกแ็ ต่งตวั พิสดาร ผดั หนา้ ทาตวั ดว้ ยแป้งด้วยเขมา่ ดนิ หมอ้ หนา้ ตาเน้ือตัวดำด่าง สดุ แต่จะให้คนดูรสู้ กึ ท่ึงและขบขัน ออกมารำเข้ากบั - จังหวะเทิงบ้อง แตท่ ี่แต่งตัวงาม ๆ เลน่ และรำกันเรยี บ ๆ นา่ ดูกม็ ี เชน่ ที่ปรบั ปรุงข้นึ เล่นโดยศลิ ปินของกรม ศิลปากร และมีผนู้ ำแบบอย่างไปเล่นแพร่หลายอย่ใู นสมัยนี้ เพราะฉะน้นั การเล่น ยอ่ มเปน็ ส่วนของวัฒนธรรมท่แี สดงออกมา จะเปน็ วัฒนธรรมอยูใ่ นระดับใดก็ แล้วแต่สถานทแ่ี ละโอกาสเหมาะกับถน่ิ หนงึ่ แต่ ไม่เหมาะกับอีกถ่นิ หนึ่งก็ได้ ถา้ ปรับให้มลี ักษณะเหมือนกัน ตลอดทุกถน่ิ กไ็ มเ่ ปน็ ความเจริญในทางวัฒนธรรม ความเจรญิ ของวฒั นธรรมอยู่ทแ่ี ปลก ๆ ตา่ ง ๆ กนั แต่ว่า เปน็ อันหน่ึงอนั เดยี วกนั ในสว่ นรวม และรูจ้ กั ดดั แปลงแก้ไขใหเ้ หมาหะกับความเปน็ อยู่ของแต่ละท้องถ่ินตาม กาลสมัย แตไ่ ม่ทำลายลกั ษณะอันเป็นเอกเทศของแต่ละถ่นิ ให้สูญไป เปรยี บเหมือนเปน็ คนไทยดว้ ยกนั โอกาสท่ีแสดง ประเพณีเล่น “เถิดเทิง”หรอื “เทิงบ้องกลองยาว” ในเมอื งไทยนนั้ มักนยิ มเล่นกัน ในงานตรษุ งานสงกรานต์ หรือในงานแห่งแหน ซึง่ ต้องเดนิ เคลือ่ นขบวน เชน่ ในงานแห่นาค แห่พระ และแห่ กฐิน เป็นต้น เคลือ่ นไปกับขบวน พอถึงท่ีตรงไหนเหน็ วา่ มลี านกวา้ งหรอื เปน็ ทเี่ หมาะกห็ ยดุ ตั้งวงเล่นรำกัน เสีย พักหนึ่ง แลว้ ก็เคลอ่ื นขบวนต่อไปใหมแ่ ล้วก็มาหยดุ ตัง้ วงเลน่ และรำกนั อีก การเล่นเถดิ เทงิ ของกรม ศิลปากรปรบั ปรงุ ใหม่ จะแตง่ ตัวแบบไทย ๆ แต่ยังเปน็ ประเพณีด้ังเดิม คือยังใช้โพกหัวดว้ ยผ้าแพรบาง ๆ ตามแบบพม่าอยู่ นอกจากน้ี ก็เพิม่ ผรู้ ำฝ่ายหญิงแต่งตวั งดงามแบบหญิงไทย กำหนดแบบแผนลีลาท่ารำ โดย กำหนดให้มีกลองรำ กลองยืน เปน็ ตน้ กลองรำ หมายถึง ผูท้ จ่ี ะแสดงลวดลายในการตบี ทพลิกแพลงต่าง ๆ เชน่ ถองหน้า กลองด้วยศอก กระทุ้งด้วยเขา่ เป็นต้น กลองยืน หมายถึง ผู้ตีกลองยนื จงั หวะให้การแสดงดำเนินไปอยา่ งเรยี บร้อย ในขณะท่กี ลองรำวาด ลวดลายรำต้อนนางรำอยู่ไปมา การเล่นเถิดเทิงแบบนีม้ ีมาตรฐานตายตวั ผเู้ ลน่ ท้ังหมดต้องได้รับการฝกึ ฝนมาก่อนถึงจะแสดงได้เปน็ ระเบยี บและน่าดู คนดูจะไดเ้ หน็ ความงามและไดร้ บั ความสนุกสนานแมจ้ ะไม่ได้ร่วมวงเล่นดว้ ยกต็ าม การแตง่ กาย ในสมยั ปัจจุบันกรมศลิ ปากรไดป้ รับปรุงการแตง่ กายและกำหนดไวเ้ ป็นแบบฉบบั คอื ๑. ชาย นงุ่ กางเกงขายาวครง่ึ แขง้ สวมเสอื้ คอกลม แขนสัน้ เหนอื ศอก มผี ้าโพกศีรษะและผา้ คาดเอว ๒. หญงิ นุ่งผ้าซิ่นมเี ชงิ ยาวกรอมเท้า สวมเสอ้ื แขนกระบอกคอปิด ผา่ อกหน้า หม่ สไบทบั เสื้อ สวม สร้อยตัวคาดเข็มขดั ทบั นอกเส้อื สรอ้ ยคอ และตา่ งหู ปล่อยผมทดั ดอกไมด้ ้านซา้ ย ๑๖ ดนตรที ี่ใช้ เครื่องดนตรีท่ีใชป้ ระกอบการเล่นกม็ ีกลองยาว ( เลน่ กนั หลาย ๆ ลูกก็ได้) เคร่อื งประกอบ จังหวะ มี ฉิง่ ฉาบ กรับ โหมง่ มปี ระมาณ ๔ คน คนตกี ลองยืน ๒ คน คนตกี ลองรำ ๒ คน และหญงิ ที่ รำล่ออีก ๒ คน สถานท่แี สดง แสดงในบริเวณพ้นื ลานกว้าง ๆ หรือบนเวที จำนวนผแู้ สดง จำนวนผแู้ สดงจะมเี ปน็ ชุดราว ๑๐ คน เปน็ อย่างน้อยมผี ู้บรรเลงดนตรี ๔ คน คนตี กลองยืน ๒ คน คนตกี ลองรำ ๒ คน และหญงิ ที่รำล่ออีก ๒ คน เวลาแสดงพวกตีเครื่องประกอบจงั จะทำ หน้าร้องประกอบเร่งเรา้ อารมณใ์ ห้สนุกสนาน ไปในขณะตีด้วย คำที่ใชร้ อ้ งเดมิ มีหลายอยา่ ง แต่ทีใ่ ชร้ อ้ ง ขณะนี้มอี ยู่ไม่กอ่ี ย่าง ขอยกตัวอยา่ งบทร้องมาให้ดดู ังนี้ ๑. มาแล้วโหวย มาแลว้ วา มาแตข่ องเขา ของเราไมม่ า ตะละล้า หรือมาแลว้ โหวย มาแลว้ วา มา แต่ป่า รอยตีนโตโต ๒. ตอ้ นเข้าไว้ ตอ้ นเขา้ ไว้ เอาไปบา้ นเรา บา้ นเราคนจนไม่มีคนหงุ ข้าว ตะละล้า หรอื ตอ้ นเขา้ ไว้ ตอ้ นเขา้ ไว้ เอาไปบา้ นเรา พ่อกแ็ กแ่ ม่ก็เฒา่ เอาไปหงุ ข้าวให้พวกเรากิน ตะละลา้ ๓. ใครมมี ะกรดู มาแลกมะนาว ใครมีลูกสาว มาแลกลกู เขย เอาวะ เอาเหวย ลกู เขยกลองยาว ตะละลา้ แตง่ เนอื่ งจากคนไทยเรามีนิสัยเจา้ บทเจ้ากลอนจงึ มักยา้ ยถ่ายเทการร้องให้แปลกออกไปหรือใหพ้ ิลึกพิ ล่ันเลน่ ตามอารมณ์ เช่น “ใครมมี ะกรดู มาแลกมะนาว” แลว้ แทนทจ่ี ะร้องแบบเดิมกร็ ้องกลับไปมาว่า “ใครมีมะนาว มาแลกมะกรูด” แลว้ ยำ้ วา่ “มะกรูด ๆ ๆ ๆ มะนาว ๆ ๆ ๆ” ดังนี้ เปน็ ต้น ระบำชาวนา ๑๗ “ระบำชาวนา” ซ่งึ ผ้แู ตง่ ทำนองเพลงน้ีคอื นายมนตรี ตราโมท ผเู้ ชยี่ วชาญดนตรีไทยและศลิ ปิน แห่งชาติ ส่วนท่ารำนน้ั ทา่ นผู้หญงิ แผ้ว สนทิ วงศ์เสนี ผเู้ ชยี่ วชาญนาฏศลิ ปไ์ ทยและศลิ ปินแหง่ ชาติ เปน็ ผคู้ ดิ และออกแบบท่ารำ เมือ่ ไดช้ มการแสดงระบำชาวนา แล้วจะมีสุนทรยี ภาพทางนาฏศิลป์ที่เกิดขึน้ ดังนี้ ตวั ละคร เครอื่ งแต่งกาย ตวั ละครนัน้ จะเป็นชาวบ้านท้ังหญิงและชาย จะเป็นแตง่ ชุดม่อฮ่อม ซ่ึงเป็น ชุดทเี่ รยี บง่าย ไมห่ รูหรา เปน็ ชุดพน้ื บา้ น ทเี่ หน็ แลว้ จะจะทำให้ร้ไู ดเ้ ลยวา่ การแสดงชุดน้ตี ้องเก่ยี วกับการทำนา ขับร้อง บทร้อง บทเจรจา บทพากย์ การแสดงระบำชาวนา เปน็ การแสดงทไี่ ม่มีการขบั ร้อง ไม่มเี น้ือ เพลง มเี พยี งดนตรี ประกอบจังหวะซงึ่ เปน็ ดนตรีที่มีความสนุกสนาน เพลดิ เพลิน ฉาก อปุ กรณ์ อุปกรณท์ ่ีใชจ้ ะเป็นอปุ กรณ์ทีเ่ กีย่ วกับการทำนาตั้งแตเ่ รมิ่ ต้น จนถงึ การเกี่ยวขา้ ว ฉะนั้น อปุ กรณ์ทีใ่ ชจ้ งึ ได้แก่ เมล็ดข้าว เคียวเก่ียวข้าว รวงขา้ ง กระด้ง เป็นต้น ดนตรที ใ่ี ชป้ ระกอบ ใชเ้ ครอ่ื งดนตรีพ้นื บา้ น เช่น กลองยาว กลองโทน ฉ่งิ ฉาบ กรบั และโหม่ง ดนตรี จะมจี งั หวะที่สนกุ สนาน เพ่ือให้เกดิ ความเพลิดเพลนิ และให้หายเหน่ือยจากการทำนา ท่าทางส่ือความหมาย ทา่ รำจะเปน็ ท่าทสี่ ะท้อนถึงชีวิตความเปน็ อยู่ของชาวนา เปน็ ขั้นตอนการทำนา ต้ังแตเ่ ร่มิ หว่านข้าว ไถนา เกี่ยวขา้ ว ฝัดขา้ ว เป็นต้น ๑๘ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ภาคนีโ้ ดยท่ัวไปมักเรียกวา่ ภาคอสี าน ภาคอสี าน ภูมปิ ระเทศภาคอีสานเปน็ ท่ีราบสูง ค่อนขา้ งแหง้ แล้ง เพราะพน้ื ดนิ ไม่เก็บน้ำ ฤดูแล้งจะกันดาร ฤดฝู นน้ำจะทว่ ม แตช่ าวอสี านกม็ ีอาชีพทำไร่ทำนา และเป็นคนรกั สนุกและขยนั อดทน คนอสี านมกั ไปขายแรงงานในท้องทภี่ าคกลางหรือภาคใต้ เพลงพ้ืนเมืองอสี านจึงมักบรรยายความทุกข์ ความยากจน ความเหงา ทตี่ อ้ งจากบ้านมาไกล ดนตรี พืน้ เมืองแตล่ ะชิน้ เอื้อต่อการเล่นเด่ียว การจะบรรเลงร่วมกันเปน็ วงจึงตอ้ งทำการปรบั หรือตัง้ เสยี งเครื่องดนตรี ใหมเ่ พื่อให้ได้ระดับเสียงทเ่ี ข้ากันได้ทุกคร้งั แต่อย่างไรกต็ าม คนอีสานก็พยายามหาความบนั เทิงในทกุ โอกาส เพ่ือผ่อนคลายความไมส่ บายใจหรอื สภาพความทุกข์ยากอนั เนื่องจากสภาพธรรมชาติ เครอื่ งดนตรีพื้นเมือง อีสาน เชน่ พิณ แคน โหวด โปงลาง หืน ซอ ปีไ่ มซ้ าง กลองตุม้ กลองยาว เป็นต้น ทำนองเพลงพ้นื เมืองอีสาน มีทัง้ ทำนองที่เศรา้ สรอ้ ยและสนกุ สนาน เพลงทีม่ จี ังหวะเร็วนั้นถงึ จะสนกุ สนานอยา่ งไรก็ยังคงเจอื ความทุกข์- ยากลำบากในบทเพลงอยเู่ สมอ ทำนองเพลงหรือทำนองดนตรเี รียกว่า “ลาย” เช่น ลายแมฮ่ ้างกล่อมลูก ลาย นกใสบ่ ินขา้ มทง่ ลายลมพัดพร้าว ลายน้ำโตนตาด เปน็ ตน้ การขับร้องเรียกว่า “ลำ” ผู้ทีม่ คี วามชำนาญในการลำเรียกวา่ “หมอลำ” ลำมีหลายประเภท เช่น ลำ กลอน ลำเพลิน ลำเร่ืองต่อกลอน ลำผญา(ผะหยา) ลำเตย้ เป็นต้น ส่วนบทเพลงหรอื ลายบรรเลงก็มาจากภูมิ ปญั ญาชาวทมี่ ีความเช่ียวชาญทางด้านดนตรีโปงลาง เชน่ อาจารยท์ รงศักด์ิ ปทุมสนิ ซึ้งเปน็ ผู้เชย่ี วทางดา้ น โหวด และอาจารยท์ องคำ ไทยกลา้ เป็นผ้เู ชีย่ วชาญทางด้าน แคน ๑๙ ฟ้อนภูไท พระธาตุเชิงชุม เป็นปูชนียสถานท่สี ำคญั ของจังหวัดสกลนคร ซึง่ ในสมยั โบราณนัน้ ตอ้ งมคี นคอยเฝ้า ดูแลรักษาทำความสะอาดอยู่ตลอดทั้งปี ซึง่ พวกท่ีดูแลทำนบุ ำรุงพระธาตเุ ชิงชุมน้ี จะได้รับการยกเวน้ ไม่ต้อง เสียภาษรี ชั ฎาชูปการซงึ่ มีหลายชนเผ่าด้วยกัน ซึง่ ในกลุ่มผูด้ ูแลนนั้ มีชาวไทอยู่รว่ มด้วย ในตอนนัน้ มักจะมีงาน บญุ ทอดผ้าป่า และฉลององคพ์ ระธาตเุ ชิงชมุ ชาวบา้ นจะนำขา้ วเม่า ปลายา่ ง มาติดกณั ฑ์เทศน์ ชาวผู้ไท ซึง่ เป็นกลมุ่ ท่ีอาสาเปน็ ผู้ปฏิบัตริ ักษาองค์พระธาตโุ ดยเฉพาะผูช้ ายจะแตง่ ตวั นุง่ กางเกงขาก๊วย และน่งุ โสร่งทบั สวมเส้ือดำ จะฟอ้ นด้วยลีลาอนั อ่อนชอ้ ยสวยงาม โดยร้องและฟ้อนกันเปน็ หมู่ ๆ แลว้ จึงถวายผ้าปา่ ตอ่ มาไดม้ ีการดัดแปลงท่าฟ้อนใหส้ วยงามย่ิงขึ้น เปลีย่ นจากผแู้ สดงชายมาเปน็ หญงิ ลว้ น การแต่งกาย จะใสเ่ สื้อสดี ำ ผา้ ถงุ ดำขลิบแดง สวมเลบ็ ทำด้วยโลหะหรือบางแหง่ ใชก้ ระดาษทำเปน็ เสน้ มีพู่ตรงปลายสแี ดง ห่มผา้ เบย่ี งสีแดง ผมเกล้ามวยทัดดอกไม้สขี าว บางครง้ั ผูกด้วยผ้าสแี ดงแทน ในปัจจุบัน- พบวา่ เส้อื ผา้ ชดุ ฟ้อนผูไ้ ทจงั หวัดสกลนครไดเ้ ปล่ยี นไปบ้าง คือ ใชเ้ ส้ือสีแดงขลิบสดี ำ ผ้าถงุ สดี ำมีเชงิ ผา้ เบีย่ ง อาจใช้เชงิ ผา้ ตีนซิ่นมาห่มแทน วงดนตรีประกอบ ใช้ดนตรีพืน้ เมืองอสี าน ลายผู้ไทของจังหวดั สกลนคร ซึ่งมลี ีลาและจังหวะเรว็ กวา่ ลายผ้ไู ทของจังหวัดอืน่ ๆ โดยเคร่ืองดนตรจี ะใช้กลองกิ่ง แคน กลองตมุ้ กลองแตะ กลองยาว ฆอ้ งโหมง่ พงั ฮาด ไม้กบั๊ แกบ๊ ๒๐ เซง้ิ กระติบข้าว เซ้ิงกระตบิ ข้าว เป็นการแสดงของภาคอสี าน ท่เี ป็นท่ีรู้จักกันอย่างแพร่หลายท่ีสุดชุดหนึ่ง ซง่ึ แตเ่ ดมิ เซ้งิ อสี านจริง ๆ ไมม่ ีท่าทางอะไร มีแต่กนิ เหลา้ ยกมอื ไมส้ ะเปะสะปะให้เขา้ กบั จงั หวะเสียงกลองไปตามใจ โดยไม่ได้คำนงึ ถึงความสวยงาม ในราวปี พ.ศ.๒๕๑๗ สมเด็จพระบรมราชนิ ีนาถต้องการการแสดงของภาค อีสาน เพอ่ื ใชต้ ้อนรับสมเด็จพระนางอะเลยี นา และเจา้ หญงิ บที รกิ ซ์ แห่งประเทศเนเธอแลนด์ จงึ มกี าร นำเอาเพลงอีสานคือ หมอลำจังหวะช้าเรว็ โดยมที ่าถวายบงั คม ทา่ นกบนิ ทา่ เดิน ทา่ ดูดาว ทา่ ม้วน ตัว ท่าสนกุ สนาน ทา่ ป้ันขา้ วเหนยี ว ทา่ โปรยดอกไม้ ทา่ บงั แสงอาทติ ย์ ท่าเต้ีย (รำเตีย้ ) และในการ แตง่ กายครง้ั แรกนนั้ จะนงุ่ ผา้ ซิ่นหม่ ผ้าสไบ เกลา้ ผมสูง แตไ่ ม่มใี ครยอมห้อยกระติบขา้ วด้วยเหน็ วา่ รงุ รัง พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัวเสด็จทอดพระเนตรแล้ว พระองค์จงึ รบั สัง่ ว่า “...ใหใ้ ครสักคนลองรำดวู ่า ถ้า ไม่ห้อยกระตบิ ขา้ ว หรอื ห้อยกระตบิ ข้าว จะเป็นอยา่ งไร...” คณุ หญงิ เบญจวรรณ อรวรรณ เปน็ ผทู้ ดลองรำ ดคู ร้ังแรก ไมห่ ้อยกระตบิ ข้าวก็น่ารกั ดี คร้ังทสี่ อง รำโดยหอ้ ยกระตบิ ข้าว ทกุ คนกค็ ิดวา่ กำลังน่ารัก พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวทรงรับสั่งคำเดียววา่ “นา่ เอ็นดูดนี ่ี” ตกลงผรู้ ำทุกคนรบี หอ้ ยกระตบิ ข้าวกนั - ทางไหล่ขวาทุกคน การเซ้ิงครง้ั นั้นเรียกว่า เซิง้ อีสาน โดยทา่ นผู้หญงิ มณีรตั น์ บุนนาค เปน็ ผตู้ งั้ ช่อื ตอ่ มามี ผนู้ ำเซ้งิ ไปแสดงกนั ทั่วไปแตเ่ ปล่ียนช่อื ใหม่ว่า “เซิง้ กระตบิ ข้าว” เคร่อื งแต่งกาย ใช้ผแู้ สดงหญิงลว้ น สวมเสอ้ื แขนกระบอกคอกลมสพี ้ืน นงุ่ ผา้ ซ่นิ ห่มสไบเฉียง ผม เกลา้ มวย ทดั ดอกไม้ หอ้ ยกระติบขา้ วทางไหล่ขวา เคร่อื งดนตรีที่ใช้ ใชด้ นตรพี น้ื เมืองอีสาน ทำนองเซิ้ง อปุ กรณ์การแสดง กระติบข้าว ๒๑ เซ้งิ สวิง เซิ้งสวิง เปน็ การละเลน่ พ้ืนบ้านของภาคอสี าน ซ่ึงเปน็ การละเลน่ เพ่ือการส่งเสรมิ ทางด้านจิตใจของ ประชาชนในท้องถนิ่ อำเภอยางตลาด จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ เซงิ้ สวิงเปน็ ชดุ ฟอ้ นทม่ี ีความสนกุ สนาน โดย ดัดแปลงทา่ ฟ้อนจากการทช่ี าวบ้านออกไปหาปลา โดยมีสวิงเปน็ หลกั ในการหาปลา นอกจากมีสวิงแล้วจะมี ขอ้ ง ซ่งึ เป็นภาชนะในการใส่ปลาท่จี บั ได้ เซง้ิ สวงิ มีการประยกุ ต์กันมาเรื่อย ๆ และในปี พ.ศ.๒๕๑๕ ทางกรมศิลปากรจึงไดน้ ำท่าฟ้อนของท้องถ่ินมาปรับปรุงให้มีทว่ งทา่ กระฉับกระเฉงขึน้ ท่าฟ้อนจะแสดงให้ เหน็ ถึงการออกไปหาปลา การชอ้ นปลา จับปลา และการร่นื เรงิ ใจ เม่ือหาปลาไดม้ าก ๆ ผูแ้ สดงฝา่ ยหญิง จะเปน็ ผถู้ ือสวงิ ไปช้อนปลา ส่วนฝา่ ยชายจะนำขอ้ งไปคอยใส่ปลาท่ฝี า่ ยหญิงจบั ได้ เครื่องแตง่ กาย ชาย สวมเสื้อม่อฮ่อม นงุ่ กางเกงขาก๊วย มผี า้ ขาวมา้ โพกศรี ษะและคาดเอว มือถือ ตะข้อง หญิง นุง่ ผา้ ซนิ่ พนื้ บ้านอสี าน ผ้ามดั หมมี่ เี ชิงยาวคลุมเข่า สวมเส้อื ตามลักษณะผหู้ ญงิ ชาวภไู ท คือสวม เสื้อแขนกระบอกคอปิด ผ่าอก ประดบั เหรียญโลหะสีเงิน ปจั จุบนั ใช้กระดุมพลาสติกสีขาวแทน ขลบิ ชายเสือ้ คอ ปลายแขน และขลิบผ่าอกตลอดแนวด้วยผ้าสตี ดั กนั เช่น สเี ขยี วขลบิ แดง หรือสวมเสือ้ กระบอกคอปดิ ผา่ อก หม่ สไบเฉียงทับตัวเสื้อ สวมสรอ้ ยคอโลหะทำดว้ ยเงนิ ใสก่ ำไลข้อมือและกำไลขอ้ เทา้ ผมเกล้ามวยสูงไว้ กลางศีรษะ ทัดดอกไม้ มือถือสวิง เครอ่ื งดนตรีท่ีใช้ ใช้ดนตรีพน้ื เมืองอสี านในจังหวะเซ้ิง ๒๒ เซง้ิ โปงลาง เซงิ้ โปงลาง โปงลางเดิมเป็นชือ่ ของโปงแขวนอยู่ที่คอของวัวต่าง โปงทำด้วยไม้ หรอื โลหะ ที่เรียกว่า โปง เพราะสว่ นล่างปากของมนั โตหรอื พองออก ในสมัยโบราณชาวอีสานเวลาเดนิ ทางไปคา้ ขายยงั ตา่ งแดน โดยใชบ้ รรทุกสินค้าบนหลงั วัว ยกเว้นวัวต่าง เพราะเป็นวัวท่ใี ช้นำหนา้ ขบวน ผกู โปงลางไวต้ รงกลางส่วนบน ของต่าง เวลาเดนิ จะเอยี งซ้ายทขี วาทสี ลับกันไป ทำใหเ้ กิดเสียงดงั ซ่งึ เป็นสัญญาณบอกให้ทราบว่าหวั หน้า ขบวนอย่ทู ใ่ี ด และกำลังม่งุ หนา้ ไปทางไหนเพ่ือป้องกันมใิ ห้หลงทาง สว่ นระนาดโปงลางที่ใช้เป็นดนตรปี จั จุบัน นพ้ี บสว่ นมากที่จังหวดั กาฬสินธ์ุ เช่น บ้านนาจาน บ้านหนองสอ อำเภอเมอื ง จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ ซ่งึ เรยี กวา่ “ขอลอ” หรือ “เกาะลอ” แต่คนส่วนมากจึงนยิ มเรียกเคร่ืองดนตรชี นดิ นี้ว่า “โปงลาง” ไม้ที่ทำ โปงลางนยิ มใชอ้ ยู่ ๒ ชนิด คือ ไม้มะหาดและไม้หมากเหลื่อม โปงลางสามารถเลน่ เปน็ ลายตา่ ง ๆ การฟ้อน- โปงลางจงึ เปน็ การฟ้อนประกอบลายโปงลาง เช่น ลายลมพัดพร้าว ลายชา้ งขึ้นภู ลายแมฮ่ ้างกล่อมลูก ลายนก ไซบนิ ข้ามทุง่ ลายแมงภ่ตู อมดอก ลายกาเต้นก้อน เปน็ ตน้ เครอ่ื งแต่งกาย หญิงสวมเสื้อแขนกระบอกสีพ้ืน นงุ่ ผา้ มดั หมี่ ใชผ้ ้าสไบเฉียงไหล่ ผกู โบว์ตรงเอว ผมเกล้ามวยทดั ดอกไม้ ผ้ชู ายใส่เสอ้ื มอ่ ฮ่อม กางเกงขาก๊วย ผ้าคาดศีรษะ คาดเอว เครื่องดนตรีทใ่ี ช้ ใชด้ นตรีพ้นื เมืองอสี านลายโปงลาง หรือลายอ่ืน ๆ ๒๓ เซิง้ ตงั หวาย “ฟ้อนรำตงั หวาย” เป็นหนึ่งในการแสดงพืน้ เมืองของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือของประเทศไทย เดิมตงั หวาย เป็นช่อื เมืองหนึ่งในแคว้นสะหวันนะเขต สาธารณะรฐั ประชาธิปไตยประชาชน เป็นชุดการแสดงเมื่อ นายประดษิ ฐ์ แกว้ ชิณ ได้พบเหน็ การแสดงที่อำเภอเขมราฐ จังหวดั อบุ ลราชธานี เหน็ ว่ามีลีลาการแสดงออ่ น ช้อยงดงามน่าจะฟืน้ ฟูจงึ ไดน้ ำมาทดลองฝึกให้เด็กรำ เหน็ ว่าเหมาะสมดี จึงไดน้ ำชุดฟ้อนนีอ้ อกแสดงในงานปี ใหม่ ที่ทุง่ ศรีเมือง ในปี พ.ศ. ๒๕๑๔ ตอ่ มา อาจารย์ศิริเพ็ญ อัตไพบูลย์ หัวหนา้ ภาควิชานาฏศลิ ป์ วทิ ยาลัยครู อบุ ลราชธานี นำตน้ แบบมาดดั แปลงทา่ รำใหเ้ หมาะสมย่งิ ขนึ้ แล้ววงโปงลางวทิ ยาลัยครอู บุ ลราชธานีไดน้ ำ ออกมาแสดงจนเปน็ ทีน่ ิยมและเปน็ เอกลักษณข์ องวงมาจนบดั นี้ ลกั ษณะการฟ้อนตังหวาย การฟ้อนตังหวายแบง่ ที่มาออกได้ ๒ ลักษณะ ๑. ฟ้อนตังหวายเป็นการฟ้อนเพือ่ บวงสรวง เป็นพิธกี รรมของชาวบา้ นทตี่ ้ังรกรากอยู่บริเวณลุม่ แม่น้ำ โขงมีความเชอื่ และยึดมั่นในการนบั ถอื เทวดาฟา้ ดิน ภตู ผี วิญญาณ ตน้ ไมใ้ หญ่ จอมปลวก งูใหญแ่ ละหนองนำ้ เปน็ ต้น โดยชาวบ้านเหลา่ นีม้ คี วามเชอ่ื ว่าสง่ิ ท่ตี นนบั ถอื นั้นสามารถจะดลบนั ดาลใหเ้ กิดผลสำเร็จ หรอื เม่ือเกดิ อะไรทีผ่ ิดจากธรรมดาข้ึนมาก็เข้าใจว่าสิ่งทต่ี นนับถือโกรธจงึ บันดาลให้เป็นไปอย่างนั้นจงึ จัดให้มีการบวงสรวง บูชา หรอื จัดให้มพี ิธขี อขมาข้ึนมาเพื่อขอให้มีโชคลาภ พธิ ีขอขมาจะมีลา่ มเป็นผู้บอกขอขมา มีการฆ่าสตั ว์ ไก่ หมู ววั ควาย และสิ่งอ่นื ๆ ตามกำหนดเพ่ือ นำมาบชู าเทพเจา้ หรอื เจ้าท่ีเจ้าทางท่ตี นเองนับถอื เท่านั้นยังไม่พอไดม้ ีการตัง้ ถวาย ฟ้อนรำถวายเปน็ การเซ่น สงั เวย พอถงึ ฤดูกาลชาวบา้ นต่างจะนำเอาอาหารมาถวายเจา้ ท่เี จา้ ทาง หรือส่งิ ศกั ด์สิ ทิ ธ์ิโดยถอื วา่ ปีใด “ขนไก่- ไม่ตก ขนนก ไมห่ ล่น” ก็ถอื วา่ ปีน้ันดี เทวดาจะให้ความคุ้มครอง จะต้องมีการจัดฉลองใหญโ่ ดยมีการ “ตัง้ ถวาย ฟ้อนรำถวาย” แต่ตอ่ มาคำว่า “ตัง้ ถวายฟ้อนถวาย” คำน้ีได้สกึ กร่อนไปตามความนิยมเหลอื เพียงคำส้นั ๆ ว่า “ต้งั หวาย” หรอื “ตงั หวาย” ๒. ฟอ้ นตังหวายกับลำตังหวาย ลำตงั หวายเป็นทำนองลำของหมอลำในแคว้นสวันนะเขต คำวา่ “ตัง หวาย” นา่ จะมาจากคำว่า “ตงั่ หวาย” ซ่ึงในสจู บิ ัตรการแสดงศลิ ปวฒั นธรรมของคณะศิลปินและกายกรรม ๒๔ แห่งชาติสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ก็ใช้คำว่า “ขบั ลำต่ังหวาย” คำว่า “ตั่งหวาย” ถ้าพิจารณา ตามความหมายของคำแล้ว คำว่า “ตงั่ ” หมายถงึ ทส่ี ำหรบั น่งั ไม่มีพนกั อาจมีขาหรือไม่ก็ได้ ดงั นั้น “ตั่งหวาย” นา่ จะหมายถึง ทนี่ ั่งที่ทำมาจากหวาย จงึ สันนษิ ฐานว่า การลำตั่งหวายเป็นทำนองลำทนี่ ิยมลำของหมอลำในหมูบ่ า้ นท่ีมีอาชพี ผลิตต่ัง หวาย ออกจำหน่าย แต่เมื่อทำนองลำนเี้ ผยแพร่เข้ามาในประเทศไทยจึงกลายมาเป็น “ลำตงั หวาย” ลำตงั หวายเป็น ทำนองลำที่มีความเร้าใจ สนุกสนานและมีความไพเราะเป็นอยา่ งยิ่ง โดยเฉพาะลักษณะของกลอนลำจะมกี าร ยกย่องท้งั ฝา่ ยชายและหญิง กลอนลำมีลกั ษณะโตต้ อบกัน จะมคี ำสร้อยลงทา้ ย เชน่ คำวา่ หนาคงิ กลม คนงาม เอย ซำบายดี และคำขึน้ ต้นว่า ชายเอย นางเอย การแตง่ กายฟอ้ นตังหวาย การแต่งกายฟ้อนตังหวายใช้นักแสดงผหู้ ญิงลว้ น เครื่องแต่งกายนิยมแต่ง กายอยู่ ๒ แบบ คือ ๑. สวมเสอ้ื แขนกระบอกสีพื้น นงุ่ ผ้าถุงมัดหม่ีคาดเข็มขัดเงินทบั ผมเกลา้ มวย ใช้ฝ้ายสขี าวมดั ผม คล้ายอุบะ ๒. ใชผ้ า้ แพรวารดั อกทง้ิ ชายท้ังสองขา้ ง น่งุ ผ้าถงุ มัดหม่ยี าวครงึ่ แขง้ เกลา้ ผมมวยใช้ผา้ มัดหรอื ใช้ ดอกไมป้ ระดบั รอบมวยผม ๒๕ เซิ้งกระหยัง เซ้ิงกระหยัง ที่ได้ช่อื ว่าเซ้งิ กระหยังเพราะผฟู้ ้อนจะถือ กระหยงั เปน็ ส่วนประกอบในการแสดงของชาว ภไู ทบา้ นหนองห้าง อำเภอกุฉินารายณ์ จงั หวัดกาฬสินธ์ุ เป็นแห่งแรกทเี่ ป็นต้นกำเนิดของการแสดงชดุ นี้ เม่ือ กรมศิลปากรได้มาลงพนื้ ทเี่ พ่ือศึกษาศลิ ปวฒั นธรรมของชาวภูไท และได้นำเอาชุดการแสดงเซง้ิ กระหยงั ไป สร้างสรรคข์ น้ึ ใหมเ่ พื่อใช้แสดงในวงโปงลาง ซึ่งถือว่าเปน็ ชุดการแสดงทีม่ ีชื่อเสยี งอีกชดุ หนึ่งท่ถี อื กำเนิดจาก บา้ นหนองหา้ ง เซง้ิ กระหยังเปน็ ทรี่ ้จู กั กันอย่างแพรห่ ลาย เนื่องจากนายน่มุ อยูใ่ นธรรม รองอธิบดีกรมศิลปากร ขณะ- เป็นนักศกึ ษาของวิทยาลยั ป้องกนั ราชอาณาจักร ร่นุ ท่ี ๑๒ ได้เดินทางไปสงั เกตและดูงานกจิ การต่าง ๆ ใน จงั หวัดภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เมอ่ื เดอื นตุลาคม พ.ศ.๒๕๑๒ และมโี อกาสชมการแสดงเซ้ิงกระหยัง เมื่อพจิ ารณาแล้วเหน็ ว่าเป็นการแสดงทนี่ ่าชมมจี งั หวะรุกเร้าสนุกสนาน จึงให้ศิลปนิ กรมศลิ ปากรไปรบั การถ่ายทอดจากศิลปินในอำเภอกฉุ ินารายณ์ จงั หวัดกาฬสินธุ์ ทา่ ฟ้อนของเซง้ิ กระหยังไดด้ ดั แปลงและนำเอาท่าฟ้อนจากเซิ้งอ่นื ๆ เชน่ เซิ้งกระติบข้าว เซิ้งสาละวัน ฯลฯ เข้าผสมผสานกันแล้วมาจัดกระบวนขึน้ ใหมม่ ีอยู่ ๑๙ ท่า โดยจะแสดงในรูปแบบของการทำมาหากินโดย ใช้กระหยังเป็นอปุ กรณ์หลกั ซ่ึงทา่ ฟ้อนจงึ มชี ือ่ เรยี กต่าง ๆ กัน เช่น ทา่ ไหว้ ทา่ ไท ท่าโปรยดอกไม้ ทา่ ขยับ สะโพก ทา่ จับคู่ถือกะหยัง ทา่ นั่งเก้ยี ว ท่าสับหนอ่ ไม้ ท่ายนื เกี้ยว ทา่ รำส่าย ทา่ เก็บผักหวาน ท่ากระหยงั ตงั้ วง ทา่ ตัดหนา้ ทา่ สาละวนั ท่ากลองยาว ทา่ รำวง ทา่ ชวนกลบั ทา่ แยกวง ทา่ น่ัง เคร่ืองแตง่ กาย ฝา่ ยหญงิ สวมเส้อื ภูไทแขนกระบอก ห่มสไบขดิ แดง(หากเป็นแบบฉบับกรมศลิ ปากรจะ ใชผ้ ้าขาว) นงุ่ ผา้ ซิน่ มดั หม่ี ผมเกลา้ มวยทัดดอกไม้ สวมเครือ่ งประดบั เงนิ ฝ่ายชายสวมเสื้อม่อฮ่อมกางเกง ขากว๊ ย ใช้ผา้ ขาวม้าคาดเอว และโพกศรี ษะ ๒๖ เครือ่ งดนตรี การแสดงแบบด้ังเดิมของบ้านหนองห้างจะใช้พณิ แคน กลอง ฉาบและฉงิ่ ในการบรรเลง ลายไปเรื่อย ๆ โดยไม่ได้กำหนดลายเพลง เพียงแค่วา่ ลายเพลงไหนเขา้ กบั จังหวะกลองก็จะบรรเลงไปเร่ือย ๆ ไม่ตายตัว แตห่ ากเป็นแบบฉบับของกรมศิลปากรแล้วจะใชว้ งดนตรพี น้ื เมืองอีสานบรรเลงลายเซง้ิ บง้ั ไฟ อุปกรณก์ ารแสดง กระหยัง กระหยงั ท่ีใชป้ ระกอบการแสดงเซิง้ กระหยัง ของบ้านหนองห้าย เซ้งิ กะโป๋ เซงิ้ กะโป๋ เปน็ การละเลน่ ทเ่ี นน้ ความสนกุ สนานเปน็ หลักโดยใชก้ ะโป๋ หรือ กะลามะพร้าว เป็นอปุ กรณ์ ทีส่ ำคัญในการเลน่ เปน็ ที่น่าสงั เกตวา่ ประเทศต่าง ๆ ในแถบเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ เชน่ ฟลิ ิปปนิ ส์ อนิ โดนเี ซีย โดยเฉพาะมาเลเซีย มีการละเล่นซ่ึงใชก้ ะลาประกอบอยู่ ซ่งึ เมื่อเสร็จจากการเกบ็ เกยี่ วชาวมาเลยก์ ็ จะมีการรืน่ เริงและฉลองกนั บา้ งกช็ ่วยกันขดู มะพร้าวและตำนำ้ พริก จงึ ได้นำเอากะลามะพรา้ วมาเคาะ ประกอบจงั หวะกันเป็นท่ีสนุกสนาน ระบำกะลาของมาเลเซียมีชื่อเปน็ ภาษามาเลย์ว่า \"เดมปรุ ง\" หรือแม้แต่ประเทศกัมพชู าก็มกี ารละเลน่ ที่ ใช้กะลาเป็นอุปกรณ์เช่นเดยี วกนั เซ้ิงกะโป๋คงไดแ้ บบอยา่ งมาจากระบำกะลาที่นยิ มเลน่ กันในกัมพูชาและแถบ- ๒๗ อสี านใต้ ระบำกะลามจี ังหวะเนิบนาบ จงึ มีการปรับปรงุ ใหมโ่ ดยใชเ้ พลงพ้ืนเมืองอสี าน และยังนำเอาเพลง พื้นเมืองของอสี านใตม้ าใชป้ ระกอบอยู่คือเพลง เจรียงซันตรูจ เครอ่ื งแต่งกาย เซง้ิ กะโปจ๋ ะแบ่งผู้แสดงออกเปน็ ๒ ฝา่ ย คอื หญิงและชาย ฝ่ายหญิงนงุ่ ซ่นิ พน้ื เมือง อีสาน สวมเสื้อแขนกระบอก เกลา้ ผมมวยใชแ้ พรมนรดั มวย ฝ่ายชายนุ่งกางเกงขากว๊ ย สวมเสื้อคอกลม มี ผา้ ขาวมา้ ผกู เอว เครือ่ งดนตรี ใชด้ นตรพี ื้นเมืองอสี าน แตเ่ ลน่ ลายพนื้ เมืองของอีสานใตค้ ือ เจรียงซันตรูจ เซิ้งกะโป๋ หรือ เซง้ิ กะลา นี้มีผู้ประดษิ ฐ์จัดทำเป็นชุดฟ้อนท่ีแตกตา่ งกันออกไป เชน่ ๑. วิทยาลยั นาฏศลิ ป์กาฬสินธุ์ จะใชล้ ีลาการกระทบกะลาทไี่ ม่คล้ายกับระบำกะลาของอีสานใตม้ ากนัก และ นำการละเลน่ ของพน้ื เมืองของเด็กอีสานมาประกอบ เชน่ การเดินกะโป๋ หรอื หมากกุ๊บก๊ับ ฯลฯ ๒. วิทยาลัยนาฏศิลปร์ อ้ ยเอด็ จะใชล้ ลี าการกระทบกะลา ซ่ึงพอจะเห็นเคา้ วา่ ได้แบบอย่างมาจากระบำกะลา ของอสี านใต้ แต่งกายเช่นเดยี วกบั ระบำกะลา คือฝา่ ยหญงิ น่งุ โจงกระเบน สวมเสื้อแขนกระบอก คล้องสไบผกู ชายท่เี อว ฝ่ายชายนุ่งโจงกระเบนสวมเสอ้ื คอกลมแขนสนั้ มีผ้าขาวมา้ พบั ทบดา้ นหนา้ ท้ิงชายด้านหลัง ภาคเหนอื จากสภาพภมู ิประเทศที่อุดมไปดว้ ยป่า มที รพั ยากรมากมาย มีอากาศหนาวเยน็ ประชากรมอี ุปนสิ ัย เยอื กเย็น นุ่มนวล งดงาม รวมทั้งกริ ิยา การพดู จา มสี ำเนียงนา่ ฟงั จึงมีอิทธพิ ลทำใหเ้ พลงดนตรีและการแสดง ๒๘ มีทว่ งทำนองชา้ เนบิ นาบ น่มุ นวล ตามไปด้วย การแสดงของภาคเหนอื เรียกวา่ ฟ้อน เชน่ ฟอ้ นเลบ็ ฟ้อนเทยี น ฟ้อนเงี้ยว ฟ้อนสาวไหม เป็นต้น ภาคเหนือน้ีมกี ารแสดงหรือการร่ายรำทีม่ จี ังหวะช้า ท่ารำทอี่ ่อนชอ้ ย นุ่มนวล เพราะมีอากาศเย็นสบาย ทำให้จิตใจของผู้คนมีความน่มุ นวล ออ่ นโยน ภาษาพดู ก็นุ่มนวลไปด้วย เพลงมีความ ไพเราะ อ่อนหวาน ผคู้ นไม่ต้องรบี ร้อนในการทำมาหากนิ สิ่งตา่ ง ๆ เหล่านนั้ มอี ิทธพิ ลต่อการแสดงนาฏศลิ ป์ ของภาคเหนือ นาฏศิลปข์ องภาคเหนอื เชน่ ฟ้อนเทยี น ฟ้อนเล็บ ฟอ้ นมาลยั ฟ้อนสาวไหม ฟ้อนดาบ ฟ้อนเชิง(ฟอ้ นเจิง) ตกี ลองสะบัดไชย ซอ ค่าว นอกจากน้ี นาฏศลิ ป์ของภาคเหนือยังได้รบั อิทธิพลจากประเทศใกล้เคียง ไดแ้ ก่ พมา่ ลาว จีน และวฒั นธรรมของชนกล่มุ น้อย เช่น ไทยใหญ่ เง้ยี ว ชาวไทยภูเขา ยอง เปน็ ตน้ ดงั นนั้ นาฏศิลปพ์ ้นื เมืองของภาคเหนอื นอกจากมีของท่เี ป็น \"คนเมือง\" แท้ ๆ แลว้ ยังมนี าฏศลิ ป์ทีผ่ สม กลมกลนื กับชนชาตติ ่าง ๆ และของชนเผา่ ตา่ ง ๆ อีกหลายอยา่ ง เช่น อิทธิพลจากพม่า เช่น ฟอ้ นม่านมงคล ฟอ้ นม่านมยุ้ เชยี งตา นาฏศิลปข์ องชนเผ่าต่าง ๆ เช่น ฟ้อนนก (กิงกาหล่า - ไทยใหญ)่ ฟอ้ นเงยี้ ว (เงย้ี ว) ระบำ เกบ็ ใบชา (ชาวไทยภเู ขา) ฟอ้ นสาวไหม ฟ้อนสาวไหม เป็นศิลปะการฟอ้ นรำประเภทหนง่ึ ของชาวล้านนาทีม่ ีพัฒนาการทางรูปแบบมาจากการ เลียนแบบอากัปกิริยาการสาวไหม ผฟู้ ้อนสว่ นใหญ่มักเปน็ หญิงสาว ลลี าในการฟ้อนดูอ่อนชอ้ ยและงดงามยง่ิ ฟอ้ นสาวไหมเปน็ ฟ้อนทางภาคเหนอื ทางวทิ ยาลัยนาฏศลิ ป์เชียงใหม่ไดป้ รับปรุงสบื ทอด มาจาก ครู พลอยศรี สรรพศรี ทงั้ นี้ ครูพลอยศรีได้ถ่ายแบบรับท่ามาจากหญงิ ชาวบ้านทจ่ี งั หวัดเชียงราย ชอ่ื บัวเรียว รตั นมณีกรณ์ ซ่ึงคุณบัวเรยี วกไ็ ดเ้ รยี นการฟ้อนน้มี าจากบิดาของตนอกี ทหี น่ึง ผูแ้ สดง ใช้ผหู้ ญิงแสดงจำนวนเทา่ ไรก็ได้ ปัจจุบันก็มีผูช้ ายเข้ามาแสดงดว้ ยกม็ ี ๒๙ การแต่งกาย แต่งกายแบบพื้นเมอื ง คือนงุ่ ผ้าถงุ ใสเ่ สื้อแขนกระบอกห่มสไบทบั เกลา้ ผมมวยประดบั ดอกไม้ การแสดง เริ่มจากการแสดงทา่ หักรา้ งถางพง เพาะปลกู ฝ้าย และหม่อน ซง่ึ เปน็ การแสดง ของชา่ ง ฟ้อนชาย เพ่งิ เพิม่ เข้ามาภายหลัง ต่อจากนนั้ กเ็ ป็นทว่ งท่าในการฟอ้ นสาวไหมเรมิ่ จากทา่ เลือกไหม ดงึ ไหม ออกจากรัง มว้ นไหม สาวไหมออกจากตัว ไหล่ ศรี ษะ เทา้ ม้วนไหมใต้ศอก พุ่งกระสวย กรอไหม พาดไหม ป๊อก ไหม จนกระทัง่ ช่ืนชมกบั ผ้าท่ีทอสำเร็จแลว้ ดนตรี ดนตรที ่ใี ช้ประกอบการฟ้อน จะใชว้ งดนตรพี ้ืนเมอื งซง่ึ มีสะล้อ ซอ ซงึ เพลงร้องมักไม่นยิ มมี จะ มีแต่เพลงที่ใชบ้ รรเลงประกอบ แต่เดิมที่บิดาของคุณบัวเรียวใช้นนั้ เปน็ เพลงปราสาทไหว สว่ นคณุ บวั เรียวจะ- ใชเ้ พลงลาวสมเด็จ เม่ือมีการถ่ายทอดมาครูนาฎศิลป์ไดเ้ ลือกสรรใช้เพลง \"ซอปั่นฝ้าย\" ซง่ึ มที ว่ งทำนองเป็น เพลงซอทำนองหนึ่งทีน่ ิยมกนั ในจังหวดั น่าน และมีลลี าที่สอดคล้องกับการฟ้อนสาวไหมอยา่ งงดงามยง่ิ โอกาส ทแ่ี สดง แสดงได้ทุกโอกาส และในงานเทศกาลหรืองานนักขตั ฤกษ์ต่าง ๆ ฟ้อนเงีย้ ว ฟอ้ นเงี้ยว เปน็ การฟ้อนท่ีได้รับอทิ ธิพลมาจากการฟ้อนของเงย้ี วหรอื ไทยใหญ่ ประกอบด้วย ชา่ งฟ้อน หญิงชายหลายคู่ แต่งกายด้วยชุดพ้ืนเมืองไทยใหญ่ การฟ้อนเง้ยี วเหมาะสำหรบั ผู้ชาย แต่ต่อมาเพื่อใหเ้ กดิ ความสวยงาม จงึ มกี ารใชผ้ ูห้ ญงิ ลว้ น หรอื ใชท้ งั้ ชายและหญิงแสดงเป็นคู่ ๆ มลี ีลาการฟอ้ นท่ีแปลกแตกตา่ ง ไปจากฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทยี น ๓๐ การแต่งกาย จะเลียนแบบการแต่งกายของชาวไทยใหญ่ โดยมีการดดั แปลงเครื่องแต่งกายออกไปบ้าง โดยใส่เสือ้ คอกลมแขนกระบอก นุ่งโสร่งสน้ั เพยี งเขา่ หรือกางเกงขากว้าง ๆ หรือบ้างก็น่งุ โสรง่ เปน็ แบบโจง กระเบนกม็ ี ใช้ผ้าโพกศีรษะ มีผ้าคาดเอว ใส่เคร่ืองประดับ เช่น กำไลมือ กำไลเทา้ สรอ้ ยคอ และใสต่ มุ้ หู โอกาสที่ใช้แสดง แสดงในงานร่ืนเริงทว่ั ไป ฟอ้ นเทียน ฟ้อนเทียน เป็นการฟ้อนที่มีลักษณะศลิ ปะท่ีอ่อนช้อยงดงาม ลักษณะการแสดงไม่ต่างจากการแสดง ฟ้อนเลบ็ ถ้าเป็นการแสดงฟอ้ นเทียน นิยมแสดงในเวลากลางคนื เพ่ือเน้นความสวยงามของแสงเทยี น ระยบิ ระยับสวา่ งไสว จดุ เด่นของการแสดงชนดิ นี้ จงึ อย่ทู ี่แสงเทียนท่ผี ูแ้ สดงถอื ในมือข้างละ ๑ เล่ม เขา้ ใจว่า การฟ้อนเทียนน้แี ต่เดิมคงจะใชเ้ ป็นการแสดงบูชาส่ิงศักดิ์สทิ ธิ์ เพอ่ื เปน็ การสักการะเทพเจา้ ทีเ่ คารพนบั ถือ ในงานพระราชพธิ หี ลวง ตามแบบฉบบั ลา้ นนาของทางภาคเหนอื ของไทย ผู้ฟ้อนมกั ใช้เจ้านายเชอ้ื พระวงศ์ ฝา่ ยในท้งั สิน้ ในสมัยปัจจุบันการแสดงชุดนจ้ี งึ ไมค่ ่อยได้เห็นบ่อยนกั จะสงั เกตเหน็ วา่ ความสวยงามของการ- ฟอ้ นอยู่ท่ีการบิดข้อมือท่ีถือเทียนอยู่ แสงวบั ๆ แวม ๆ จากแสงเทยี นจงึ เคลอื่ นไหวไปกับความอ่อนช้อยลีลา และลกั ษณะของเพลงท่ีใช้บรรเลงประกอบนับเป็นศลิ ปะที่นา่ ดอู ย่างยิง่ แบบหนงึ่ การแตง่ กาย ใชผ้ ู้แสดงเปน็ ผู้หญิงลว้ น นิยมแสดงหมคู่ ราวละหลายคน โดยจำนวนคนเปน็ เลขคู่ เช่น ๘ หรอื ๑๐ คน แลว้ แต่ความยิ่งใหญ่ของงานนน้ั และความจำกดั ของสถานที่ โดยผู้แสดงแต่งกายแบบฟ้อน เล็บ คอื การสวมเสือ้ แขนกระบอก น่งุ ซน่ิ มเี ชงิ กรอมเท้า ม่นุ ผมมวย มีอุบะหอ้ ยขา้ งศรี ษะ ในมือเปน็ สญั ลักษณ์ คอื ถือเทยี น ๑ เล่ม การแตง่ กายของฟอ้ นเทยี นน้ี ปัจจุบันแตง่ ได้อกี หลายแบบ คืออาจสวมเส้ือในรัดอก ใสเ่ ส้ือลูกไม้ทบั แต่อยา่ งอน่ื คงเดมิ และอีกแบบคอื สวมเสื้อรดั อก แต่มผี ้าสไบเป็นผา้ ทอลายพาดไหล่อยา่ ง สวยงาม แต่ยังคงนงุ่ ซิ่นกรอมเท้าและมุ่นผมมวย มีอบุ ะห้อยศรี ษะ ๓๑ โอกาสท่แี สดง ในงานพระราชพิธี หรอื วันสำคญั ทางศาสนา ต้อนรบั แขกบ้านแขกเมืองชาวตา่ งชาติ และในงานประเพณสี ำคัญตามแบบฉบบั ของชาวลา้ นนา ฟอ้ นเล็บ ฟอ้ นเลบ็ เป็นการฟ้อนชนิดหนงึ่ ของชาวไทยในภาคเหนือ ผ้ฟู ้อนจะสวมเลบ็ ยาว ลีลาท่ารำของฟ้อน เล็บคลา้ ยกับฟ้อนเทยี น ตา่ งกนั ท่ีฟ้อนเทียนมือทงั้ สองถือเทยี น ตามแบบฉบับของการฟ้อนนางลมลุ ยมะ คุปต์ ผเู้ ช่ยี วชาญการสอนนาฏศิลปไ์ ทย ไดน้ ำลีลาท่าฟ้อนอนั เป็นแบบแผนมาจากคมุ้ เจา้ หลวงมาฝึกสอน จดั เป็นชดุ การแสดงท่ีนา่ ชมอีกชุดหนึง่ ทา่ รำ มีการแบ่งท่ารำออกเปน็ ๔ ชดุ การแต่งกาย นยิ มใช้ผู้แสดงเปน็ ผหู้ ญิงล้วน ๆ นุง่ ซิ่นมเี ชงิ ท่ชี ายผา้ สวมเส้อื แขนกระบอก มีสไบ เจยี รบาดพาดไหล่หม่ ทับเสื้อ ผ้แู สดงแตง่ หนา้ สดสวย ยงั มีการเกลา้ ผมมุน่ มวยแลว้ ใช้ดอกไม้ห้อยเปน็ อบุ ะ ระยา้ ขา้ งศรี ษะ ๓๒ กลองสะบัดชัย กลองสะบัดชัย เป็นศลิ ปะการแสดงพน้ื บา้ นล้านนาอย่างหน่งึ ซงึ่ ปัจจุบนั มักจะพบเห็นในขบวนแห่ หรืองานแสดงศลิ ปะพื้นบา้ นโดยท่ัวไป ลลี าในการตีมีลกั ษณะโลดโผน เรา้ ใจ มีการใช้อวยั วะหรือส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย เช่น ศอก เขา่ ศีรษะ ประกอบในการตีดว้ ย ทาให้การแสดงการตกี ลองสะบัดชยั เปน็ ทป่ี ระทบั ใจ ของผู้คนทไี่ ด้ชม จนเปน็ ทน่ี ยิ มกันอย่างกวา้ งขวางในปัจจุบัน บทบาทของกลองสะบดั ชัย อาจกล่าวได้ว่า การตีกลองสะบดั ชัย เป็นศลิ ปะอยา่ งหน่งึ ท่ีไดน้ าชอ่ื เสียง ทางด้านวฒั นธรรมพ้ืนบา้ นสลู่ ้านนา และบทบาทของกลองสะบัดชัยจึงอยใู่ นฐานะการแสดงในงานวัฒนธรรม ตา่ ง ๆ เชน่ งานขันโตก งานพิธีต้อนรับแขกเมือง และขบวนแห่ ฯลฯ แตใ่ นโอกาสในการใช้กลองสะบดั ชัยแตเ่ ดิมจนถึงปัจจบุ นั ยังมีอกี หลายประการ ซึ่งมีหลกั ฐานปรากฏ ในวรรณคดตี ่าง ๆ มากมาย สรปุ ไดด้ ังนี้ ๑. ใช้ตบี อกสัญญาณ ๒. เปน็ มหรสพ ๓.เป็นเครอื งประโคมฉลองชัยชนะ ๔. เป็นเครอื งประโคมเพือความสนุกสนาน ประเภทของกลองสะบดั ชัย กลา่ วโดยสรุปกลองสะบดั ชัยในปจั จบุ ันน้มี ี ๓ ประเภทคือ ๓๓ ๑. กลองสองหน้าขนาดใหญ่ มลี ูกตุบที่มักเรียกว่า “กลองปชู า” แขวนอยู่ในหอกลองของวัดตา่ ง ๆ ลักษณะการตีมีจังหวะหรือทานองท่ีเรียกวา่ “ระบา่ ” ท้งั ชา้ และเร็ว บางระบามีฉาบและฆอ้ ง บางระบามีคนตี ไมแ้ สะประกอบอยา่ งเดยี ว ๒. กลองสองหนา้ มลี ูกตุบและคานหามซ่ึงเปน็ กลองที่จาลองแบบมาจากประเภทแรก เวลาตผี ู้ตจี ะถือ ไมแ้ สะข้างหนึง่ มืออีกข้างหนึ่งถอื ไมต้ ีกลอง การตีลักษณะนอี้ าจมีฉาบและฆ้องประกอบหรือไม่มีก็ได้ ปจั จบุ นั กลองสะบัดชยั ประเภทน้ีเกือบสูญหายไปแล้ว ผูท้ ตี่ ไี ด้และยงั มีชวี ิตอยู่ (๒๕๔๘) เท่าท่ที ราบคือ ครูมานพ (พัน) ยารณะ ซ่งึ เป็นศรทั ธาวดั สันป่าข่อย อาเภอเมือง จงั หวดั เชียงใหม่ ๓. กลองสองหน้า มีคานหาม ไมม่ ีลูกตบุ มฉี าบ ฆ้อง ประกอบจงั หวะ และมักมีนาคไม้แกะสลักประดบั ซงึ่ เป็นท่นี ิยมแพรห่ ลายปจั จบุ ัน กลองสะบดั ชัยทงั้ ๓ ประเภท ปจั จุบันมกี ารส่งเสริมให้มีการฟนื้ ฟูให้หวนกลบั มาสู่ความนิยมอกี โดย ประเภทแรกนอกจากจะมกี ารสอนให้ตแี ละมีบทบาทในวดั กไ็ ด้มีการนาเข้าสขู่ บวนซง่ึ อาจมีการเคล่อื นย้าย โดยยกขนึ้ ค้างแล้วติดล้อเลือ่ น ประเภทที่สองมีการเผยแพรแ่ ละกาลังเปน็ ท่นี ยิ ม สาหรับประเภทสดุ ท้ายก็ ปรากฏแพร่หลายจนเกือบจะกลายเปน็ สัญลักษณข์ องกลองลา้ นนา ภาคใต้ โดยทว่ั ไปภาคใต้มีอาณาเขตติดกบั ทะเลฝั่งตะวันตกและตะวันออก ทางด้านใต้ตดิ กับมลายู ทำให้รับ วฒั นธรรมของมลายูมาบา้ ง ประชากรจงึ มีชีวติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละบุคลกิ บางอยา่ งที่ คลา้ ยคลึงกนั คือ พดู เร็ว อุปนิสยั ว่องไว ตัดสนิ ใจ รวดเรว็ เดด็ ขาด มีอปุ นิสยั รกั พวกพ้อง รักถนิ่ ที่อย่อู าศัย และ ๓๔ ศิลปวฒั นธรรมของตนเอง จึงมีความพยายามทีจ่ ะช่วยกันอนุรกั ษ์ไวจ้ นสืบมาจนถงึ ทุกวนั นี้ การแสดงของ ภาคใตม้ ีลีลาท่ารำคล้ายกบั การเคลอื่ นไหวของรา่ งกายมากกวา่ การฟ้อนรำ ซงึ่ จะออกมาในลักษณะกระตุ้น อารมณ์ให้มีชวี ิตชวี าและสนุกสนาน เช่น โนรา หนงั ตะลุง รองเง็ง ตารีกปี ัส เป็นตน้ มโนราห์ โนรา เป็นนาฏศลิ ปท์ ไ่ี ดร้ บั ความนิยมมากท่ีสุด ในบรรดาศลิ ปะการแสดงของภาคใต้ มีความยงั่ ยืนมา นบั เปน็ เวลาหลายร้อยปี การแสดงโนราเน้นทา่ รำเป็นสำคัญ ต่อมาไดน้ ำเรือ่ งราวจากวรรณคดหี รอื นิทาน ทอ้ งถ่นิ มาใชใ้ นการแสดงเร่ือง พระสุธนมโนหร์ า เป็นเรอ่ื งที่มอี ิทธิพลตอ่ การแสดงมากทส่ี ุดจนเปน็ เหตุใหเ้ รียก การแสดงนีว้ า่ มโนห์รา โดยตัดตอนแตล่ ะตอนต้งั แต่ต้นจนจบมาแสดง เชน่ ตอนกนิ รีทงั้ เจ็ดเลน่ น้ำในสระ ตอนพรานบุญจบั นางมโนหร์ า ตอนพรานบุญจับนางมโนห์ราไปถวายพระสธุ น ฯ ปกติการแสดงโนราจะเร่ิม จากนายโรงหรอื โนราใหญ่ซ่งึ เปน็ ตัวเอกหรอื หวั หนา้ คณะอออกมารำ \"จบั บทสิบสอง\" คือ การรำเรอ่ื งย่อต่าง ๆ สิบสองเรื่อง เช่น พระสธุ น-มโนหร์ าพระรถ-เมรี ลักษณวงศ์ เปน็ ตน้ แตห่ ากผวู้ า่ จ้างไปแสดงขอใหจ้ ับตอนใด ใหจ้ บเป็นเรื่องยาว ๆ กจ็ ะแสดงตามนนั้ วิธีการแสดง การแสดงโนรา เรม่ิ ต้นจากการลงโรง (โหมโรง)กาดโรงหรอื กาดครู (เชิญครู) “พธิ ี กาดครู” ในโนราถือว่าครูเป็นเรอ่ื งสำคญั มาก ฉะนนั้ ก่อนที่จะรำจะต้องไหวค้ รู เชิญครมู าคุม้ กนั รักษา หลาย ตอนมีการรำพัน สรรเสริญครู สรรเสริญคุณมารดา เป็นตน้ การแต่งกาย การแตง่ กายของโนรา ยกเว้นตวั พรานกับตัวตลก จะแต่งเหมือนกนั หมด ตาม ขนบธรรมเนยี ม เดมิ การแต่งกายกถ็ ือเปน็ พธิ ีทางไสยศาสตร์ ในพิธีผูกผา้ ใหญ่ (คือพิธีไหว้คร)ู จะต้องนำเทรดิ และเคร่ืองแตง่ กายชิน้ อ่นื ๆ ต้ังบูชาไว้บนหิง้ หรอื “พาไล” และเม่ือจะสวมใสเ่ คร่ืองแตง่ กายแตล่ ะช้นิ จะมี คาถากำกับ โดยเฉพาะการสวม “เทริด” ซ่ึงมักจะตอ้ งใช้ผ้ายันต์สีขาวโพกศีรษะเสยี ก่อนจงึ จะสวมเทริดทับ ๓๕ เทริด คือ เครื่องสวมหวั โนรา เดมิ นน้ั เทริดเปน็ เครื่องทรงกษัตรยิ ์ทางอาณาจักรแถบใต้ อาจเป็นสมัยศรวี ชิ ัย- หรือศรธี รรมราช เมื่อโนราได้เครื่องประทานจากพระยาสายฟา้ ฟาดแลว้ ก็เป็นเครอื่ งแตง่ กายของโนราไป สมยั หลังเม่ือจะทำเทรดิ จงึ มีพิธีทางไสยศาสตร์เข้าไปดว้ ย วงดนตรีประกอบ เครอ่ื งดนตรโี นรามี ๒ ประเภทคือ ๑. ประเภทเครือ่ งตี ได้แก่ กลองทับ โหม่ง (ฆอ้ งค)ู่ ฉงิ่ แกระ หรือ แตระ (ไม้ไผ่ ๒ อนั ใชต้ ใี หจ้ งั หวะ) ๒. ประเภทเครื่องเปา่ ไดแ้ ก่ ป่ี โอกาสท่ีแสดง การแสดงโนรามแี สดงทั่วไปในภาคใต้ แต่เดมิ ไดร้ ับความนิยมมาก จงึ แสดงเพื่อความ บนั เทงิ ไม่นิยมแสดงในงานศพและในงานมงคลสมรส ถา้ เป็นงานใหญก่ ็มกั จะให้แข่งขัน หรอื ประชันกนั ซ่ึงทำ มากเมื่อ ๔๐ ปีก่อน แต่เดิมการเดนิ ทางไปแสดงท่ีตา่ ง ๆ จะตอ้ งเดนิ ทางเท้า จึงเรียกวา่ \"โนราเดินโรง\" ก่อน จะออกเดนิ ทางนายโรงจะช่วยกนั ขนเคร่ืองทจ่ี ะใชแสดงมาวางไว้กลางบ้าน และหมอไสยศาสตรจ์ ะทำพธิ ี พร้อมกบั บรรเลงดนตรี เพื่อขอความเป็นสิริมงคล ระหวา่ งเดนิ ทางผา่ นสถานทหี่ รอื สง่ิ ศักดสิ์ ิทธ์ิกจ็ ะบรรเลง- ดนตรีเปน็ การแสดงคารวะและอาจมีการำถวายมือดว้ ย เมื่อถึงสถานท่ที ่จี ะแสดงจะนำเอาอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ กอง ไว้กลางโรง เม่อื จะถึงเวลาแสดง หมอไสยศาสตรม์ าปกปักรักษา อย่าให้มอี นั ตรายใด ๆ จากนั้นลกู คู่ก็จะลงโรง (โหมโรง) สักพักหนง่ึ เมื่อคนดูหนาตาแลว้ นายโรงกจ็ ะขบั บทบูชาครู และผ้แู สดงออกรำ โดยเริ่มจากผู้แสดงที่ ยังไมค่ ่อยเก่งไปจนถงึ คนเก่ง ๆ และสุดทา้ ยก่อนนายโรงจะออก ตวั นายพรานหรือตวั ทาสหี รอื ตัวตลก จะ ออกมาร้องตลก ๆ จากนัน้ นายโรงหรือโนราใหญจ่ ะออกรำ ซึ่งทกุ คนจะคอยดโู นราใหญ่ เพราะถือว่าเป็นผ้ทู ่ี รำสวยท่สี ดุ เม่ือนายโรงรำจบ ก็อาจจะเลกิ การแสดงหรืออาจแสดงต่อดว้ ยเรื่องสุธน มโนห์รา พระรถเมรี ฯลฯ หรือทเี่ รยี กวา่ \"จับบทสบิ สอง\" จนดกึ เม่ือโนราใหญ่หรอื นายโรงถอดเทริดออก กเ็ ปน็ อันจบการแสดง ความ ยาวของการแสดงชดุ น้ี ใช้เวลาแสดงประมาณ ๒-๓ ชวั่ โมง รองเง็ง ๓๖ รองเงง็ เปน็ การแสดงท่นี ยิ มอยูใ่ นแถบสีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้ เขา้ ใจว่าจะเปน็ การแสดงทไี่ ดร้ ับ อทิ ธพิ ลมาจากชาวตะวันตก ในยุคของการเร่มิ ตดิ ตอ่ การค้าขายกบั ชาวสเปนหรอื ชาวโปรตุเกสทีม่ าติดต่อ ค้าขายกับชาวมาลายู แต่ด้ังเดมิ การแสดงรองเง็งจัดแสดงเฉพาะในบ้านของขนุ นางหรือเจา้ ผู้ครองเมืองเทา่ นั้น โดยฝกึ หัดขา้ ทาสบรวิ ารเอาไว้อวดหรอื เอาไว้ต้อนรับแขกเมือง ต่อมาค่อย ๆ แพรห่ ลายออกไปสู่ชาวบา้ นโดย ผ่านทางการแสดงมะโยง่ ของชาวบ้าน เมอื่ หยดุ พักกน็ ำการเตน้ รองเง็งออกมาแสดงค่ันเวลา ผู้แสดงมะโย่งก็ อาจมาร่วมเตน้ ดว้ ย ทำให้การแสดงรองเง็งแพร่หลายขึ้น จำนวนผู้แสดงแต่ละคนไมจ่ ำกัดผู้เต้น แต่นกั ดนตรี จะมี ๔-๕ คนผู้แสดงอาจจะมากกวา่ ๔ คกู่ ็ได้ เคร่อื งดนตรี ประกอบด้วยรำมะนา ๑-๒ ลูก ฆ้อง ๑ ลูก ไวโอลนิ ๑ ตวั โอกาสทใี่ ชแ้ สดง ไมจ่ ำกดั ใช้เฉพาะงานมงคลเทา่ นั้น สถานทอี่ าจจะเปน็ ลานกวา้ ง บริเวณบ้าน หรือ บนเวที ตามแต่ความเหมาะสมการแต่งกาย เหมือนกับการแสดงซมั เปง แตอ่ าจจะประณีตบรรจงและใช้ผ้าทด่ี ู จะมีราคาและสวยงามมากกวา่ การแตง่ กายของซัมเปง ท่าเตน้ รองเงง็ แต่เดมิ มลี ลี าค่อนข้างปานกลาง ตอ่ มานำเอาจังหวะเต้นรำเข้าไปปะปน เช่น รมุ บ้า แซม บ้า กัวลาซ่า เป็นตน้ และใช้เครือ่ งดนตรสี ากลเข้าไปผสมด้วยเพือ่ เพิ่มความสนุกสนาน การเตน้ หรือแสดงรองเงง็ จะไม่มีพิธหี รอื ขนบธรรมเนยี มอื่น ๆ แต่จะเริม่ เม่ือดนตรบี รรเลงฝา่ ยชายจะ เข้าไปโคง้ ฝา่ ยหญิง เพ่ือเช้ือเชิญใหอ้ อกเตน้ ไม่มีการจบั มือกัน เมอ่ื จบเพลงหน่ึง ๆ ก็จะโค้งให้กนั ฝ่ายชายและ ฝ่ายหญงิ จะยนื คนละฝั่งของเวที หนั หนา้ เข้าหากัน ทงั้ ๒ ฝา่ ยจะรกั ษาแถวให้ขนึ้ ลงอย่างมีจังหวะและลลี าที่ นุ่มนวลเหมือนเตน้ ลอยอยบู่ นอากาศอย่างแผว่ เบา การแสดงชุดนี้ใชเ้ วลาประมาณ ๒๐-๓๐ นาที ระบำตารีกีปัส ๓๗ รำตารีกีปัส เป็นระบำทีต่ ้องอาศัยพดั เป็นองคป์ ระกอบสำคัญ คำว่าตารี แปลว่า รำ คำวา่ กีปัส แปลว่า พัด เป็นการแสดงท่ีแพร่หลายในหมชู่ าวไทยมุสลมิ โดยเฉพาะในจังหวดั ปตั ตานี และได้ทำชอ่ื เสยี งให้กบั จังหวดั ปัตตานี เม่อื คดั เลอื กการแสดงชดุ นี้ใชแ้ สดงในงานเปดิ กฬี าเขต ครงั้ ท่ี ๑๔ ซ่ึงจงั หวดั ปตั ตานีเป็น เจ้าภาพ ลีลาของการแสดง อาจจะมีพลกิ แพลงแตกต่างกันไป สำหรับการแสดงชดุ น้ี ได้ปรับปรงุ ท่ารำ เพือ่ ให้ เหมาะสมกับการแสดงท่ีเป็นหญงิ ลว้ น เคร่อื งดนตรปี ระกอบการแสดง ไดแ้ ก่ ไวโอลิน แมนตาลนิ ขล่ยุ รำมะนา ฆ้อง มาลากัส โอกาสในการแสดง งานสนุกสนาน ทว่ั ไป บทเพลงทใ่ี ช้ประกอบการแสดง เพลงตารีกีปสั เปน็ เพลงทีไ่ ม่มีเนอ้ื ร้อง บรรเลงดนตรีลว้ น ๆ มีทว่ ง ทำนองไพเราะออ่ นหวาน สนุกสนานเร้าใจ ความไพเราะของเพลงตารีกปี สั อยู่ท่กี ารโซโล่ เสยี งดนตรที ลี ะชนิ้ ลิเกฮลู ู ลเิ กฮลู ู หรือ ดีเกฮูลู เป็นการละเลน่ ขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรี และจงั หวะตบมอื มีรากฐานเดมิ มา จากคำว่า ลิเก คือการอา่ นทำนองเสนาะ และคำว่า ฮลู ู ซ่งึ หมายถงึ ทิศใต้ ซงึ่ เมอ่ื รวมความแล้ว คือ การขับ กลอนเปน็ ทำนองเสนาะจากทิศใตบ้ ทกลอนที่ใชข้ บั เรียกว่าปันตนหรือปาตงในภาษามลายูถิน่ ปตั ตานีบางท่าน ได้กลา่ วไว้วา่ ลเิ กฮลู ู เกิดขึน้ เรม่ิ แรกท่ีอำเภอรามนั ซ่งึ ไมท่ ราบแนน่ อนวา่ ผู้ริเรม่ิ น้ีคือใคร ชาวปัตตานเี รียกคน ในอำเภอรามนั วา่ คนฮลู ู แต่ชาวมาเลเซยี เรยี กศิลปะชนิดนี้ว่า ดีเกปารตั ซึ่ง ปารัต แปลวา่ เหนอื จึงเปน็ ท่ี ยนื ยนั ได้วา่ ลิเกฮูลู หรือ ดเี กปารัต นีม้ าจากทางทิศเหนือของประเทศมาเลเซยี และอย่ทู างตอนใต้ของปัตตานี ลกั ษณะการแสดง ลิเกฮลู คู ณะหน่งึ ๆ จะมีประมาณ ๑๐ คน เป็นชายล้วน มีตน้ เสียง ๑-๓ คน ท่ี เหลอื จะเปน็ ลกู คู่ เวทลี ิเกฮูลู จะยกพนื้ สงู ประมาณ ๑ เมตร เปดิ โลง่ ไมม่ ีม่าน ไม่มีฉาก ลกู คู่ข้นึ ไปน่ังล้อมวง ๓๘ ร้องรบั และตบมือโยกตัวใหเ้ ข้ากบั จังหวะดนตรี สว่ นผูร้ ้องหรือผโู้ ต้กลอนจะลุกขนึ้ ยืน่ ขา้ ง ๆ วงลูกคู่ ถา้ กรณี มกี ารประชนั กนั แตล่ ะคณะจะข้นึ นั่งบนเวทีดว้ ยกนั แต่ลอ้ มวงแยกกันพอสมควร การแสดงที่ผลดั กนั ร้องที ละรอบ ท้ังรุกและรับเป็นที่ครึกครืน้ สบอารมณ์ของผชู้ ม การแต่งกาย ผู้เลน่ ลิเกฮูลนู ยิ มน่งุ กางเกงขายาว นงุ่ ผา้ ซอแกะทบั ขา้ งนอกสั้นเหนือเข่า สวมเส้อื คอ กลมมผี า้ โพกศรี ษะ เครื่องดนตรีประกอบ เลน่ ลิเกฮูลู ประกอบด้วยรำมะนา อยา่ งน้อย ๒ ใบ ใชต้ ีดำเนนิ จังหวะในการ แสดง ฆ้อง เปน็ เคร่ืองกำกบั จังหวะ ตีสมำ่ เสมอประกอบการรอ้ ง นอกจากน้ียังมีเครื่องดนตรที ใ่ี ช้ประกอบ- และเป็นทีน่ ยิ มกนั วา่ ทำให้ครึกครน้ื สนกุ สนานไพเราะมากยง่ิ ข้นึ เช่น ขลุ่ย ลูกแซก แตจ่ ังหวะท่ีใช้เปน็ ประเพณใี นการละเลน่ คือ การตบมอื โอกาสท่ีใช้แสดง ลเิ กฮูลูนยิ มแสดงในงานมาแกปโู ละ พธิ เี ขา้ สุนตั และงานฮารรี ายอ หนังตะลุง หนังตะลงุ เป็นการแสดงพนื้ บา้ นของภาคใต้ ท่ีมมี านานจนยงั หาตน้ ตอดง้ั เดมิ ไม่ได้วา่ เร่มิ มาตัง้ แต่ยุคใด สมัยใด คงมีการบันทึกไว้ในระยะหลงั ท่ีเป็นหลักฐานแต่ เทา่ ที่มีการจดบนั ทึกได้ในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระ- จุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว มกี ารนำหนงั ตะลงุ จากภาคใตม้ าแสดงถวายทอดพระเนตรที่พระราชวงั บางปะอิน จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยาเม่อื พ.ศ. ๒๔๑๙ ๓๙ การแสดงหนังตะลุง แตเ่ ดิมจะเล่นแตเ่ รื่องรามเกยี รตเิ์ ทา่ น้ัน ต่อมาการตดิ ต่อสือ่ สารก้าวหน้าขนึ้ เรม่ิ นำ เร่อื งในวรรณคดตี ่าง ๆ มาแสดง ปัจจบุ ันหนงั ตะลงุ นำนวนิยายรักโศก เหตุการณบ์ ้านเมอื งปจั จบุ ันมาแสดง บางคณะก็แตง่ บทนวนิยายเอง มีพระเอก นางเอก ตัวโกง ตัวอิจฉา การเล่นหรือเชิดหนังตะลุงในชว่ งหวั ค่ำ ใน สมัยก่อนจะเรม่ิ จากการออกลิงขาว ลงิ ดำ หรือท่เี รียกวา่ จับลงิ หวั ค่ำซ่งึ ปัจจบุ นั นีก้ ็ไมม่ ีแล้ว คณะหนังตะลงุ ประกอบดว้ ย นายหนัง ๑ คน ซ่ึงมีเปน็ เจา้ คณะเปน็ ผู้เชิดตัวหนัง พากย์และเจรจา รอ้ ง รับและเลน่ ดนตรีดว้ ย ช่อื คณะมักจะใชช้ ่อื ของนายหนังเป็นชื่อคณะ เชน่ หนงั จเู ลี่ยม กง่ิ ทอง ลูกคู่ ๕-๖ คน โรงหนงั ตะลุง จะปลกู เป็นเพิงหมาแหงน ฝาและหลงั คามุงดว้ ยจากหรอื ทางมะพรา้ ว สงู จากพน้ื ดินราว ๑๕๐-๑๗๐ เซนตเิ มตร เป็นโรงสีเ่ หลยี่ ม มีบนั ไดขึ้นด้านหลัง ใชพ้ ้นื ทีร่ าว ๘-๙ ตารางเมตร ด้านหนา้ โรงจะมี- จอผ้าขาวขอบสีน้ำเงนิ ขึงเต็มหน้าโรง มีไฟสอ่ งตัวหนงั ใหเ้ กดิ ภาพ หน้าจอมีหยวกกลว้ ยทั้งตน้ สำหรับปักตัว หนังวางอย่ขู อบล่างของจอด้านใน ลูกคแู่ ละดนตรีจะน่ังอยู่ถัดจากนายโรง ตวั หนัง ทำจากหนงั ววั แกะและฉลุ ขนาดจะต่างกนั ไปตามบทบาทของหนัง เช่น รปู เจ้าเมือง รปู ยักษ์ รูปฤาษจี ะมีขนาดใหญ่กวา่ รปู อื่น คณะหนงึ่ ๆ จะมีตัวหนงั ราว ๑๕๐-๒๐๐ ตวั เวลาเก็บหนงั จะแยกกนั เก็บ เช่น ยักษ์ พระ นาง จะแยกกัน รปู ฤาษี เทวดา ตัวตลกจะเกบ็ ไว้บนสดุ เก็บเป็นแผงซอ้ น ๆ กัน มีไมไ้ ผส่ านเป็นเส่ือ ลำแพนหนบี อยู่ทั้งบนและล่าง และใชเ้ ชอื กผูกเก็บเป็นแผง ๆ ดนตรีประกอบการแสดง ประกอบด้วยโหม่ง ๒ ใบ ทับโนรา ๒ ใบ กลองโนรา ๒ ใบ ป่ี ๑ เลา ความ ยาวของการแสดงชุดนใ้ี ช้เวลาประมาณ ๒ - ๖ ช่วั โมง ระบำร่อนแร่ ๔๐ ระบำรอ่ นแร่ เป็นระบำทป่ี รบั ปรงุ ขึ้นตามลลี าทา่ ทางในการประกอบอาชพี ของชาวไทยภาคใต้ จัด แสดงถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั และสมเดจ็ พระนางเจา้ พระบรมราชนิ ีนาถ เมื่อครง้ั เสดจ็ พระราช ดำเนนิ เยือนภาคใต้เปน็ ครัง้ แรก ในปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ตอ่ มานักศกึ ษาระดบั ปริญญา วิทยาลัยนาฏศิลปสมทบใน คณะนาฏศลิ ปและดรุ ิยางค์ วทิ ยาลยั เทคโนโลยีอาชวี ะศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๑ ได้นำระบำร่อนแรม่ าปรบั ปรงุ และ เรียบเรียงท่าข้ึนใหม่ โดยใช้เพลง \"ตลงุ ราษฎร์\" ซ่ึงนายประสิทธ์ิ ถาวร ผเู้ ช่ยี วชาญดนตรีไทยและศลิ ปนิ แหง่ ชาติ เป็นผ้แู ต่งทำนองเพลง ทั้งนีอ้ ยใู่ นความควบคุมของนางสาวปราณี สำราญวงศ์ หวั หนา้ ภาควิชานาฏ ดุรยิ างค์ คตี ศิลปศึกษา วิธีรอ่ นแร่ เร่มิ ดว้ ยการใชเ้ สยี มขุดดิน หิน กรวด ทราย ตลอดจนส่ิงต่าง ๆ ที่ปนมากบั แร่ขึ้นมาทัง้ หมด จากน้ันจงึ ใชม้ ือส่าย หรือร่อน เอาสงิ่ ท่ีไม่ต้องการออกไป คงเหลอื แตแ่ ร่ การร่อนแรส่ ่วนใหญจ่ ะเปน็ ผูห้ ญิง- มากกวา่ ผู้ชาย จะต้องลงไปยืนอยใู่ นน้ำ นงุ่ ผ้าถุงสนั้ ๆ เหนอื เขา่ เล็กนอ้ ย ทเี่ อวจะทำชายพก เม่ือได้แร่แลว้ จะ นำมาใสท่ ีช่ ายพก ระบำรอ่ นแรเ่ ป็นการแสดงประกอบท่าทางข้นั ตอนการประกอบอาชีพของชนชาวภาคใตท้ ่ี ออกจากบ้านไปหาแร่ ร่อนแร่ และ ตากแร่ แลว้ พากนั กลับบ้าน ผู้แสดง ใช้ผหู้ ญงิ แสดงล้วน การแตง่ กาย ชดุ ยาหยา ซึง่ เป็นเคร่ืองแต่งกายเฉพาะของหญิงชาวพนื้ เมืองภาคใต้ อปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นการประกอบการแสดง เลยี ง ทำจากไม้ ลักษณะคล้ายกระทะแต่ไม่มหี ู เครอ่ื งดนตรีประกอบการแสดง ตะโพน รำมะนา ระนาดเอก ฉิ่ง กลองตุ๊ก บทเพลงที่ใชป้ ระกอบการแสดง ตะลงุ ชาตรี ๔๑ การแตง่ กายนาฏศิลป์ไทย การแสดงนาฏศลิ ป์ไทย โดยเฉพาะการแสดงโขนนัน้ ได้จำแนกผ้แู สดงออกเป็น ๔ ประเภท ตามลกั ษณะ ของบทบาทและการฝึกหัด คือ ตัวพระ ตวั นาง ตวั ยักษ์ และตัวลงิ ซ่งึ ในแต่ละตัวน้ันนอกจากบคุ ลิกลักษณะที่- ถ่ายทอดออกมาให้ผ้ชู มทราบจากการแสดงแล้ว เคร่อื งแตง่ กายของผูแ้ สดงกย็ ังเปน็ สญั ลกั ษณ์ทีส่ ำคญั อยา่ ง หน่ึงทบี่ ่งบอกวา่ ผนู้ ันรบั บทบาทแสดงเปน็ ตัวใด เคร่อื งแต่งกายนาฏศลิ ปไ์ ทยมีความงดงามและมีกรรมวธิ กี ารประดษิ ฐ์ท่ีวจิ ิตรบรรจงเป็นอยา่ งยงิ่ ทั้งนี้ เพราะท่มี าของเคร่ืองแต่งกายนาฏศลิ ปไ์ ทยน้นั จำลองแบบมาจากเคร่ืองทรงของพระมหากษัตรยิ ์ (เครื่องต้น) แลว้ นำมาพฒั นาให้เหมาะสมตอ่ การแสดง ซ่งึ จำแนกออกเป็น ๔ ฝ่าย ดังนี้ ๑. เครื่องแตง่ ตวั พระ ๒. เครื่องแตง่ ตัวนาง ๓. เคร่ืองแต่งตัวยักษ์ ๔. เครื่องแต่งตัวลิง สำหรับเครอื่ งแตง่ ตวั พระและตัวนางดังกล่าวนี้ จะใช้แต่งกายสำหรบั ผูร้ ำในระบำมาตรฐาน เช่น ระบำ สบ่ี ท ระบำดาวดึงส์ ระบำพรหมมาสตร์ รำบำยอ่ งหงดิ และระบำกฤดาภินิหาร เป็นต้น และยงั ใช้แตง่ กาย สำหรับตวั ละครในการแสดงละครนอกและละครในด้วย ส่วนในระบำเบ็ดเตลด็ เชน่ ระบำนพรัตน์ ระบำตรี ลลี า ระบำไตรภาคี ระบำไกรลาสสำเรงิ ระบำโบราณคดีชุดต่าง ๆ หรือระบำสัตวต์ ่าง ๆ จะใช้เคร่ืองแตง่ กาย ใหถ้ ูกต้องตรงตามรูปแบบของระบำนัน้ ๆ เช่น ระบำโบราณคดี ก็ต้องแต่งกายใหถ้ ูกต้องตรงตามหลักฐานที่ ปรากฏในรปู ปนั้ หรอื ภาพจำหลัก ตามโบราณสถานในยุคสมยั นั้น เปน็ ตน้ นอกจากนี้ ยังมีการแสดงท่ีเปน็ นาฏศิลปพ์ ื้นเมืองของท้องถนิ่ ต่าง ๆ ซง่ึ จำเป็นต้องแต่งกายให้สวยงามถูกต้องตามวฒั นธรรมของท้องถิน่ ดว้ ย นอกจากนยี้ ังมเี ครื่องแตง่ กายประกอบการแสดงโขน ทเี่ ห็นไดช้ ดั เจนคอื การแตง่ กายชดุ ยกั ษ์ ชุดลงิ (หนมุ าน) และหัวโขนที่ใช้ในการแสดงโขนเร่อื งรามเกียรต์ิ เป็นต้น ๔๒ เครอ่ื งแตง่ ตวั พระ (แขนขวา - แสดงเสื้อแขนส้นั ไมม่ ีอินทรธนู แขนซ้าย - แสดงเส้อื แขนยาวมอี ินทรธน)ู ๑. กำไลเทา้ ๒. สนบั เพลา ๓. ผา้ นุง่ ในวรรณคดี เรยี กว่า ภูษา หรือพระภษู า ๔. หอ้ ยข้าง หรือเจยี ระบาด หรือชายแครง ๕. เสอ้ื ในวรรณคดเี รยี กวา่ ฉลององค์ ๖. รัดสะเอว หรือรัดองค์ ๗. ห้อยหน้า หรือชายไหว ๘. สุวรรณกระถอบ ๙. เขม็ ขัด หรอื ป้นั เหนง่ ๑๐. กรองคอ หรือ นวมคอ ในวรรณคดีเรยี กว่า กรองศอ ๔๓ ๑๑. ตาบหนา้ หรอื ตาบทับ ในวรรณคดีเรียกว่า ทับทรวง ๑๒.อินทรธนู ๑๓. พาหรุ ัด ๑๔.สงั วาล ๑๕. ตาบทศิ ๑๖. ชฎา ๑๗. ดอกไม้เพชร(ซา้ ย) ๑๘. จอนหู ในวรรณคดเี รียกวา่ กรรเจยี ก หรือกรรเจียกจร ๑๙.ดอกไม้ทัด(ขวา) ๒๐. อุบะ หรอื พวงดอกไม้(ขวา) ๒๑. ธำมรงค์ ๒๒. แหวนรอบ ๒๓.ปะวะหลำ่ ๒๔. กำไลแผง ในวรรณคดเี รียกว่า ทองกร เคร่อื งแต่งตัวนาง ๔๔ ๑. กำไลเทา้ ๒. เส้อื ในนาง ๓. ผา้ นุ่ง ในวรรณคดี เรยี กว่า ภูษา หรอื พระภษู า ๔. เขม็ ขดั ๕. สะอง้ิ ๖. ผา้ หม่ นาง ๗. นวมนาง ในวรรณคดีเรียกว่า กรองศอ หรอื สร้อยนวม ๘. จี้นาง หรือ ตาบทับ ในวรรณคดีเรียกวา่ ทับทรวง ๙. พาหรุ ัด ๑๐. แหวนรอบ ๑๑. ปะวะหลำ่ ๑๒. กำไลตะขาบ ๑๓. กำไลสวม ในวรรณคดีเรียกวา่ ทองกร ๑๔. ธำมรงค์ ๑๕. มงกฎุ ๑๖. จอนหู ในวรรณคดเี รยี กวา่ กรรเจียก หรอื กรรเจยี กจร ๑๗. ดอกไม้ทดั (ซา้ ย) ๑๘. อุบะ หรือพวงดอกไม้ (ซ้าย) ๔๕ เครื่องแตง่ ตัวยกั ษ์ ยักษ์ (ทศกณั ฐ)์ คือ เครอื่ งแต่งกายของผแู้ สดงเป็นตัวยกั ษ์ ประกอบด้วย ส่วนประกอบของเคร่ืองแต่ง กายดังภาพ นอกจากน้ียงั มีเครือ่ งแต่งกายประกอบการแสดงโขน ทเ่ี หน็ ไดช้ ัดเจนคือ การแต่งกายชุดยกั ษ์ ชุดลงิ (หนมุ าน) และหวั โขนที่ใชใ้ นการแสดงโขนเร่ืองรางเกยี รต์ิ เปน็ ต้น เครอื่ งแต่งตวั ลิง ลงิ (หนมุ าน) คือ เครื่องแต่งกายของผ้แู สดงท่แี สดงเปน็ ตัวลิง ประกอบด้วยส่วนประกอบของเครื่อง แต่งกาย ดงั ภาพ ๔๖ ดังนน้ั เครื่องแต่งการประกอบการแสดงจึงมีความสำคัญต่อการแสดงนาฎศลิ ป์ไทยประเภทต่าง ๆ ที่ทำ ให้การแสดงนาฎศิลป์มีความสวยงาม และยงั สามารถบ่งยอกอุปนสิ ัย ตำแหนง่ และฐานะของตัวละครใน เรอื่ งด้วย นาฏศิลปก์ บั บทบาททางสงั คม นาฏศิลป์ เปน็ ศลิ ปะแขนงหนึ่งท่สี ร้างสรรคส์ นุ ทรยี ะด้านจติ ใจและอารมณ์ใหก้ บั คนในสังคมและมี อทิ ธพิ ลต่อการดำเนนิ ชวี ติ ของมนุษยท์ ่ีสามารถสะท้อนวิถีชีวิตและกิจกรรมของคนในสงั คม ทง้ั ทเ่ี ป็นกจิ กรรม สว่ นตวั และกิจกรรมสว่ นรวม ดังพิจารณาได้จากบทบาทของนาฏศลิ ป์ท่ีมผี ลต่อการดำเนินชีวติ ของมนุษยใ์ น ดา้ นต่าง ๆ ดงั นี้ ๑. บทบาทในพธิ ีกรรมรัฐพธิ ีและราชพิธี การแสดงนาฏศลิ ป์ในพิธกี รรมตา่ ง ๆ สามารถแสดงถึงความ เชื่อในพลงั เหนือธรรมชาตขิ องภตู ฝิ ีปศี าจและส่ิงศักดส์ิ ทิ ธิ์ทั้งหลาย เช่น การฟ้อนรำในพิธีลำผฟี า้ เพอ่ื รักษา โรค หรอื สะเดาะเคราะห์ของภาคอสี าน การฟ้อนผมี ดผเี ม็งในภาคเหนอื ทจี่ ะมผี หู้ ญิงมาเขา้ ทรงและฟ้อนรำ รว่ มกนั เป็นหม่เู พื่อการสะเดาะเคราะห์หรือรักษาโรคการแสดงแก้บนในลกั ษณะละครแก้บน หรือลเิ กแก้บน เปน็ ตน้ และยงั มกี ารฟ้อนรำบูชาสิง่ ศกั ด์สิ ิทธ์ิ และบชู าครูบาอาจารยต์ า่ ง ๆ เชน่ การรำไหวค้ รมู วยไทย การรำ อายุธบนหลังชา้ ง การำถวายมอื ในพธิ ีไหว้ครนู าฏศิลป์ เป็นตน้ ๒. บทบาทในการสร้างสรรค์ มนษุ ยม์ ีการพบปะสังสรรค์กันในโอกาสต่าง ๆ ทงั้ ในหมู่เครือญาติ เพื่อน ฝูง และคนในสังคม หรอื ท้องถ่ินเดียวกัน เชน่ ในงานวนั เกิด งานประเพณี และงานเทศกาลต่าง ๆ เป็นต้น ดัง เห็นได้จากงานบญุ ประเพณีสงกรานต์ หรอื งานเฉลิมฉลองต่าง ๆ จะมกี ารแสดงนาฏศลิ ป์ตา่ ง ๆ เชน่ การฟ้อน ๔๗ รำ โขน ลิเก เปน็ ต้น ซ่ึงเป็นโอกาสให้ผคู้ นในทอ้ งถนิ่ ทง้ั หญงิ และชายได้พบปะสงั สรรค์แลสนุกสนานกบั การ แสดงต่าง ๆ รว่ มกนั ๓. บทบาทในการสื่อสาร นาฏศิลปเ์ ปน็ กระบวนการหนึ่งทางการสือ่ สารที่ทำให้มนษุ ย์สามารถเขา้ ใจ กนั ได้โดยใช้ภาษาท่าทาง หรอื ทา่ รำที่มีความหมายจากการเคลือ่ นไหวรา่ งกายประกอบการพดู หรือการเลา่ เร่อื งตา่ ง ๆ หรือภาษาทา่ ทางในละครใบ้ทส่ี ามารถส่อื ความหมายให้ผ้ชู มเข้าใจได้โดยการแสดงออทางสหี น้า อารมณ์และ ดนตรีประกอบที่ชว่ ยกระตนุ้ อารมณใ์ ห้เขา้ ใจยิ่งขึน้ ซึ่งท่าทางหรือท่ารำต่าง ๆ น้ี อาจกำหนดข้นึ จากการเลียนแบบลักษณะธรรมชาติ เชน่ กิริยาทา่ ทางของมนุษยห์ รือสัตวแ์ ละท่าทางท่ีมนุษย์กำหนดข้นึ จาก ข้อมลู ทางวัฒนธรรม เชน่ เทวรปู ภาพจำหลกั เปน็ ต้น ๔. บทบาทในทางการศึกษา นาฏศลิ ป์เป็นการศึกษาทางด้านศลิ ปะแขนงหนง่ึ ที่พฒั นา ควบคู่มากับ ความเจริญของมนุษย์ โดยเฉพาะความเจรญิ ทางด้านศลิ ปะวฒั นธรรมทีม่ ีการสรา้ งสรรค์ และทำนบุ ำรุงศลิ ปะ ให้รงุ่ เรอื งดว้ ยการสรา้ งสถาบันการศกึ ษาดา้ นนาฏศิลป์ เช่น วิทยาลัยนาฏศลิ ป์ของกรมศิลปากร ที่เนน้ การ เรยี นการสอนด้านนาฏศิลป์ให้กบั นักเรยี นนกั ศกึ ษาของไทยและโรงเรียนสอนการแสดงหรือการรำนาศิลป์ของ ๔๘ องค์กรเอกชนตา่ ง ๆ ท่จี ัดการเรยี นข้นึ เปน็ ระยะสนั้ ๆ ใหก้ ับเยาวชนไทยหรือผ้สู นใจทั่วไป เพ่ือเปน็ การ เสริมสรา้ งบุคลิกภาพ ความกล้าแสดงออก และคุณภาพชีวติ ของผู้ศึกษารวมทง้ั ยังเปน็ การสรา้ งนาฏยศิลปิน ให้มคี วามเช่ียวชาญ และสามารถใชน้ าฏศลิ ปเ์ ป็นอาชีพเลย้ี งตนเองได้ ๕. บทบาทในการอนรุ ักษ์ และเผยแพร่เอกลักษณ์ของชาติ นาฏศลิ ป์เป็นการแสดงเอกลักษณ์ ประจำ ชาตอิ ยา่ งหนง่ึ เปน็ เครื่องหมายแสดงถึงศิลปวฒั นธรรมท่ีมลี ักษณะเฉพาะโดดเด่น หรอื แตกต่างจากชนชาติอน่ื ๆ โดยเฉพาะนาฏศิลปไ์ ทยท่ีมีเอกลักษณ์ดา้ นทา่ รำ เคร่ืองแต่งกาย และดนตรีไทยประกอบการแสดงซึ่งยังมี ความหลากหลายในแตล่ ะท้องถน่ิ ของประเทศ ได้แก่ ใน ภาคกลาง ภาคเหนอื ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคใต้ ก็มกี ารแสดงนาฏศิลป์ทแ่ี ตกตา่ งกนั ออกไป โดยแตล่ ะท้องถิ่นใดมีการเผยแพรง่ านนาฏศลิ ป์ของ ท้องถ่นิ ออกไปให้กว้างไกล ทงั้ ในทอ้ งถนิ่ ใกลเ้ คยี งและในต่างประเทศท่ีอยู่ห่างไกล เพื่อส่งเสรมิ การท่องเที่ยว และการถ่ายทอดศิลปวฒั นธรรมประจำชาติ เช่น ในงานเทศกาลศิลปวัฒนธรรมและมหกรรมนานาชาติ ตลอดจนให้การสนับสนนุ การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศลิ ปใ์ หเ้ พ่ิมพนู และสบื ทอดไปยงั คนรุ่นต่อ ๆ ไป ซ่งึ นบั เป็นภารกิจของคนในท้องถน่ิ หรอื ประเทศชาตนิ ้ัน ๆ ที่ต้องมารว่ มมือกนั โดยเร่มิ จากความรกั ความชน่ื ชม และภาคภมู ิใจในงานนาฏศลิ ปไ์ ทย ของเยาวชนไทยในสหรัฐอเมรกิ าทม่ี าจดั แสดงนาฏศลิ ป์ทีโ่ รงละคร แหง่ ชาติ ซ่งึ แสดงให้เห็นถงึ ความชน่ื ชมในงานนาฏศิลป์ของชาติตน ท่แี ม้จะอยู่ถงึ ตา่ งประเทศกย็ งั หา้ การทำนุ บำรงุ รักษาและสบื ทอดศลิ ปวัฒนธรรมของบรรพบรุ ษุ ให้คงอยู่ และเปน็ ทแี่ พร่หลายต่อไป ๔๙ ๖. บทบาทในการสง่ เสรมิ พลานามัย นาฏศลิ ป์เปน็ การเคลื่อนไหวรา่ งกายให้สวยงาม และมี ความหมาย ต้องใชก้ ารฝึกหัดและฝกึ ซ้อมใหจ้ ดจำท่าทางตา่ ง ๆ ได้ จงึ เปน็ การออกกำลงั กายอย่างหนึง่ ที่มีการ ใช้กำลงั ยกแขน ขา มือ หรือเคลอื่ นไหวศีรษะและใบหนา้ เพ่ือให้เกดิ ท่าทางและความสนุกสนานไปพร้อม ๆ กนั เช่น การรำกระบี่กระบอง เซ้ิง การรำดาบสองมือ การรำพลอง การำง้าว กเ็ ป็นการผสมผสานท่าทาง นาฏศิลป์กบั ศิลปะการกีฬาแบบไทย ๆ นอกจากน้ีในปัจจุบนั ยังมกี ารเต้นแอโรบิก หรือการเตน้ ออกกำลังกาย ประกอบเพลง ซึ่งเปน็ การนำนาฏศิลปม์ าประยุกต์ใช้ในการออกกำลังกาย และความแขง็ แรงให้กบั ร่างกาย ๗. บทบาททางวัฒนธรรม การครอบงำวัฒนธรรมเปน็ การกระทำของประเทศท่ีมอี ำนาจ แตก่ ็ไม่ได้ หมายความวา่ ต้องเขา้ มายึดพื้นที่ของประเทศอ่ืน ๆ แต่อาจหมายถงึ การรับเอาวฒั นธรรมอ่นื เขา้ ไปแทน วฒั นธรรมเดมิ ของประเทศน้ัน อาทิเช่น วัฒนธรรมของอินเดยี เน่ืองจากปัจจบุ นั ประเทศสว่ นใหญ่ตา่ งไดร้ บั อิทธพิ ลของอินเดียไมว่ า่ จะเป็นทงั้ ทางตรงและทางอ้อม วรรณคดี ดนตรี เคร่อื งแต่งกาย และรวมไปถึง นาฏศิลป์ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ อทิ ธิพลอินเดยี ได้อยา่ งชัดเจน ท้ังนรี้ วมไปถงึ ประเทศไทยด้วย นาฏศลิ ป์ไทยไดร้ ับ อทิ ธพิ ลมาจากอนิ เดยี โดยตรง ประเทศท่ีได้รบั มาแลว้ น้ันก็ตอ้ งมกี ารพฒั นา และเปลยี่ นแปลงใหเ้ ข้ากับ วัฒนธรรมของตนเอง กระบวนการครอบงำทางวฒั นธรรมเป็นกระบวนการที่สลับซับซ้อนและยาวนาน อกี ทัง้ เปน็ กระบวนการท่เี กดิ ขน้ึ อย่างช้า ๆในอดีต แต่ในปจั จบุ ันไดท้ วีความรวดเรว็ ขึน้ ด้วยสื่อสมยั ใหม่ ๕๐