ร ปหล อหลวงพ อพระเสร ม ว ดสร างแข

แมพ่ มิ พ์ยางซิลิโคนหลังจากอัดผงเกสร พระพทุ ธรูปเกสรดอกไม้ทถ่ี อดออกจาก การถอดพระพทุ ธรปู เกสรดอกไมท้ ่แี ห้งแลว้

ดอกไม้ท่ผี สมกาวเสร็จเรยี บร้อยแลว้ แม่พิมพ์ยางซิลิโคนซกี หน้า ออกจากแม่พมิ พย์ างซลิ ิโคน

250

การสรา้ งจ�ำ ลองพระพุทธรปู ทรงเครื่องศิลปะพมา่ วัดมอ่ นปยู่ กั ษ์

ขน้ั ตอนการประกบพระพุทธรปู เกสรดอกไม้ซกี หนา้ และซกี หลงั

สำ�หรับข้ันตอนการประกบช้ินงานพระพุทธรูปเกสรดอกไม้ นับเป็นข้ันตอนท่ีมีความสำ�คัญมากข้ันตอนหนึ่งในกระบวนการสร้าง จ�ำ ลองคร้ังนี้ จากผลการทดลองสรปุ ได้ว่าการประกบช้นิ งานทง้ั ๒ ซีกน้ันเม่ือถอดช้ินงานท่ีเสร็จสมบูรณ์จากแม่พิมพ์ยางซิลิโคนท้ังซีก หน้าและซีกหลังแล้ว ขั้นตอนที่สำ�คัญต่อไปคือการประกบชิน้ งาน ทงั้ ๒ ซีกให้ติดกัน วธิ กี ารดังกลา่ วจะต้องรบี ท�ำ ให้เสร็จสน้ิ ทันทหี ลงั จากทถ่ี อดชน้ิ งานออกมา เน่ืองจากการแห้งของเกสรดอกไม้ท่ีผสม กาวอาจจะไม่เท่ากนั ทั้ง ๒ ซีก จงึ ควรรีบประกบช้ินงานทันที เพื่อ ป้องกันไม่ให้ช้ินงานหดตัวไม่เทา่ กนั ซ่ึงจะเกดิ ปญั หาบรเิ วณรอยต่อที่ คลาดเคลือ่ นและจะไมส่ ามารถประกบกนั ไดส้ นิท

251

พระพุทธรปู ศิลปะพมา่ จ�ำ ลอง 252

การสรา้ งจ�ำ ลองพระพทุ ธรูปทรงเครอ่ื งศลิ ปะพมา่ วดั มอ่ นปยู่ กั ษ์

ขัน้ ตอนการประกบช้ินงาน

น�ำ ชน้ิ งานทถี่ อดออกจากแมพ่ มิ พย์ างซิลิโคนมาประกบติดกัน โดยการใช้กาวรอ้ นเปน็ ตวั เช่อื มท้ังสองชิน้ ก่อนแล้วจงึ ตามดว้ ยการใชผ้ งเกสรดอกไมผ้ สมกาวผงอุดรอยต่อดา้ นในของชิ้นงาน และน�ำ มาประสานตะเข็บดา้ นนอกเพ่อื ท�ำ ใหช้ ้ินงาน ทัง้ สองติดกนั อย่างแขง็ แรง และสร้างให้พื้นผวิ ของช้ินงานท้ังสองกลมกลนื กัน ซึ่งควรใชก้ ระดาษทรายเบอร์ละเอียดขัดตกแต่ง อีกครั้งใหเ้ รยี บรอ้ ย

พระพุทธรปู จ�ำ ลองท่ีประกบซกี หนา้ และซีกหลังเรียบร้อยแลว้ 253

254

การสรา้ งจำ�ลองพระพทุ ธรปู ทรงเครอ่ื งศลิ ปะพมา่ วัดมอ่ นปู่ยกั ษ์

พระพุทธรูปศลิ ปะพม่าจำ�ลองที่ประกบซกี หนา้ และซกี หลังเรียบร้อยแล้ว 255

การประดบั กระจกสพี ระพุทธรปู ศิลปะพม่าจ�ำ ลอง

งานประดับกระจก เป็นอกี ขัน้ ตอนหนึ่งท่ีส�ำ คัญของการสรา้ งพระพุทธรปู จำ�ลอง ถอื วา่ เป็นงานประณีตศิลป์อันทรง คณุ คา่ เพราะเมอ่ื ผวิ กระจกตอ้ งแสงส่องกระทบจะเกิดมติ สิ ีสะทอ้ นทง่ี ดงาม ความเปล่งประกายของกระจกท่ีคลา้ ยอญั มณี หลากสี กระจกสที ่ใี ชป้ ระดบั พระพทุ ธรูปมีด้วยกัน ๓ สี คอื สแี ดง สีเขียว และสขี าว เทคนิคการประดบั กระจกยังช่วยรกั ษาอายุ พระพุทธรปู เน่อื งจากกระจกและยางรกั ที่หอ่ หมุ้ พระพทุ ธรปู สามารถชว่ ยรกั ษาพระพทุ ธรูปให้คงทนมากยง่ิ ขึน้ ประเภทของกระจกท่ีนยิ มใชม้ าแต่โบราณมีอยู่ ๒ ชนดิ คอื กระจกเกรียบ และกระจกแกว้ ๑. กระจกเกรยี บ หรอื กระจกจนื บางแห่งเรยี กวา่ แก้วชน่ื แก้วจืน เปน็ กระจกสีท่ีคาดอย่บู นแผ่นดีบุก มีทง้ั ชนิดบาง และชนดิ หนา ชนิดแผน่ บางจะบางเหมือนแผ่นขา้ วเกรียบ มักใชใ้ นงานที่ตอ้ งประดับอย่างประณตี เชน่ ตดั เป็นแววประดับ เครอ่ื งศลิ าภรณ์ โขน ละคร ประดบั ลายทองแผล่ วดเคร่ืองสูงราชวัตรฉตั รธงตา่ งๆ ส่วนชนดิ แผน่ หนาใช้ประดบั ตู้โตะ๊ ตลอด จนช่อฟา้ ฯลฯ การใช้กระจกเกรียบประดบั มีมาตั้งแต่โบราณปรากฏในงานโบราณสถาน โบราณวตั ถุทัง้ ประเทศไทย ลาว และประเทศพมา่ ปัจจบุ นั ไม่มีการผลิตกระจกชนดิ นี้แล้ว ๒. กระจกแกว้ ลกั ษณะเปน็ แผน่ บางๆ มหี ลายสี คือ สขี าว สเี หลือง สเี หลืองทอง สีแดง สมี ว่ ง สเี ขียว สเี ขยี วใบไม้ สคี ราม และสนี ้ำ�เงิน ผิวกระจกจะมคี วามโค้งสะทอ้ นแวววาว ส่วนด้านหลังอาบด้วยปรอทเคลือบน้�ำ ยาเคม๓ี ๑

การประดบั กระจกสีพระพุทธรูปศลิ ปะพม่า สกุลชา่ งไทใหญ่ วัดจองคำ� จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน

การประดบั กระจกสพี ระพทุ ธรปู ศิลปะพมา่ สกลุ ชา่ งไทใหญ่ วดั หวั เวียง จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน 256

การสรา้ งจ�ำ ลองพระพทุ ธรูปทรงเครื่องศลิ ปะพมา่ วดั ม่อนป่ยู ักษ์ 257

กระบวนการประดบั กระจกสีพระพุทธรูปศิลปะพม่าจำ�ลอง

งานประดบั กระจกมีองค์ประกอบในการท�ำ งานตลอดจนวสั ดอุ ปุ กรณ์ ดังนี้ ๑. วสั ดทุ ใี่ ช้ในการประดบั กระจก ช่างในอดีตใช้รกั น้ำ�เกล้ยี ง สมุกผงถา่ นใบตองแห้ง ชันผง นำ�้ มนั ยาง และปนู ขาว ส�ำ หรับการสรา้ งจำ�ลองพระพุทธรูปคร้งั นี้ ผเู้ ขียนไดเ้ ลือกใช้กาวตดิ กระจกทมี่ คี ณุ สมบัตใิ กล้เคยี งกบั กาวแบบโบราณ ๒. เครอื่ งมอื การประดบั กระจก ไดแ้ ก่ เพชรตัดกระจก ส�ำ หรับใช้ตัดกระจกออกเป็นช้ินๆ มี ๒ ชนดิ คอื เพชรด้ามทอง เหลอื ง เรียกว่า เพชรเข้ยี วงู สว่ นท่ีชา่ งตัดกรอบรปู ใชเ้ รยี กว่า เพชรจนี บางคนเรียกวา่ เพชรฝร่งั ๓. กรรไกร ไว้สำ�หรับตัดแตง่ กระจกใหเ้ ปน็ รูปวงกลม วสั ดกุ ารประดับกระจกสี ๑. กระจกกลมสแี ดง สีเขียว และ สขี าว ๒. กาวติดกระจก ๓. คมี ปากแคบ ๔. กรรไกรตดั กระจก

การประดับกระจกสพี ระพุทธรปู ศลิ ปะพม่าจ�ำ ลอง

258

การสรา้ งจ�ำ ลองพระพุทธรูปทรงเคร่อื งศิลปะพม่า วดั มอ่ นปูย่ กั ษ์

ขัน้ ตอนการประดบั กระจกสพี ระพทุ ธรูปศลิ ปะพมา่ จ�ำ ลอง ๑. ตัดกระจกสีให้เป็นรูปวงกลมขนาดเล็ก โดยมีเส้น ผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ ๐.๒ เซนติเมตร ๒. แบ่งกาวใส่กรวยพลาสติกรูปสามเหลี่ยม ตัดปาก กรวยให้กาวออกได้เพียงเล็กน้อย แล้วหยอดกาวเพื่อ ประดบั กระจกสพี ระพุทธรูป

๓. ใช้คมี หนีบกระจกสที ี่ตัดเปน็ วงกลมขนาดเลก็ น�ำ มาติดลงบนเครื่องทรงของพระพทุ ธรูป

การประดบั กระจกสพี ระพุทธรูปศิลปะพม่าจำ�ลอง

259

260 พระพทุ ธรปู ศิลปะพมา่ หลังจากตดิ กระจกสี

การสรา้ งจ�ำ ลองพระพทุ ธรูปทรงเคร่อื งศิลปะพมา่ วดั มอ่ นปยู่ ักษ์

ขั้นตอนการเตรยี มพนื้ ผวิ พระพทุ ธรูปศิลปะพมา่ จ�ำ ลองก่อนการปดิ ทองคำ�เปลว นบั ว่าเป็นข้ันตอนที่ส�ำ คัญอีกขนั้ ตอนหนึง่ โดยการขัดผิวพระพทุ ธรปู ให้เรียบด้วยกระดาษทรายเบอร์ละเอยี ด เพราะ ผิวของพระพทุ ธรปู ทส่ี รา้ งจากเกสรดอกไม้เป็นวัสดุจากธรรมชาติ เมื่อแห้งสนทิ แลว้ จะมลี กั ษณะแข็งเหมือนไม้ สามารถท�ำ ให้ เรยี บไดด้ ้วยการใช้กระดาษทรายขัดออก

การเตรยี มพนื้ รักบนพระพทุ ธรูปศิลปะพม่ามีกรรมวิธี ดงั น้ี ๑. การทารกั ดบิ รักดบิ ได้จากยางของต้นรักน�ำ มากรองส่ิงสกปรกออก วธิ กี ารทานัน้ ใชแ้ ปรงทา เพ่ือให้เนื้อรกั ซึมลง ในเนอ้ื ผงเกสรดอกไม้ และจะเป็นตัวประสานระหวา่ งเน้อื เกสรดอกไมก้ บั รักสมุก ทาใหเ้ รยี บเสมอกันรอให้แหง้ ประมาณ หน่ึง อาทิตย์ เตรียมทารกั สมุก ๒. การทารักสมุก โดยน�ำ รกั ดิบมาผสมกบั สมุกประเภทผงถา่ นใบตองแห้ง เพือ่ สรา้ งเนือ้ รักทแ่ี น่นมากข้ึน นำ�มาทา บนพ้ืนรกั ดิบทีท่ าไว้ในคร้ังแรก ทาทงิ้ ไวใ้ หแ้ ห้งสนิทโดยประมาณ ๑ สัปดาห์ เมือ่ แหง้ แล้วจึงขดั ออกดว้ ยกระดาษทรายเบอร์ ละเอียดใหเ้ รียบเสมอกนั จึงเตรียมเชด็ รกั ต่อไป ๓. การเช็ดรัก หรอื เรียกวา่ “รักเช็ด” นับเปน็ ขั้นตอนที่ส�ำ คญั ในการปดิ ทองคำ�เปลว เพือ่ ใหท้ องคำ�เปลวติดแน่น มี ความทนทาน อกี ท้งั ยังชว่ ยให้ทองคำ�เปลวมสี ีทส่ี ุกสว่าง โดยการลงยางรักบรสิ ทุ ธ์ิ ดว้ ยการแตะตามผวิ งานกระจายออกไป ให้ทั่ว แลว้ ใช้ผา้ แห้งเชด็ หรือขัดออกให้บางทสี่ ุด จึงจะสามารถปิดทองคำ�เปลวได้ อปุ กรณใ์ นการเตรียมพน้ื ผวิ พระพทุ ธรูป

๑. ยางรกั บริสุทธ์ิ ๑๐๐ % ๒. สมกุ (ใบตองแหง้ เผาไฟ) ๓. แปรงทารกั ๔. ผา้ เชด็ ยางรกั ๕. ผา้ กรองยางรกั ๖. กระดาษทรายเบอรล์ ะเอียด

261

ขั้นตอนการลงยางรกั พระพทุ ธรปู ศลิ ปะพม่าจ�ำ ลอง ยางรกั หรือชือ่ สามญั ว่า LACQUER VARNISH เป็นนำ้�ยางท่ีไดจ้ ากตน้ ไมย้ ืนต้นขนาดกลาง ไดจ้ ากการเจาะหรือกรดี จากต้นรัก ยางรกั ทไ่ี ด้จากตน้ ใหม่ๆ จะมีสีหมน่ หากท้งิ ไวจ้ ะเปล่ยี นสีกลายเปน็ สเี ทาและสีดำ� มีคุณสมบตั ิพิเศษคอื สามารถ รกั ษาผวิ ใหค้ งทน๓๒ เมอ่ื น�ำ มาทารองพน้ื จะสามารถกนั น�ำ้ ได้ ยางรกั เมอ่ื ทาหรอื เชด็ เพอ่ื ปดิ ทองค�ำ เปลวกจ็ ะท�ำ ใหท้ องค�ำ เปลว ตดิ ทนนานแขง็ แรงและมีสีท่สี ุกปลง่ั งานสร้างสรรค์ศลิ ปะไทยนยิ มใชย้ างรกั มาเป็นวสั ดทุ ี่ส�ำ คัญในการสร้างงานมาอย่างยาวนาน เน่ืองจากยางรักเปน็ วสั ดุทไี่ ด้มาจากธรรมชาติ มีคณุ ลักษณะพเิ ศษคอื ความเหนียว สามารถเกาะจับติดวัสดทุ ่ีตอ้ งการทาหรือเคลือบผวิ สงิ่ ตา่ งๆ ไดเ้ ป็นอย่างดี และเมอ่ื ทาทงิ้ ไว้จะมีสภาพมันสามารถเคลอื บรักษาสิ่งทที่ าใหม้ คี วามแข็งแรงทนทาน อีกท้งั ทนตอ่ ความรอ้ น ความชื้น กรด หรือด่างออ่ นๆ ยางรักเปน็ วสั ดุท่ีเปน็ สีในตัวเองและประสานวสั ดุอนื่ ดังสมกุ สำ�หรับเสริมความมน่ั คงให้แก่ พ้นื ผวิ และโครงสร้างของงานศลิ ปะไทยได้เป็นอยา่ งดี จงึ กลายเปน็ ปจั จยั ส�ำ คญั ทใ่ี ชใ้ นการสรา้ งสรรค์งานตัง้ แตอ่ ดีตจนกระทงั่ ปจั จบุ ัน เทคนคิ การสรา้ งพระพุทธรูปเพ่อื สืบทอดพระพุทธศาสนา นายชา่ งโบราณได้เลอื กใชย้ างรักเปน็ องค์ประกอบสำ�คญั ส�ำ หรบั การสรา้ งสรรค์ โดยน�ำ ยางรักผสมกับสมกุ เพือ่ ใช้ทาลงพนื้ งานประตมิ ากรรม เช่นการทารกั สมุกลงพน้ื พระพุทธรปู ปัน้ ดว้ ยปนู พระพทุ ธรปู ไม้ และพระพทุ ธรปู หลอ่ ดว้ ยโลหะ กอ่ นปดิ ทองค�ำ เปลว การใชร้ กั น�ำ้ เกลย้ี งรองพน้ื งานปนู ปน้ั งานแกะสลกั ไม้ เป็นตน้ ส�ำ หรับการใชย้ างรกั ทาหรือเชด็ เรียกว่า “รกั เช็ด” นับเป็นขั้นตอนท่ีสำ�คัญในการปดิ ทองค�ำ เปลว เพ่อื ใหท้ องค�ำ เปลว ตดิ แน่น มคี วามทนทานอีกท้งั ยังช่วยใหท้ องคำ�เปลวมสี ีทสี่ กุ สว่าง

การลงรักปิดทองพระพุทธรปู สกุลช่างไทใหญ่ วัดจองคำ� จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน 262

การสร้างจ�ำ ลองพระพทุ ธรูปทรงเครือ่ งศิลปะพมา่ วดั มอ่ นปยู่ กั ษ์

สมุก เปน็ วสั ดุที่มีลกั ษณะเปน็ ผงหรือป่นเปน็ ฝนุ่ มีบทบาทส�ำ คัญสำ�หรบั งานเคร่อื งรักแบบไทยประเพณตี ามแบบ อย่างโบราณมี ๒ ประเภท คอื ๓๓ สมุกอ่อน ได้แก่ ดนิ สอพอง ผงดนิ เหนยี ว เลือดหมกู ้อน อย่างใดอย่างหนง่ึ ผสมกับรักน้�ำ เกลี้ยง ตีให้เปน็ เนอื้ เดียวกนั ใช้ทาบางๆ รองพืน้ บรเิ วณทตี่ ้องการ สมกุ แข็ง ได้แก่ ผงถา่ นใบตองแหง้ ผงถา่ นหญา้ คา ผงปูนขาว อยา่ งใดหนึ่งผสมกบั รกั น�้ำ เกลย้ี ง ตใี ห้เปน็ เนอ้ื เดียวกนั ใช้ทารองพน้ื บรเิ วณท่ีต้องการให้พื้นหนาและแข็งแรงมาก

263

ขัน้ ตอนการลงยางรักพระพทุ ธรปู ศลิ ปะพมา่ จำ�ลอง

๑. เตรยี มเค่ียวยางรักดบิ แล้วน�ำ ไปกรองผา้ ขาวบาง จมุ่ ยางรักแตะไปบนผิวช้นิ งานด้วยผา้ หรอื ส�ำ ลใี หท้ วั่ แล้วเช็ดออกจน เกอื บหมดให้รสู้ กึ ว่าสะอาด แตก่ ย็ งั คงมียางรกั เคลอื บทผ่ี ิวบางๆ จงึ เหมาะส�ำ หรับติดทองคำ�เปลว โดยเรยี กขั้นตอนดงั กล่าววา่ การเชด็ รกั หรอื เรยี กว่า “รักเช็ด” นบั วา่ เปน็ ข้นั ตอนท่ีส�ำ คญั ในการปิดทองคำ�เปลว เพอ่ื ใหท้ องคำ�เปลวติดแน่น

การเชด็ รัก หรือเรยี กวา่ “รักเช็ด” ขั้นตอนการเชด็ รักบริเวณพระพักตร์ ข้นั ตอนการเช็ดรกั บริเวณพระพกั ตร์ พระพุทธรปู พระพุทธรูป

264

การสรา้ งจำ�ลองพระพทุ ธรปู ทรงเคร่อื งศลิ ปะพมา่ วดั มอ่ นป่ยู กั ษ์

ข้นั ตอนการเชด็ ยางรกั พระพทุ ธรปู กอ่ นการปดิ ทองคำ�เปลว 265

266

การสร้างจำ�ลองพระพุทธรปู ทรงเครื่องศลิ ปะพมา่ วดั มอ่ นปูย่ ักษ์

ข้นั ตอนการปดิ ทองค�ำ เปลวพระพทุ ธรูปศิลปะพมา่ จ�ำ ลอง

งานลงรักปิดทอง คือ กรรมวิธีการตกแต่งผิวภายนอกของศิลปวัตถุ สิ่งของเครื่องใช้ และส่วนประกอบทาง สถาปัตยกรรม สำ�หรับในการอนรุ กั ษค์ รงั้ นี้ การลงรักปิดทองพระพุทธรูปศลิ ปะพม่าจ�ำ ลองนัน้ ยงั มีความหมายเกีย่ วกบั การ สบื ทอดคตคิ วามเชอ่ื ในการสร้างพระพุทธรูปเรื่องมหาปรุ ิสลักษณะของพระพุทธเจ้าท่ีมีพระฉวเี สมอื นสที องค�ำ ดงั นัน้ เทคนิค การลงรกั ปิดทองจงึ เป็นทนี่ ยิ มกันมาตงั้ แตใ่ นอดตี แบบแผนของงานศิลปกรรมการลงรักปิดทองได้ปฏิบัติสืบทอดอยู่ในแถบภูมิภาคลุ่มนำ้�โขงและสาละวินมา แตโ่ บราณกาล พบว่ามีการใชแ้ ผน่ ทองค�ำ เปลวประดับมาต้งั แต่สมัยทวารวดี ดังได้พบหลักฐานทถ่ี ้�ำ เขางู จงั หวัดราชบรุ ๓ี ๔ สว่ นในสมยั สุโขทัยกพ็ บหลักฐานการปดิ ทองในพทุ ธสถานหลายแหง่ เช่นกนั

ประเภทของงานลงรกั ปิดทอง ๑.งานปดิ ทองทึบ หมายถงึ งานลงรักและปิดทองลงบนวตั ถเุ ต็มท้ังพ้ืนผิวเรยี บ เพอื่ ใหผ้ วิ ภายนอกของวตั ถเุ ป็น ทองค�ำ ตัวอยา่ งของงานปดิ ทองทบึ ไดแ้ ก่ พระพทุ ธรปู ปดิ ทอง ๒.งานปดิ ทองลอ่ งชาด หมายถงึ งานท�ำ ลวดลายปดิ ทองในสว่ นทเ่ี ปน็ พน้ื สแี ดงซง่ึ พน้ื สแี ดงดงั กลา่ วนค้ี อื พน้ื สแี ดงชาด หรือรกั ผสมชาด ส�ำ หรับชาด ในทนี่ ห้ี มายถงึ วัตถุสแี ดงชนิดหนึ่ง มที งั้ ชนิดผงและชนดิ กอ้ น ใชท้ �ำ สีส�ำ หรับเขยี นหรอื ระบาย สำ�หรบั การปิดทองพระพทุ ธรปู ศลิ ปะพมา่ จ�ำ ลองได้เลอื กใชเ้ ทคนิคการปดิ ทองทบึ ตามรูปแบบเดิมของพระพุทธรูปท่ี ไดท้ �ำ การอนุรักษ์มากอ่ นหน้านี้

การปิดทองถือเป็นขั้นตอนที่สำ�คัญและ คลิปวดี ทิ ศั น์ การเชด็ ยางรักบนผวิ พระพทุ ธรูป ต้องใช้ยางรัก โดยนำ�ยางรักดิบผ่านการกรอง กอ่ นการปดิ ทองค�ำ เปลว มาเคี่ยวไฟเพื่อไล่น้ำ�ออก จนได้เนื้อรักที่ข้นและ เหนยี วจดั เรยี กวา่ รกั น�ำ้ เกลย้ี ง ขน้ั ตอนอนั ดบั ตอ่ ไป 267 คอื การลงยางรกั เพอ่ื เชด็ ออกหรอื ทเ่ี รยี กวา่ “รกั เชด็ ” โดยการใช้สำ�ลีหรือเศษผ้าจุ่มยางรักที่กรองแล้ว แตะลงบนผวิ พระพทุ ธรปู จากนน้ั จงึ เชด็ หรอื ถอนยาง รกั ออกให้รสู้ ึกวา่ เกอื บหมด เหลอื ยางรักเป็นเพียง แผน่ ฟลิ ม์ บางๆ เทา่ นน้ั จากนน้ั จงึ น�ำ ทองค�ำ เปลวแท้ มาปิดทับ โดยเริ่มจากตำ�แหน่งเศียรพระพทุ ธรปู ไลล่ งมาดา้ นล่าง กวดทองด้วยมอื หรือส�ำ ลี เพือ่ ให้ ทองคำ�เปลวติดแนบไปกับผิวของพระพุทธรูปให้ มากทีส่ ดุ

ขน้ั ตอนการปดิ ทองคำ�เปลวพระพทุ ธรปู ศิลปะพม่าจ�ำ ลอง

การปิดทองคำ�เปลวบรเิ วณพระพกั ตร์ของพระพุทธรูป 268

การสรา้ งจ�ำ ลองพระพทุ ธรูปทรงเครื่องศลิ ปะพมา่ วดั ม่อนป่ยู ักษ์ 269

เม่ือทำ�การลงรักปิดทองพระพุทธรูป เสรจ็ สมบรู ณแ์ ลว้ จงึ ท�ำ การเชด็ ทองค�ำ เปลวทป่ี ดิ ทบั กระจกสที ่ตี ดิ ประดบั ไวอ้ อก ดว้ ยส�ำ ลีพนั ปลายไม้ จมุ่ น�ำ้ มนั สน โดยวธิ กี ารวนปลายส�ำ ลชี า้ ๆ สที องค�ำ เปลว ก็จะหลุดออกจากกระจกสี

270

การสร้างจ�ำ ลองพระพุทธรูปทรงเครื่องศิลปะพม่า วัดมอ่ นป่ยู ักษ์

ก่อนทำ�ความสะอาดกระจกสี หลงั ทำ�ความสะอาดกระจกสี

คลปิ วดี ิทศั น์ การท�ำ ความสะอาดกระจกสี พระพุทธรูป

271

พระพทุ ธรูปทรงเคร่อื งศลิ ปะพมา่ ที่เสรจ็ สมบรู ณ์ 272

การสร้างจ�ำ ลองพระพทุ ธรูปทรงเครือ่ งศิลปะพมา่ วดั ม่อนปยู่ ักษ์

การสรา้ งพระพทุ ธรปู ศิลปะพมา่ วัดมอ่ นป่ยู กั ษ์ องคจ์ �ำ ลองในครั้งนี้ สามารถสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงคติความเช่อื แนวคิด และรปู แบบทางศิลปกรรม ที่มีความงดงามใกล้เคียงกับพระพุทธรูปองค์เดิมมากที่สุด ในกระบวนการสร้างจำ�ลอง ได้น�ำ องคค์ วามรู้ทไ่ี ด้รบั จากการศกึ ษาคน้ คว้ามาเปน็ แนวทาง ดว้ ยแนวคิด รูปแบบ และเทคนิควธิ กี ารทีแ่ สดงออกถึงภมู ปิ ญั ญาทอ้ ง ถิ่น ผสมผสานกบั ความรู้ทางด้านทัศนศิลปใ์ นปจั จบุ นั โดยเลอื กใช้เทคนิคการสร้างแม่พิมพด์ ว้ ยยางซิลโิ คนแบบ ๒ ซีก รวมทั้ง การใช้ดอกไม้ (เกสรดอกบัวและดอกมะล)ิ ทพี่ ุทธศาสนกิ ชนน�ำ มาสกั การบชู าพระพทุ ธรปู ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ทวี่ ัด ซง่ึ เป็นสื่อสญั ลกั ษณ์ ของความศรทั ธา ตามคติความเชือ่ ของชาวพุทธที่สืบทอดมาแต่เมื่อครัง้ สมัยพุทธกาล รวบรวมนำ�มาตากแหง้ แลว้ บดเป็น ผงผสมกับกาวติดไม้พลาสติกเรซ่นิ และนำ�้ สะอาด หลอ่ ลงในแม่พมิ พ์ยางซิลิโคน เพอื่ ทำ�เป็นโครงสร้างรปู ทรง สว่ นผิวนอก ขององค์พระพุทธรูป ทำ�การตกแต่งองค์ประกอบส่วนที่เป็นรายละเอียดและลวดลายเครื่องทรงอีกครั้ง ด้วยการลงรัก ปิดทองประดับกระจกสี เพอื่ ให้องคพ์ ระพทุ ธรปู มพี ทุ ธลกั ษณะงดงาม ตลอดจนเปน็ การอนรุ กั ษ์และสบื สานภมู ปิ ัญญาการ สรา้ งพระพทุ ธรปู ทรงเครื่องศลิ ปะพม่าในล้านนา

273

274

การสรา้ งจำ�ลองพระพทุ ธรูปทรงเครอื่ งศลิ ปะพมา่ วดั ม่อนปู่ยกั ษ์

การสร้างจำ�ลองพระพุทธรปู ศิลปะพมา่ วัดม่อนป่ยู ักษ์ เมืองล�ำ ปาง

๑. การกัน้ ดนิ นำ�้ มันเพ่ือสร้างแม่พิมพ์ยางซิลโิ คน ๒. การสรา้ งแมพ่ ิมพ์ยางซลิ ิโคนแบบ ๒ ซกี ๓. การเทยางซิลโิ คนลงบนพระพทุ ธรปู ตน้ แบบ ๔. แม่พมิ พ์ยางซลิ ิโคนซีกหน้า ๕. การท�ำ พิมพ์ช้ินเพอ่ื ประคองแมพ่ ิมพ์ยาง ๖. การท�ำ พิมพค์ รอบปูนพลาสเตอร์ ๗. การสร้างแมพ่ ิมพย์ างซลิ โิ คนซกี หลัง ๘. การเทยางซิลโิ คนลงบนพระพทุ ธรูปตน้ แบบ ๙. ผงเกสรดอกไมผ้ สมกาว ๑๐. การหล่อผงเกสรดอกไม้ผสมกาวลงในแมพ่ มิ พ์ ๑๑. พระพุทธรูปองคจ์ ำ�ลอง ๑๒. พระพทุ ธรูปองคจ์ ำ�ลองถอดจากแมพ่ มิ พ์ (ดา้ นหนา้ ) ๑๓. พระพุทธรูปองคจ์ �ำ ลองถอดจากแม่พิมพ์ (ดา้ นขา้ ง) ๑๔. การประดับกระจกสี ๑๕. พระพุทธรูปองค์จำ�ลองประดบั กระจกสเี รียบร้อยแล้ว ๑๖. การลงยางรกั พระพทุ ธรปู ๑๗. การปิดทองค�ำ เปลว ๑๘. พระพทุ ธรูปองค์จ�ำ ลองหลงั จากปดิ ทองคำ�เปลว

คลปิ วดี ิทศั น์ กระบวนการหลอ่ พระพุทธรปู จำ�ลอง

275

สรุปการสรา้ งจ�ำ ลองพระพทุ ธรูปทรงเครือ่ งศลิ ปะพม่า วดั มอ่ นปู่ยกั ษ์

กรรมวิธีการอนุรกั ษ์พระพทุ ธรปู ศิลปะพมา่ วดั มอ่ นป่ยู ักษ์ คร้งั นี้ ตอ้ งอาศยั ความช�ำ นาญและความถกู ตอ้ งอยา่ งสงู ในการ ปฏิบตั ิงาน โดยมจี ุดม่งุ หมายเพ่อื สงวนรกั ษาและแสดงใหเ้ หน็ ถึงคณุ คา่ ทางสุนทรยี แ์ ละทางประวัติศาสตร์ อีกทงั้ ควรยดึ ถือสภาพ ของวัสดุด้งั เดมิ การบรู ณะหรืออนรุ ักษม์ คี วามแตกตา่ งกันตามองคป์ ระกอบของสภาพวัสดทุ ่สี ร้าง ดงั เช่น พระพทุ ธรูปศลิ ปะพม่า ที่ชำ�รุด ได้ถกู สร้างข้ึนมาดว้ ยเทคนิควิธกี ารทแี่ ตกตา่ งจากพระพทุ ธรปู โดยทวั่ ไป เพราะมีการใช้เทคนคิ วธิ กี ารสร้างท่พี เิ ศษแบบสกลุ ช่างมณั ฑเลย์ ผสมผสานกบั ศิลปะของชาวไทใหญ่ โดยนำ�มวลสารจากพืช (ดอกไม้) เปน็ สว่ นผสมหลกั ผสมกบั กาวธรรมชาติ ซึ่ง เปน็ ข้อเสียเพราะมีความบอบบางแตกหกั ชำ�รุดไดง้ า่ ย แต่กม็ ีข้อดีคอื มีนำ�้ หนักเบา ซงึ่ เทคนคิ การสร้างด้วยวสั ดุอื่นๆ ไม่สามารถท�ำ ได้ เมอ่ื ได้วเิ คราะห์ถงึ กรรมวิธใี นการสร้างแล้ว ผู้เขียนจึงได้ข้อสรุปในการอนุรักษ์และการสร้างจำ�ลองที่เหมาะสมกบั ความแข็งแรงของ พระพุทธรปู โดยเลอื กใช้เทคนคิ สมยั ใหมใ่ นกระบวนการอนุรกั ษแ์ ละกระบวนการสรา้ งจ�ำ ลอง คือ วสั ดทุ ่ีเป็นส่วนประกอบหลัก มี ๓ อยา่ ง ได้แก่ ผงดอกไม้ ผงกาวเรซ่ิน และนำ้�สะอาด วสั ดทุ ง้ั สามส่วนเมือ่ ผสมกันแล้ว จะยงั คงรกั ษาคติความเชอ่ื เดิม และความงดงาม ทางศลิ ปะไวไ้ ด้ อกี ทง้ั ยงั เพม่ิ คณุ สมบตั ดิ า้ นความแขง็ แรง และมนี �ำ้ หนกั เบาอกี ดว้ ย นบั วา่ เปน็ การทดลองสว่ นผสมทป่ี ระสบความส�ำ เรจ็ โดยสามารถนำ�เทคนคิ ดังกลา่ ว มาใชใ้ นกระบวนการอนรุ กั ษ์และการสรา้ งจ�ำ ลองพระพุทธรปู ทรงเคร่อื งศิลปะพมา่ จนบรรลุผลส�ำ เร็จ เปน็ อยา่ งดี ผเู้ ขยี นไดท้ �ำ การศึกษาคน้ คว้า ทดลอง หาอตั ราส่วนในการหล่อพระพุทธรปู ด้วยผงดอกไม้ จนได้อัตราสว่ นท่ีมีความ เหมาะสม ประกอบกับเทคนิคการหลอ่ พระพุทธรูปจ�ำ ลอง ด้วยเทคนคิ สมยั ใหม่ (แม่พมิ พ์ยางซลิ ิโคนสองซกี ) นอกจากนี้ ทฤษฎีทวั่ ไปว่าด้วยการบรู ณะ (Theory of the Restoration) ได้มกี ารกลา่ วถงึ หลักทางวิชาการและวธิ ีเก่ียวกับ การบรู ณะ (Restore) ศลิ ปกรรม (Work of Art) ตลอดจนหลักฐานการบันทึกทางประวตั ศิ าสตร์ อนั เป็นเครอื่ งพิสจู น์และเปน็ หลกั ฐาน ยืนยนั (Identification) ของงานศิลปกรรม ซ่ึงหมายถึงเป็นข้อตัดสนิ ชี้ขาดของผลงานน้นั ๓๕ อยา่ งไรกด็ ี ความสัมพันธส์ ืบตอ่ เน่ือง กันมาของงานศิลปกรรมก็มีความส�ำ คญั ตอ่ งานนน้ั ดว้ ย ซึ่งในการอนรุ ักษจ์ �ำ เป็นต้องทราบถึงประวตั ิศาสตร์ ความเป็นมา และความ บันดาลใจในการสร้างสรรคผ์ ลงานนนั้ ตัวอย่างเชน่ ผลงานจติ รกรรม “The Last supper” ซง่ึ มกี ารจ�ำ ลองผลงานจติ รกรรมชน้ิ นน้ั ขน้ึ มาใหม่ โดย Andrea Solario เปน็ ตน้ ดงั นน้ั การอนรุ กั ษแ์ ละสบื สานพระพทุ ธรปู ศลิ ปะพมา่ ในครงั้ นี้ ได้สบื สานอดตี โดยการสร้างจำ�ลอง พระพุทธรูปศิลปะพม่าด้วยกรรมวิธีสมัยใหม่ คือ การสร้างแม่พิมพ์ ด้วยวิธีการถอดพิมพ์จากพระพุทธรูปองค์จริงด้วยยางซลิ โิ คน เนื่องจากมีคุณสมบัติยืดหยุ่นสูง ทนทาน สามารถหล่อซ้ำ�ได้เป็นจำ�นวนมาก อีกทั้ง ไม่ทำ�ลายหลักฐานของโบราณวัตถตุ น้ แบบ สามารถถ่ายทอดความงดงามตามอุดมคติเดิมไว้ได้อย่างครบถ้วน ตลอดกระบวนการหล่อพระพุทธรูปจำ�ลองในครั้งนี้ ได้ทำ�การ ทดลองหาอัตราส่วนที่เหมาะสม โดยวัสดุที่ใช้ในการหล่อพระพุทธรูปจำ�ลองได้ความรู้มาจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และ วทิ ยาศาสตร์ซง่ึ ท�ำ ใหผ้ เู้ ขยี นทราบถงึ มวลสารหลกั ทน่ี �ำ มาใชส้ รา้ งพระพทุ ธรปู โดยน�ำ มาจากพชื ประกอบกบั การศกึ ษาจากเอกสาร คมั ภรี ์ การสรา้ งพระพทุ ธรปู ของลา้ นนา รวมไปถงึ ขอ้ มลู จากการสมั ภาษณ์ สลา่ สรา้ งพระพทุ ธรปู ชอ่ื อเู ปยี ลอ แหง่ ทะเลสาบอนิ เล เมอื งตองยี ประเทศพมา่ ได้กล่าวถงึ กระบวนการสร้างพระพุทธรูปวา่ ตนไดน้ ำ�ดอกไม้จากการบชู าพระบวั เขม็ ทีป่ ระดษิ ฐานอยู่ภายในวหิ าร วดั พองดออู น�ำ มาตากแห้งแล้วบดใหเ้ ป็นผงละเอียด ผสมกบั กาวทีไ่ ดจ้ ากธรรมชาติ เพอื่ ใชเ้ ป็นมวลสารหลกั ในการสร้างพระพุทธรูป อย่างไรก็ดี กระบวนการศึกษาทดลองหาส่วนผสมสำ�หรับการหล่อพระพุทธรูป ผู้เขียนพบว่า หากใช้กาวที่ได้มาจาก ธรรมชาตเิ หมอื นเทคนคิ ในอดตี จะท�ำ ใหโ้ ครงสรา้ งของพระพทุ ธรปู ไมแ่ ขง็ แรงเทา่ ทค่ี วร ดงั เชน่ กรณพี ระพทุ ธรปู ศลิ ปะพมา่ วดั มอ่ นปยู่ กั ษ์ แตกชำ�รดุ ไดจ้ ากการตกกระทบลงพนื้ จงึ ไดท้ ดลองใชก้ าวทไี่ ด้จากการสงั เคราะห์ ซ่งึ มีลกั ษณะเปน็ ผงละเอียดมคี ุณสมบตั ิพิเศษ เม่อื แห้งสนิทแลว้ จะมคี วามแข็งแกร่งและทนทานมากกว่ากาวท่ีไดจ้ ากธรรมชาติ จึงได้นำ�มาเป็นส่วนผสมทดแทนกาวธรรมชาติ เพื่อใช้ ในการหลอ่ พระพุทธรูปจำ�ลองในครงั้ นี้

276

การอญั เชญิ พระพทุ ธรูปกลบั ไปประดิษฐาน ณ วัดมอ่ นปู่ยกั ษ์

การอญั เชิญพระพุทธรูปกลับไปประดษิ ฐาน ณ วัดมอ่ นปูย่ กั ษ์

สบื เน่อื งจากการอนรุ ักษ ์ พระพุทธรปู ทรงเคร่อื ง วดั ม่อนปยู่ ักษ์ เมอื งล�ำ ปาง ซ่ึงไดร้ ับความช�ำ รดุ เสียหาย ด้วยความรู้ ทไี่ ดร้ บั จากการศกึ ษาวจิ ยั เบอ้ื งตน้ ประกอบกบั ความรดู้ า้ นเทคนคิ การอนรุ กั ษง์ านศลิ ปกรรมและวทิ ยาศาสตรก์ ารอนรุ กั ษ ์อ กี ทงั้ ได้ทำ�การปรกึ ษาผูเ้ ชี่ยวชาญจากกรมศิลปากร เพอ่ื ท�ำ การปฏบิ ตั ิการบรู ณะพระพุทธรูปให้กลบั มามีสภาพดดี ังเดมิ และเสรมิ ความมั่นคงแขง็ แรงย่ิงข้นึ สง่ ผลให้ชาวบ้านในชมุ ชนวดั ม่อนปู่ยักษ์ หรอื ชุมชนบ้านปา่ ขาม เมอื งลำ�ปาง มีความรู้สกึ ยนิ ดี ทไ่ี ดพ้ ระพทุ ธรูปท่มี ีความสำ�คญั กลับคืนสู่ชมุ ชนในสภาพทีง่ ดงาม เน่ืองจากเมื่อทราบขา่ ววา่ สามารถตอ่ ประกอบชน้ิ ส่วนของ องค์พระพุทธรปู ใหก้ ลบั คนื มาเหมือนดงั เดิมได้ ชาวบ้านในชมุ ชนวัดมอ่ นปยู่ ักษไ์ ดเ้ กิดความศรัทธาตอ้ งการทจ่ี ะมสี ว่ นร่วมใน ขั้นตอนการปิดทององคพ์ ระพทุ ธรปู ดว้ ยทองคำ�เปลว ตามหลักฐานที่ปรากฏว่ามีการปดิ ทองคำ�เปลวไมใ่ ช่การทาสีทองน�ำ้ มนั ดงั นน้ั การอนรุ กั ษใ์ หอ้ งคพ์ ระพทุ ธรปู มสี ภาพทใ่ี กลเ้ คยี งสภาพเดมิ ใหม้ ากทส่ี ดุ คอื การใชเ้ ทคนคิ ลงรกั ปดิ ทอง ดว้ ยเหตผุ ลดงั กลา่ ว ชาวบ้านในชุมชนจึงได้ช่วยกันรวบรวมเงินภายในหมู่บ้านเพ่ือนำ�มาซ้ือทองคำ�เปลวติดองค์พระพุทธรูปให้สมบูรณ์ตาม หลกั ฐานเดมิ เมอ่ื วันที่ ๑๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๒ ทา่ นเจา้ อาวาสวัดม่อนป่ยู ักษ์ และชาวบ้านปา่ ขามได้จดั ขบวนอัญเชญิ พระพทุ ธรปู จากจังหวัดเชยี งใหม่ กลบั มาที่เมอื งลำ�ปาง พร้อมกบั นำ�พระพทุ ธรปู ขึ้นขบวนแห่ไปรอบเมอื ง ตลาด และชมุ ชนบ้านป่าขาม เพอ่ื เปน็ การประกาศใหท้ ุกคนทราบถึงเรื่องการกลับคืนมาของพระพทุ ธรปู ทเี่ คยแตกสลาย สรา้ งความรู้สึกตน้ื ตนั ใจกับผู้คนท่ี ทราบขา่ วพร้อมกบั การเดินทางมากราบนมสั การพระพทุ ธรปู ทวี่ ดั มอ่ นปยู่ ักษ์ตลอดจนไดม้ ีการเตรียมการจดั พธิ สี บื ชะตาให้แก่ พระพุทธรูป ไปพร้อมกับการสืบชะตาของชาวบ้านป่าขาม ในช่วงเทศกาลสงกรานต์เพราะมีความเชือ่ ว่าจะเปน็ การตอ่ อายุ ใหก้ ับพระพทุ ธรปู ใหย้ ืนยาวสบื ไป

278

การอญั เชิญพระพุทธรูปกลบั ไปประดษิ ฐาน ณ วดั ม่อนป่ยู ักษ์ คลิปวดี ทิ ัศน์ พธิ อี ัญเชญิ พระพทุ ธรปู กลบั คนื สู่ วดั ม่อนปู่ยักษ์

279

เจ้าอาวาสวดั ม่อนปู่ยักษ์ พระสมชยั จิตตสงั วโร พรอ้ มกับชาวบ้าน เดนิ ทางมาอญั เชญิ พระพุทธรูป ที่อนุรกั ษเ์ สร็จเรยี บร้อยแล้ว จากจงั หวดั เชยี งใหม่กลบั ไปประดษิ ฐาน ณ วดั ม่อนปยู่ กั ษ์ เมืองลำ�ปาง

280

การอญั เชญิ พระพทุ ธรปู กลบั ไปประดษิ ฐาน ณ วดั ม่อนป่ยู ักษ์ 281

282

การอัญเชิญพระพุทธรูปกลับไปประดษิ ฐาน ณ วัดม่อนปู่ยักษ์

การจัดพิธสี บื ชะตาให้กบั พระพทุ ธรปู วดั มอ่ นปยู่ กั ษ์

การสืบชะตาหรือสืบชาตานั้น ชาวล้านนาเชื่อว่าเป็นการต่ออายุสืบชะตากำ�เนิดให้ยืนยาวออกไป ให้เป็นมงคล ท�ำ ใหม้ คี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งสืบไป ความเชอื่ เรอ่ื งสบื ชะตานม้ี ปี รากฏในต�ำ นานและคัมภีรส์ บื ชะตาโบราณ๓๖ การจดั พธิ สี บื ชะตา พระพุทธรูปในคร้งั นี้ ทางวดั โดยทา่ นเจ้าอาวาส กรรมการวัด และชาวบา้ นไดป้ ระชมุ ร่วมกนั โดยมคี วามเห็นร่วมกันว่าควรจดั พิธีสืบชะตาให้กบั องคพ์ ระพทุ ธรปู ในวนั ที่ ๑๑ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๒ เน่อื งจากพระพทุ ธรปู ท่ีแตกแล้วไดก้ ลบั คนื มาดงั เดิมน้ัน เปรียบไดก้ บั การไดเ้ กิดใหม่ขององค์พระพุทธรูป ซึ่งชาวบ้านเองก็ได้กลับมามีขวัญและก�ำ ลังใจขน้ึ หลงั จากท่ที ราบข่าวเร่อื ง พระพทุ ธรูปถูกคนทุ่มตกลงมาแตกกระจายทั้งองค์ โดยมีกำ�หนดการในเดือนเมษายน การจัดพิธีสืบชะตาของชาวล้านนา จะนมิ นตพ์ ระสงฆท์ ต่ี นเคารพนบั ถอื มา ๙ รปู พระสงฆใ์ หศ้ ลี สวดชมุ นมุ เทวดา๓๗ และสวดมนตส์ บื ชะตาแบบลา้ นนา เจา้ อาวาส จะนั่งอยใู่ นซมุ้ เครอ่ื งสบื ชะตา ผเู้ ข้าร่วมจะมีสายสิญจนเ์ วยี นรอบศรี ษะ พร้อมกบั นง่ั ประนมมือฟงั พระเจรญิ พระพุทธมนตจ์ นจบ ชาวบ้านในชุมชนวัดม่อนปู่ยักษ์หรือบ้านป่าขามได้ร่วมกันทำ�พิธีอย่างพร้อมเพรียงกัน เพราะมีความเชื่อว่าการสืบชะตา พระพทุ ธรปู จะกอ่ ให้เกิดความสงบสุขแกท่ กุ คนในหมู่บ้านของตน

คลิปวดี ิทศั น์ บทสัมภาษณ์ชาวบา้ น วัดม่อนปยู่ กั ษ์

283

284

การอัญเชญิ พระพุทธรปู กลับไปประดษิ ฐาน ณ วัดมอ่ นป่ยู กั ษ์

คลิปวดี ิทศั น์ พธิ สี บื ชะตาพระพทุ ธรูป วดั มอ่ นปยู่ กั ษ์

285

ชาวบา้ นมารว่ มพิธสี บื ชะตาพระพทุ ธรูป เพราะเช่อื วา่ เป็นการต่ออายแุ ละเปน็ มงคลท�ำ ให้มีความเจริญร่งุ เรอื ง สรา้ งขวัญกำ�ลงั ใจ และทีส่ �ำ คัญชาวบา้ นมคี วามเชอ่ื ว่าพระพทุ ธรปู ที่อนุรักษ์เสรจ็ แล้วจะกอ่ ให้เกิดความสงบสขุ แกท่ ุกคนในหมบู่ า้ น

286

การอญั เชญิ พระพทุ ธรปู กลบั ไปประดษิ ฐาน ณ วดั ม่อนป่ยู ักษ์ 287

288

การอัญเชญิ พระพุทธรูปกลับไปประดษิ ฐาน ณ วดั ม่อนป่ยู ักษ์

คลปิ วีดิทศั น์ การอัญเชญิ พระพทุ ธรูป ประดิษฐานบนมณฑป วัดม่อนปู่ยักษ์

289

การอัญเชญิ พระพทุ ธรูปกลับไปประดิษฐาน ณ วดั มอ่ นปยู่ ักษ์

สรุป

290

สรุป

สรปุ ผลการอนรุ กั ษแ์ ละสบื สาน

การอนุรักษ์และการสืบสานพระพุทธรูปทรงเครื่องศิลปะพม่า วัดม่อนปู่ยักษ์ เมืองลำ�ปาง เป็นการศึกษาแบบ สหวทิ ยาการ ซงึ่ ประกอบดว้ ยภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ัติ เก่ียวกับการอนุรกั ษ์พระพทุ ธรปู ตลอดจนการสรา้ งพระพทุ ธรปู องคจ์ �ำ ลองด้วยเทคนิคสมยั ใหม่ เนื่องจากการจะสรา้ งพระพทุ ธรูปข้นึ แทนองคพ์ ระสมั มาสัมพุทธเจ้านน้ั ไม่ใช่เรอ่ื งง่าย รูปทรง ทส่ี รา้ งใหม้ คี วามงามตามอดุ มคตเิ พยี งอยา่ งเดยี วไมเ่ พยี งพอทจ่ี ะถา่ ยทอดความลกึ ซง้ึ ถงึ แกน่ สารแหง่ พทุ ธธรรมได้ กด็ ว้ ยพระธรรม ของพุทธองค์ที่เป็นแรงบันดาลใจให้ศิลปินคิดสร้างพระพุทธรูปขึ้น ดังนั้น ผู้เขียนจึงได้ทำ�การศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้ อนั ประกอบดว้ ย ๓ ด้านหลกั คอื ๑. ด้านประวตั ศิ าสตร์ ๒. ดา้ นศิลปกรรม ๓. ดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ การอนุรักษ์ จงึ นับได้ว่า การอนรุ ักษ์คร้ังน้ี สามารถสืบทอดวัฒนธรรมวิธีคดิ ตลอดจนภมู ิปัญญาอนั ทรงคณุ ค่าของชาวพุทธในทอ้ งถิ่น

การอนรุ กั ษแ์ ละการสบื สานพระพทุ ธรปู ศลิ ปะพมา่ ใหค้ วามส�ำ คญั ทง้ั ทศั นทางความงาม (The asthetical point of view) และทัศนะทางประวัติศาสตร์ (The Historical point of view) ซึ่งทั้งสองทัศนะถือเป็นสิ่งสำ�คัญควบคู่กับการอนุรักษ์ งานศลิ ปกรรม อันประกอบดว้ ยคุณคา่ ความงาม คณุ ค่าของหลักฐาน หมายถงึ หลกั ฐานรบั รอง (Testimomy) ของการกระทำ� ของมนุษยชาติ มีความจำ�เป็นอย่างยิ่งที่ต้องอนุรักษ์ไว้เพื่อแสดงคุณค่าทางศิลปะ และคุณค่าทางความหมายหรือเป็น สอ่ื สัญลกั ษณค์ วามศรทั ธาของชาวพุทธในอดีต ผ้เู ขียนได้ศึกษาถึงประวัติความเป็นมา แนวคิด รูปแบบ และเทคนิควิธีการสร้างพระพุทธรูปทรงเครื่องศิลปะพม่า วดั มอ่ นปูย่ กั ษ์ เมอื งล�ำ ปาง พรอ้ มทั้งทำ�การอนุรักษอ์ งคพ์ ระพุทธรปู ท่ีช�ำ รุดเสียหายอย่างมาก ให้คงสภาพที่ม่นั คง แขง็ แรง ดว้ ยองคค์ วามร้แู ละเทคนคิ การอนุรักษท์ างดา้ นศลิ ปกรรมและทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์การอนุรกั ษ์ตลอดจนการสรา้ งพระพทุ ธรปู องค์จำ�ลอง โดยนำ�องค์ความรู้ทไ่ี ด้รบั จากการศกึ ษาเบ้ืองต้นมาเปน็ แนวทาง จากการศกึ ษาขอ้ มูล ทางดา้ นประวตั ศิ าสตรศ์ ิลปะ ดา้ นโบราณคด ี และดา้ นศลิ ปกรรม ผู้เขยี นพบวา่ พระพุทธรปู ทรงเครื่องศลิ ปะพม่า วดั มอ่ นปยู่ กั ษ์ เมืองล�ำ ปาง มีรปู แบบทางพุทธศิลป์สกุลชา่ งมัณฑะเลย์ โดยประดิษฐานอยภู่ ายในวิหารไม้ ศลิ ปะไทใหญ่ ในเขตพุทธาวาสของวัดวัดม่อนปู่ยักษ์ซึ่งมีอายุราว ๑๕๐ ปี แบบแผนของสถาปัตยกรรมและงานศลิ ปกรรม แบบพม่ากับแบบไทใหญ่มีความคล้ายคลึงกัน เพราะมีรากฐานทางวัฒนธรรมและพัฒนาการร่วมกันมา วัดของชาวพม่า และไทใหญ่ในเขตวัฒนธรรมล้านนานั้น เป็นสัญลักษณ์ของจักรวาลตามคติพุทธศาสนาแบบเถรวาท ภายในวิหารนิยม ประดิษฐานพระพุทธรูปอยู่เปน็ จ�ำ นวนมาก ซงึ่ ล้วนแต่มีพุทธลักษณะงดงามและมรี ูปแบบที่แสดงถึงเอกลกั ษณ์พเิ ศษ มีความ แตกตา่ งจากพระพทุ ธรูปศิลปะลา้ นนาในยุคสมยั เดยี วกัน แตม่ พี ืน้ ฐานแนวคิดการสรา้ งเหมอื นกนั โดยเฉพาะความเชื่อว่าเม่ือ ได้สรา้ งพระพทุ ธรปู เพื่อถวายเป็นพทุ ธบูชาแลว้ ผูท้ ส่ี ร้างจะไดร้ บั อานิสงส์เป็นอันมาก ซง่ึ มหี ลักฐานปรากฏในคมั ภรี ์เก่ยี วกบั อานิสงส์ต่างๆ รวมทงั้ เนื้อหาทีป่ รากฏในต�ำ ราการสร้างพระพุทธรปู ที่ให้ความสำ�คญั กบั พทุ ธลักษณะ และการเลือกสรรวสั ดุ ทีน่ �ำ มาสร้างพระพทุ ธรปู เป็นสำ�คญั อยา่ งไรกด็ ี ชาวพทุ ธในลา้ นนายงั มคี วามเชอ่ื วา่ การสรา้ งพระพทุ ธรปู นอกจากจะเปน็ พทุ ธบชู าและสบื พระศาสนาแลว้ ในปจั จบุ นั ยงั มผี นู้ ยิ มสรา้ งพระพทุ ธรปู เพอ่ื เปน็ การบ�ำ เพญ็ กศุ ลสบื อายดุ ว้ ยดงั ปรากฏเนอื้ หาในต�ำ ราสรา้ งพระพทุ ธรปู กลา่ ววา่ เจ้าของหรอื ศรทั ธาผสู้ ร้างพระพุทธรูปถวายแก่พระศาสนาจะได้เสวยสุขทั้งในเมืองคนและเมืองฟา้ ตามระยะเวลาตา่ งๆ กนั ขึ้นอย่กู บั ลกั ษณะแห่งการก่อสร้างและวัสดุที่ใช้สร้าง โดยเฉพาะพระพุทธรูปที่สร้างจากผงดอกไม้ผสมน้ำ�รักจะมีอานสิ งส์ ไดเ้ สวยสขุ เปน็ ระยะเวลานานถึง ๑๐๐ กปั

291

ถา้ อา้ งถงึ ทศั นะทางความงามแลว้ ผเู้ ขยี นไดท้ �ำ การศกึ ษาถงึ รปู แบบและเทคนคิ กรรมวธิ กี ารสรา้ งพระพทุ ธรปู ศลิ ปะพมา่ ไปพรอ้ มๆกนั พบวา่ เปน็ พระพทุ ธรปู ปางทรงเครอื่ งหรอื ปางโปรดพญาชมพบู ดีศลิ ปะพมา่ สมยั มณั ฑะเลย์และไดร้ บั อทิ ธพิ ลดา้ น ประตมิ านวิทยาจากพระพุทธรูปสกุลช่างไทใหญ่ โดยแสดงความหมายเชิงสัญลักษณ์ตามพุทธปรัชญาเถรวาท ๔ ประการ ด้วยกัน ได้แก่ สัญลักษณ์จากแนวคิดมหาปุริสลักษณะ สัญลักษณ์จากปางพระพุทธปฏิมา สัญลักษณ์พระพุทธเจ้า องค์ปัจจุบัน และสัญลักษณ์จากวัสดุที่ใช้ในการสร้างพระพุทธปฏิมา กล่าวคือ กระบวนการสร้างพระพุทธรูปจะใช้วัสดุ ธรรมชาติหลากหลายชนิด ได้แก่ ไม้มงคล ดินหอม เกสรดอกไม้ และผงดอกไม้ผสมน้ำ�รัก โครงสร้างภายในรูปทรงของ พระพุทธรูปกลวงเปน็ โพรง อนั เปน็ ลกั ษณะโครงสร้างประติมากรรมแบบ Hollow dry-lacquer Sculpture ผิวนอกตกแต่ง รายละเอยี ดดว้ ยการปนั้ รกั กระแหนะแลว้ ลงรกั ปดิ ทองลอ่ งชาดประดบั กระจกสีซง่ึ เปน็ เทคนคิ การท�ำ เครอ่ื งรกั หรอื ทช่ี าวลา้ นนา นิยมเรยี กว่าเครอ่ื งเขิน ส่วนการอนุรักษ์พระพุทธรูปที่ชำ�รุดเสียหายอย่างหนัก ให้กลับมามีสภาพที่มั่นคง แข็งแรง ผู้เขียนได้ศึกษาจาก องคค์ วามรูแ้ ละเทคนคิ การอนรุ กั ษ์ทางดา้ นศิลปกรรมและทางด้านวทิ ยาศาสตรก์ ารอนุรักษ์ โดยทำ�การตรวจสอบองค์ประกอบ และคณุ สมบตั ขิ องวสั ดทุ ใ่ี ชใ้ นการสรา้ งพระพทุ ธรปู ดว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ เิ ลก็ ตรอนแบบสอ่ งกราดดว้ ยวธิ ี microscopical chemical test ในการวเิ คราะหธ์ าตขุ องชนิ้ งานเพอ่ื เปน็ ประโยชนต์ อ่ การใชเ้ ปน็ แนวทางพจิ ารณาถงึ วธิ กี ารและสารเคมีรวมทงั้ วสั ดทุ เ่ี หมาะสม ในการด�ำ เนินการอนุรกั ษพ์ ระพุทธรปู ตอ่ ไป ส�ำ หรับดา้ นภาคปฏบิ ตั ิการอนุรกั ษพ์ ระพทุ ธรูปวัดม่อนปูย่ ักษ์ ได้ใช้ความรจู้ าก การศกึ ษาข้อมลู ในส่วนแรก ประกอบกับเทคนิคการอนรุ ักษ์ศลิ ปกรรม และวทิ ยาศาสตรก์ ารอนรุ กั ษ์ โดยปฏิบัติขั้นตอนตา่ งๆ ตามลำ�ดบั คอื การบนั ทกึ หลักฐานและตรวจสภาพ การเตรียมวสั ดุอุปกรณแ์ ละพ้ืนท่ีปฏบิ ตั ิงานอนุรกั ษ์ การตอ่ ประสานช้นิ สว่ น พระพุทธรปู ทชี่ �ำ รดุ การทำ�ความสะอาดพระพุทธรปู ทต่ี ่อประสานแลว้ การเสรมิ ความมัน่ คงของช้นั ผวิ พระพทุ ธรปู ทชี่ �ำ รดุ และ การเสรมิ ช้นิ ส่วนพระพทุ ธรปู ให้สมบูรณ์ ตลอดจนการลงรักปิดทองคำ�เปลว ส่วนสุดทา้ ยของการอนุรักษ์ครงั้ น้ี คอื การสรา้ งพระพุทธรูปองคจ์ �ำ ลอง โดยน�ำ องคค์ วามรทู้ ่ีไดร้ บั จากการศึกษา เบ้อื งต้นมาเป็นแนวทางในการสรา้ ง ดว้ ยแนวคิด รปู แบบ และเทคนคิ วิธีการท่แี สดงออกถึงภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ผสมผสานกบั ความร้ทู างดา้ นทัศนศิลปใ์ นปัจจุบนั ผเู้ ขยี นไดใ้ ชว้ ธิ กี ารสรา้ งแมพ่ ิมพพ์ ระพุทธรปู ด้วยยางซลิ ิโคนแบบ ๒ ซกี ตลอดจนเลือกใช้ วสั ดทุ ่ีใกล้เคียงกบั อดีตคือ เกสรดอกบัวและดอกมะลติ ากแหง้ ท่ีบดละเอยี ดเปน็ ผง โดยรวบรวมมาจากดอกไมท้ ีช่ าวพุทธน�ำ มา สักการบูชาพระพุทธรูป และผ่านพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ภายในพุทธสถาน คนล้านนาจะเรียกว่า “ดอกอุโบสถ” ซึ่งเป็น สือ่ สญั ลกั ษณ์ของความศรทั ธา ตามคติความเชือ่ ของชาวพทุ ธท่ีสบื ทอดมาแตเ่ มือ่ ครัง้ สมยั พุทธกาล นำ�มาผสมกับกาวผงติด ไมแ้ ละน�ำ้ สะอาด หล่อลงในแม่พมิ พ์ เพอ่ื ท�ำ เปน็ โครงสร้างรูปทรงพระพทุ ธรูป ส่วนผวิ นอกขององค์พระพทุ ธรปู ท�ำ การแต่ง รายละเอยี ดของผวิ และลวดลายเครอื่ งทรงอกี ครง้ั ขน้ั ตอนสดุ ทา้ ยไดแ้ ก่การลงรกั ปดิ ทองประดบั กระจกสีเพอ่ื ใหอ้ งคพ์ ระพทุ ธรปู มีพุทธลกั ษณะงดงาม อนั เปน็ ไปตามคตคิ วามเชอ่ื และประเพณกี ารสร้างพระพทุ ธรปู ทรงเครอ่ื ง ศิลปะพมา่ ในล้านนา อนึ่ง กระบวนการอนุรักษ์และสร้างจำ�ลองพระพุทธรูปนับว่าเป็นการสร้างองค์ความรู้ใหม่ให้เกิดขึ้น เพราะมี การทดลองคน้ หา กรรมวิธี กระบวนการ และอตั ราส่วนของวสั ดุท่ีมีความเหมาะสมในการหล่อพระพทุ ธรูป เพอ่ื เป็นประโยชน์ กับการอนุรักษ์งานศิลปกรรมท้องถิ่นที่มีลักษณะใกล้เคียงกันในอนาคต ตลอดจนสะท้อนถึงคุณค่าและความสำ�คัญของ พระพุทธปฏมิ าทีม่ ตี ่อจติ ใจของชาวพทุ ธย่านบา้ นปา่ ขาม อำ�เภอเมือง จงั หวดั ล�ำ ปาง โดยการอัญเชิญพระพทุ ธรูปที่ผ่าน กระบวนการอนุรักษ์แล้วกลับคืนสู่ชุมชน จากสภาพที่มีความชำ�รุดเสียหาย นำ�กลับคืนเป็นองค์พระพุทธรูปที่งดงาม สร้าง ความภาคภูมิใจ เกิดขวญั และกำ�ลงั ใจแกช่ าวบ้านท่ีตา่ งรอคอยเวลาอัญเชิญพระพทุ ธรูปกลับคืนมาประดิษฐานภายในวหิ ารไม้ ของวดั อกี คร้ัง พรอ้ มท้ังก่อใหเ้ กิดพลงั ศรัทธา พระสงฆ์และชาวบ้านร่วมกันจดั พธิ ีสืบชะตาใหก้ ับพระพทุ ธรปู ทีไ่ ด้กลบั คนื มา นับเป็นการอนุรกั ษส์ บื ทอด วฒั นธรรมวธิ ีคดิ และภูมปิ ัญญาการสรา้ งพระพุทธรปู อันเปน็ มรดกทางวัฒนธรรมของชาตสิ ืบไป

292

สรปุ

ขอ้ คิดในอดตี จากข้อสรุปในการประชุมสัมมนา เร่อื ง การปฏบิ ัตกิ ารทางเทคนคิ การอนรุ ักษ์พระพุทธรูป ซึ่งจดั โดย ฝ่ายอนุรักษ์จิตรกรรมฝาผนังและประติมากรรมติดที่ เมื่อวันที่ ๓ - ๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๗ ณ หอวชิราวุธานุสรณ์ มีผู้เข้าร่วมประชุมจากหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในเรื่องการอนุรักษ์พระพุทธรูป อาทิ กรมศิลปกร พระภิกษุสงฆ์ คณะโบราณคดี คณะจิตรกรรม ประตมิ ากรรม และภาพพมิ พ์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร รวมท้งั สถาบนั ทางการศกึ ษาต่างๆ โดย ได้มีการแบง่ กลมุ่ สมั มนาร่วมกนั จนมีขอ้ สรปุ หลายประเดน็ ทน่ี ่าสนใจ แบง่ ออกเปน็ ๔ กลมุ่ ได้ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ การวิเคราะห์คณุ ค่าของพระพุทธรูป เพือ่ ประกอบการอนุรกั ษ์ ไดม้ กี ารเสนอให้พิจารณาถึงความงาม ของพระพุทธรูปที่ชำ�รุด จะต้องคำ�นึงถึงความประสานประโยชน์ซึ่งกันและกัน ทั้งคุณค่าด้านโบราณคดี ประวัติศาสตร์ ความงามด้านองค์ประกอบศิลปกรรม และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนความมีสุทรียภาพของพระพุทธรูปนน้ั กบั ความศรัทธาของ พทุ ธศาสนกิ ชน ท้ังน้ี ควรมีการพิจารณาเปน็ กรณๆี ไปเชน่ เดียวกบั กรณีการอนรุ กั ษพ์ ระพทุ ธรูปศิลปะพมา่ ท่ีมคี วามชำ�รุด เมอื่ พจิ ารณาทัง้ ด้านความงามและโบราณคดี ตลอดจนมีการศึกษาจากหลักฐานต่างๆ เชน่ หลักฐานจากรูปถ่าย หลกั ฐานจาก เอกสารวิชาการ ตลอดจนถงึ การสัมภาษณ์ จงึ ไดข้ อ้ สรปุ ในการดำ�เนนิ การหาวิธกี ารอนุรักษ์ให้ถูกตอ้ งตามข้ันตอนดังทีผ่ เู้ ขยี น ไดเ้ รียบเรยี งไวใ้ นหนังสอื เล่มน้ี กล่มุ ท่ี ๒ การอนรุ ักษพ์ ระพุทธรูปในโบราณสถานหรือวัดรา้ ง ได้เสนอให้พจิ ารณาสภาพความช�ำ รุดและวธิ ีการ อนุรักษ์ว่า หากดำ�เนินการอนุรักษ์ให้มีความแข็งแรงมั่นคง ต้องรักษาสภาพเดิมไว้ให้มากที่สุดและจำ�เป็นต้องมีหลกั ฐาน ทางด้านวัตถุ ภาพถา่ ย สว่ นความประสานกลมกลืนในการตอ่ เติมน้ัน จะตอ้ งมคี ณะกรรมการพจิ ารณา อันประกอบด้วย นกั วชิ าการสาขาตา่ งๆ ทง้ั น้ี การอนรุ กั ษพ์ ระพทุ ธรปู ศลิ ปะพมา่ มกี ารด�ำ เนนิ การอนรุ กั ษโ์ ดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ คอื ท�ำ ใหพ้ ระพทุ ธรปู ประกอบกลบั มาใหม้ ีสภาพใกล้เคยี งดังเดมิ ให้มากทส่ี ดุ พรอ้ มกบั ความแข็งแรงม่นั คง ด้วยการเสรมิ ผ้าขาวบางระหว่างรอยตอ่ ของชิ้นส่วนพระพุทธรูป ทำ�ให้พระพุทธรูปมีความแข็งแรงหลังจากการอนุรักษ์และทำ�ความสะอาดสีน้ำ�มันที่ทาทับบน ผิวพระพทุ ธรปู เดมิ ไว้ พร้อมทง้ั ใชว้ สั ดเุ ดมิ คอื ทองค�ำ เปลวปดิ ทบั บนผวิ พระพุทธรูป นบั วา่ เป็นการรักษาสภาพเดมิ ไว้พร้อม การเสรมิ ความแขง็ แรงให้มอี ายุยืนยาวขน้ึ ในการเก็บรักษา กลมุ่ ท่ี ๓ การอนรุ กั ษพ์ ระพทุ ธรปู ในศาสนาสถานและพพิ ธิ ภณั ฑ์ ซง่ึ ทป่ี ระชมุ ไดเ้ สนอเรอ่ื งการก�ำ หนดวา่ พระพทุ ธรปู น้ี มฐี านะเปน็ ทง้ั ปชู นยี วตั ถแุ ละโบราณวตั ถุ การจะพจิ ารณาหาแนวทางการอนรุ กั ษน์ น้ั จะตอ้ งพจิ ารณาถงึ ฐานะของพระพทุ ธรปู แตล่ ะองคท์ ่ีเป็นอยู่โดยแนวทางที่ควรปฏบิ ตั ิของเจา้ หนา้ ท่ีต่อไป ดงั นี้ ๑. มกี ารลงทะเบยี นบนั ทึกรายละเอยี ดถึงสภาพช�ำ รุด สภาพก่อนอนุรักษข์ องพระพทุ ธรูป ๒. มีการวิเคราะหถ์ งึ ภาพถ่าย มีการบนั ทกึ พจิ ารณาถึงวัสดทุ ่ใี ช้สร้างองคพ์ ระพทุ ธรปู ๓. มกี ารวเิ คราะห์ถึงสาเหตกุ ารช�ำ รดุ และมีการพิจารณาแนวทางในการกำ�จดั และปอ้ งกันการชำ�รุด จากทั้ง ๓ แนวทางปฏิบัติดังกล่าว ผู้เขียนได้นำ�มาปฏิบัติและเขียนเรียบเรียงรายละเอียดไว้ในหนังสือ เพื่อเป็น ตวั อย่างในการอนุรักษ์พระพุทธรูปให้คงอยู่สภาพเดิม พร้อมทำ�หน้าที่ทั้งปูชนียวัตถุให้ผู้คนได้สักการะบูชาและโบราณวตั ถุ เพอื่ ประโยชน์ในการศึกษาตอ่ ไปในอนาคตด้านประวตั ศิ าสตร์ กลุ่มท่ี ๔ ประเด็นสดุ ท้ายจากการสรุปประชมุ สมั มนากลุม่ ที่ ๔ เรอื่ ง การปฏบิ ตั ิการทางเทคนคิ การอนรุ กั ษพ์ ระพทุ ธรปู น้นั ทป่ี ระชมุ มีความเห็นว่า โดยสว่ นใหญ่แลว้ วัสดทุ น่ี �ำ มาสรา้ งพระพทุ ธรูปน้ันมักไดแ้ ก่ หนิ ไม้ ดิน ปูน โลหะ ฯลฯ ซ่งึ วัสดุ ท่ีนับว่ามปี ญั หาต่อการอนุรกั ษ์มากท่สี ุด ได้แก่ การก่ออิฐฉาบปนู ส�ำ หรบั การอนรุ กั ษ์พระพุทธรูปศิลปะพม่าน้ัน พบว่า วัสดุ ที่ใชส้ ร้างมคี วามแตกต่างจากท่ีเคยทราบกนั มาก่อน เนอ่ื งจากสาเหตุการชำ�รุด เกิดจากการตกกระทบลงมาจากทสี่ ูง ทำ�ให้ พระพทุ ธรูปแตกออกเป็นชิน้ เลก็ ชน้ิ นอ้ ย แตส่ าเหตุส�ำ คัญของการชำ�รุดกค็ ล้ายกับพระพุทธรูปทสี่ ร้างจากวสั ดุอ่ืนคอื เกดิ จาก การกระท�ำ ของมนุษย์ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ผ้เู ขยี นจึงได้ทำ�การศกึ ษาถงึ วสั ดุทใ่ี ชส้ ร้างพระพุทธรูป โดยการนำ�ช้นิ ส่วน

293

ไปตรวจทางวทิ ยาศาสตรด์ ว้ ยกลอ้ งจุลทรรศนอ์ เิ ลก็ ตรอน พบว่าชนิ้ ส่วนนนั้ เป็นเซลลูโลสจากพชื อีกท้งั ไดท้ ำ�การศกึ ษาจาก คมั ภรี โ์ บราณล้านนาเรอื่ ง อานิสงสก์ ารสรา้ งพระพุทธรปู จากผงเกสรดอกไม้ ซ่ึงนบั วา่ มคี วามใกลเ้ คยี งสอดคลอ้ งกนั มากที่สดุ เมื่อท�ำ การศกึ ษาด้านเทคนคิ และรปู แบบการสรา้ งพระพทุ ธรปู ศิลปะพมา่ พบว่าเป็นท่ีนิยมในกลุม่ ชาวพม่าและไทใหญ่ อยา่ งไรกด็ ี ในปัจจบุ นั ยังมสี ลา่ สร้างพระพุทธรูปดว้ ยเทคนคิ ดงั กลา่ วทท่ี ะเลสาบอินเล เมืองตองยี ประเทศพม่า เทคนคิ การสร้างน้ยี ังด�ำ เนินในหมู่บา้ นกลางทะเลสาบอนิ เลมีความพิเศษของเน้ือวัสดุตลอดจนรปู แบบการสรา้ งจงึ เป็นขอ้ สรุป ทส่ี ามารถด�ำ เนินการอนุรักษ์ ผู้เขยี นพยายามเกบ็ รายละเอยี ดของการอนรุ ักษท์ ุกข้นั ตอน เพ่อื ท่จี ะสามารถนำ�มาเปน็ ตวั อยา่ ง ในการปฏิบัติการอนุรักษ์พระพุทธรูปที่มีความชำ�รุดคล้ายกัน ทั้งในรูปแบบของภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว สิ่งสำ�คัญ อีกประการหนงึ่ ของกระบวนการอนรุ กั ษพ์ ระพทุ ธรูปศลิ ปะพม่าคร้งั นี้ก็คอื การไดส้ ร้างพระพุทธรูปจ�ำ ลองข้นึ ใหม่ดว้ ยเทคนคิ สมัยใหม่ แต่ยงั คงรกั ษาคุณค่าของคตคิ วามเชอ่ื เดมิ เร่ืองวสั ดใุ นการสรา้ งพระพุทธรปู ด้วยเกสรดอกไม้ นบั ว่าเป็นการเผยแพร่ และสบื สานวฒั นธรรมการสรา้ งพระพุทธรูปทม่ี ีมาในอดตี ให้กลบั มามคี ุณค่าในปจั จบุ นั ดงั เจตนารมณท์ ี่ผู้เขียนไดท้ ุ่มเทกำ�ลงั ความสามารถอย่างสูงสดุ ในการอนรุ กั ษ์พระพุทธรูปองคน์ ้ี เพราะเปน็ งานทีใ่ หมแ่ ละตอ้ งอาศยั ความรคู้ วามเขา้ ใจ ตลอดจน ความชำ�นาญการในด้านการอนุรักษ์ ทำ�ให้เกิดความรู้สึกภาคภูมิใจ เพราะพระพุทธรูปได้กลับคืนสู่ชุมชนผู้เป็นเจ้าของ วฒั นธรรม ทั้งน้ี ชาวบ้านปา่ ขามมคี วามศรทั ธาต่อองคพ์ ระพุทธรปู ท่มี ใิ ช่เพยี งแค่โบราณวัตถุ แตเ่ ปรยี บเสมือนเปน็ มง่ิ ขวญั และศนู ยร์ วมจิตใจของชุมชน

294

สรุป

เชงิ อรรถ

๑ ราชบณั ฑติ ยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ศิลปกรรม อกั ษร ก-ฮ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรงุ เทพฯ : ดา่ นสุทธาการพมิ พ์ จ�ำ กดั , ๒๕๕๐. หนา้ ๕๖๔. ๒ ศลิ ปากร, กรม. สรปุ การสัมมนา เรอื่ งการอนรุ กั ษ์พระพุทธรปู . กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริน้ ติ้งเฮา้ ส,์ ๒๕๓๓. หนา้ ๑๑๔. ๓ เขมานนั ทะ(นามแฝง). อนั เนอ่ื งกับทางไท. กรงุ เทพฯ : ปกเกลา้ การพมิ พ,์ ๒๕๓๘. หน้า ๑๒๘. ๔ เรื่องเดียวกัน. หนา้ ๑๒๘. ๕ สรุ พล ดำ�รหิ ก์ ุล. ลา้ นนา สง่ิ แวดลอ้ ม สงั คม และวฒั นธรรม. กรุงเทพฯ : คอมแพคพรินท์ จำ�กดั , ๒๕๔๒. หนา้ ๑๗๒. ๖ เรอื่ งเดียวกัน. หนา้ ๒๑๖. ๗ สมเกียรติ โล่ห์เพชรตั น์. พระพทุ ธรปู ศลิ ปะพม่า. กรงุ เทพฯ : อมรินทร,์ ๒๕๕๐. หนา้ ๗๘. ๘ สายนั ต ์ ไพรชาญจติ ร.์ การศกึ ษาเพอ่ื การอนรุ กั ษแ์ ละพน้ื ฟปู ระเพณกี ารท�ำ บญุ ดว้ ยการสรา้ งพระพทุ ธรปู ไมใ้ นจงั หวดั นา่ น. กรุงเทพฯ : สำ�นักงานคณะกรรมการวจิ ยั แห่งชาติ, ๒๕๔๕. หนา้ ๑๖. ๙ สถาบนั วจิ ยั สังคม มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม.่ ไทใหญ่ ความเปน็ ใหญ่ในชาตพิ นั ธ.ุ์ เชียงใหม่ : โครงการพพิ ธิ ภัณฑ ์ วัฒนธรรมและชาตพิ ันธลุ์ ้านนา, ๒๕๕๑. หน้า ๑๓๐. ๑๐ สมเกยี รติ โล่ห์เพชรัตน์. พระพุทธรปู ศิลปะพม่า. กรุงเทพฯ : อมรินทร์, ๒๕๕๐. หนา้ ๗๘. ๑๑ เรื่องเดียวกัน, หนา้ ๘๐. ๑๒ เรอื่ งเดยี วกนั , หนา้ ๗๙. ๑๓ เรื่องเดียวกัน, หน้า ๗๘. ๑๔ เรอ่ื งเดียวกนั , หนา้ ๘๐. ๑๕ สมเกยี รติ โลห่ เ์ พชรัตน.์ พระพุทธรปู ในเอเชีย. กรงุ เทพฯ : อมรินทร์, ๒๕๔๘. หน้า ๓๑๖. ๑๖ รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรอื ง. พระพุทธปฏมิ าสยาม. กรุงเทพฯ : มิวเซียมเพรส, ๒๕๕๓. หน้า ๔๗. ๑๗ ไขศรี ศรอี รณุ . พระพุทธรปู ปางต่างๆในสยามประเทศ. กรงุ เทพฯ : สำ�นักพมิ พ์มติชน, ๒๕๔๖. หน้า ๒๑. ๑๘ เรอ่ื งเดียวกัน. หนา้ ๒๘-๒๙. ๑๙ ร่งุ โรจน์ ธรรมรงุ่ เรือง. พระพุทธปฏิมาสยาม. กรงุ เทพฯ : มิวเซยี มเพรส, ๒๕๕๓. หนา้ ๕๓. ๒๐ หลวงภัณฑลกั ษณวจิ ารณ์. เร่ืองทา้ วมหาชมพ.ู กรุงเทพฯ : โรงพมิ พโ์ สภณพพิ รรฒธนาการ, ๒๔๖๔. หนา้ ๑๓. ๒๑ ศิลปากร, กรม. สรปุ การสมั มนา เร่อื งการอนรุ ักษ์พระพทุ ธรูป. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พรนิ้ ตงิ้ เฮ้าส,์ ๒๕๓๓. ๒๒ เรอื่ งเดียวกัน. หน้า ๓๓. ๒๓ เร่ืองเดียวกนั . หนา้ ๑๔๓. ๒๔ ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานกุ รมศัพทศ์ ิลปกรรม อกั ษร ก-ฮ ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน. กรงุ เทพฯ : ดา่ นสทุ ธาการพมิ พ์ จำ�กัด, ๒๕๕๐. หนา้ ๕๖๔. ๒๕ ศลิ ปากร, กรม. สรปุ การสมั มนา เร่อื งการอนรุ กั ษพ์ ระพทุ ธรปู . กรงุ เทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติง้ เฮา้ ส,์ ๒๕๓๓. หน้า ๑๑. ๒๖ เอกวิทย์ ณ ถลาง. ภูมิปัญญาลา้ นนา. พมิ พค์ รั้งที่ ๒. กรงุ เทพฯ : อมรนิ ทร์. ๒๕๔๔. หน้า ๔๙. ๒๗ สวุ ิทย์ วทิ ยาจกั ษ.ุ์ การสรา้ งแม่พมิ พ์เพอื่ งานหล่อ. กรงุ เทพฯ : วาดศิลป์, ๒๕๕๐. หนา้ ๕๑.

295

๒๘ เรอื่ งเดยี วกนั , หน้า ๖๑. ๒๙ เร่ืองเดยี วกัน, หน้า ๖๑. ๓๐ เรื่องเดยี วกัน, หน้า ๖๑. ๓๑ งานช่างศลิ ป์ไทย : ปูนปนั้ เครอื่ งถมและลงยา เครอ่ื งรกั ประดบั มุก ประดับกระจก. กรงุ เทพฯ : แสงแดดเพอ่ื เดก็ (คติ), ๒๕๕๕. หนา้ ๒๑๓. ๓๒ ศลิ ปากร, กรม. สัมมนาวิชาการ ศึกษายางรักเพื่ออนุรกั ษ์ภูมปิ ัญญาไทยอนั เนื่องมาจากพระราชด�ำ ริ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี. กรุงเทพฯ : อมรินทร,์ ๒๕๕๑. หนา้ ๓๔. ๓๓ งานชา่ งศลิ ป์ไทย : ปนู ปัน้ เครื่องถมและลงยา เครอ่ื งรกั ประดบั มุก ประดบั กระจก. กรุงเทพฯ : แสงแดดเพือ่ เด็ก(คต)ิ , ๒๕๕๕. หนา้ ๑๑๓. ๓๔ ศลิ ปากร, กรม. สมั มนาวิชาการ ศกึ ษายางรกั เพื่ออนุรกั ษ์ภูมิปัญญาไทยอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำ�ริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร.ี กรุงเทพฯ : อมรนิ ทร,์ ๒๕๕๑. หนา้ ๑๒. ๓๕ เรื่องเดยี วกัน, หนา้ ๙. ๓๖ มณี พยอมยงค์. ประเพณีสบิ สองเดือนล้านนาไทย. เชียงใหม่ : ทรพั ย์การพมิ พ,์ ๒๕๔๗. หน้า ๘๘. ๓๗ เร่อื งเดยี วกัน.​ หนา้ ๘๘.

296

สรุป

บรรณานุกรม

เขมานนั ทะ(นามแฝง). อันเน่อื งกับทางไท. กรุงเทพฯ : ปกเกลา้ การพมิ พ,์ ๒๕๓๘. ไขศร ี ศรอี รุณ. พระพทุ ธรปู ปางตา่ งๆในสยามประเทศ. กรงุ เทพฯ : สำ�นกั พิมพ์มตชิ น, ๒๕๔๖. งานชา่ งศลิ ปไ์ ทย : ปนู ปน้ั เครอ่ื งถมและลงยา เครอ่ื งรกั ประดบั มกุ ประดบั กระจก. กรงุ เทพฯ : แสงแดดเพอ่ื เดก็ (คต)ิ , ๒๕๕๕. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรงุ เทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๙. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับหลวง. กรุงเทพฯ : กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๒๕. มณี พยอมยงค.์ ประเพณสี ิบสองเดือนล้านนาไทย. เชียงใหม่ : ทรัพย์การพิมพ,์ ๒๕๔๗. ราชบณั ฑติ ยสถาน. พจนานกุ รมศพั ทศ์ ลิ ปกรรม อกั ษร ก-ฮ ฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน. กรงุ เทพฯ : ดา่ นสทุ ธาการพมิ พ์ จ�ำ กดั , ๒๕๕๐. รงุ่ โรจน์ ธรรมรุง่ เรือง. พระพทุ ธปฏมิ าสยาม. กรงุ เทพฯ : มวิ เซียมเพรส, ๒๕๕๓. ศลิ ปากร, กรม. สัมมนาวิชาการ ศกึ ษายางรกั เพือ่ อนุรกั ษภ์ ูมิปัญญาไทยอนั เนือ่ งมาจากพระราชด�ำ ริ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร.ี กรุงเทพฯ : อมรนิ ทร,์ ๒๕๕๑. . สรปุ การสมั มนา เรอ่ื งการอนุรักษพ์ ระพุทธรปู . กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พร้นิ ติง้ เฮ้าส,์ ๒๕๓๓. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลยั เชยี งใหม.่ ไทใหญ่ ความเปน็ ใหญใ่ นชาติพนั ธ.์ุ เชยี งใหม่ : โครงการพพิ ิธภัณฑว์ ัฒนธรรม และชาติพันธล์ุ า้ นนา, ๒๕๕๑. สมเกียรติ โล่ห์เพชรัตน.์ พระพทุ ธรปู ในเอเชยี . กรงุ เทพฯ : อมรินทร์, ๒๕๔๘. .พระพทุ ธรปู ศลิ ปะพมา่ . กรุงเทพฯ : อมรินทร์, ๒๕๕๐. สายนั ต ์ ไพรชาญจติ ร.์ การศกึ ษาเพอ่ื การอนรุ กั ษแ์ ละพน้ื ฟปู ระเพณกี ารท�ำ บญุ ดว้ ยการสรา้ งพระพทุ ธรปู ไมใ้ นจงั หวดั นา่ น. กรงุ เทพฯ : ส�ำ นกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาต,ิ ๒๕๔๕. สรุ พล ดำ�ริหก์ ลุ . ล้านนา สง่ิ แวดลอ้ ม สังคม และวฒั นธรรม. กรงุ เทพฯ : คอมแพคพรนิ ท์ จ�ำ กัด, ๒๕๔๒. สุวทิ ย์ วทิ ยาจกั ษุ์. การสรา้ งแมพ่ ิมพ์เพอื่ งานหล่อ. กรงุ เทพฯ : วาดศิลป,์ ๒๕๕๐. หลวงภัณฑลกั ษณวจิ ารณ.์ เรอ่ื งทา้ วมหาชมพ.ู กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์โสภณพพิ รรฒธนาการ, ๒๔๖๔. เอกวทิ ย์ ณ ถลาง. ภูมปิ ญั ญาลา้ นนา. พิมพ์ครงั้ ท่ี ๒. กรุงเทพฯ : อมรนิ ทร,์ ๒๕๔๔.

297

ทพิ วรรณ ทง่ั ม่งั มี ประวัติผู้เขียน

การศกึ ษา พ.ศ. 2539 ศิลปบัณทติ สาขาจติ รกรรม คณะวิจิตรศิลป์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ พ.ศ. 2541 ศลิ ปมหาบัณทติ สาขาจติ รกรรม คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต สาขาภมู ิภาคลุ่มนำ้�โขง พ.ศ. 2556 และสาละวนิ ศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่

ปัจจบุ ัน รองศาสตราจารย์ ประจ�ำ สาขาศิลปะและการออกแบบ รองคณบดี ฝ่ายวชิ าการและประกนั คุณภาพการศกึ ษา

ประธานกรรมการบริหารหลกั สตู รดุษฎีบณั ฑิต สาขาศลิ ปะและการออกแบบ

คณะวจิ ิตรศิลป ์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่

รางวัลเกยี รตยิ ศ พ.ศ. 2544 รางวลั ดเี ดน่ การประกวดศลิ ปกรรม ปตท. ครง้ั ท่ี 16 หวั ขอ้ งานศลิ ปเ์ พอ่ื แผน่ ดนิ ไทยงดงาม (Art For Beautiful Thailand) พ.ศ. 2546 รางวัลดเี ดน่ การประกวดจิตรกรรมรว่ มสมยั พานาโซนิค ครงั้ ท่ี 4 พ.ศ. 2552 รางวัลมหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ นักวิจัยรนุ่ ใหม่ดีเด่น “ช้างทองคำ�” ประจ�ำ ปี 2552 พ.ศ. 2555 รางวัลศิษยเ์ ก่าดีเดน่ คณะวจิ ติ รศิลป์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ เน่อื งในโอกาสครบรอบ 30 ปี คณะวิจติ รศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่

พ.ศ. ๒๕๕๗ รางวลั วทิ ยานพิ นธ์ดีเยย่ี ม เร่อื ง ภมู ิปัญญาการสร้างพระพุทธรปู เกสรดอกไมเ้ พอ่ื

การสร้างพระพทุ ธปฏิมาร่วมสมยั บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชียงใหม่ ประสบการณ์การท�ำ งาน พ.ศ. 2539 – พ.ศ. 2540 นกั วิชาการทางศิลปะ ฝา่ ยอนุรกั ษ์ จิตรกรรมฝาผนงั กรมศิลปากร พ.ศ. 2541 – พ.ศ. 2542 ผเู้ ชย่ี วชาญทางศลิ ปะ ฝา่ ยอนรุ ักษ์ จิตรกรรมฝาผนงั กรมศลิ ปากร พ.ศ. 2544 – พ.ศ. 2549 อาจารยป์ ระจำ�สาขาจิตรกรรม คณะวจิ ิตรศิลป์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม ่ พ.ศ. 2550 – พ.ศ. 2555 ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยส์ าขาจิตรกรรม คณะวิจิตรศลิ ป์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2556 – ปัจจุบัน รองศาสตราจารยป์ ระจ�ำ สาขาศลิ ปะและการออกแบบ คณะวิจิตรศิลป ์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่

ผลงานวิจยั พ.ศ. 2546 การจัดองค์ประกอบศิลป์ในงานจติ รกรรมฝาผนังลา้ นนา Compositional Arrangement in Lanna Mural Paintings. พ.ศ. 2548 จติ รกรรมบนผนื ผ้าศิลปะแบบพม่า วดั มอ่ นปู่ยกั ษ์ เมอื งล�ำ ปาง Myanmar Cloth Paintings at Wat Monpooyak Lampang Province.

298