ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ

เผยแพร่: 23 ก.ค. 2557 13:25 โดย: MGR Online

ศรีสะเกษ- ฝนถล่มต่อเนื่อง 2 วัน น้ำไหลทะลักท่วม อ.เบญจลักษ์ ศรีสะเกษ บ้าน ปชช.กว่า 500 หลังคาเรือนจมใต้น้ำ ถนนสายหลัก อ.เบญจลักษ์-จ.อุบลราชธานี ถูกตัดขาดน้ำท่วมยาวกว่า 1 กม. จนท.ปิดการจราจรให้เลี่ยงไปใช้เส้นทางอื่น ด้าน ปภ. ทหารระดมช่วยเหลือ ขณะ อ.กันทรลักษ์ และ อ.พยุห์ เกิดน้ำท่วมถนน บ้านเรือนเช่นกัน

เมื่อเวลา 12.00 น. วันนี้ (23 ก.ค.) ผู้สื่อข่าวรายงานว่า จ.ศรีสะเกษได้เกิดฝนตกหนักติดต่อกันมา 2 วัน ส่งผลให้ขณะนี้ที่บ้านหนองงูเหลือม หมู่ 1, 2, 3, 11 และหมู่ 13 ต.หนองงูเหลือม อ.เบญจลักษ์ จ.ศรีสะเกษ ได้เกิดน้ำท่วมบ้านเรือนประชาชนกระจายเป็นบริเวณกว้าง รวมกว่า 500 หลังคาเรือน ระดับน้ำท่วมสูงถึง 1.60 เมตร ชาวบ้านต้องช่วยกันขนย้ายข้าวของหนีน้ำท่วมกันอย่างโกลาหล โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าวเปลือกที่เก็บเอาไว้ถูกน้ำท่วมได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก

ทางด้านสำนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดศรีสะเกษ ร่วมกับเจ้าหน้าที่ทหารกองกำลังรักษาความสงบเรียบร้อยประจำพื้นที่ จ.ศรีสะเกษ ได้นำเรือยาวและเรือท้องแบนจำนวน 35 ลำ ไปช่วยเหลือชาวบ้านขนย้ายสิ่งของหนีน้ำท่วมอย่างเต็มที่

นางบุญ สีเสน อายุ 48 ปี อยู่บ้านเลขที่ 381 หมู่ 3 ต.หนองงูเหลือม อ.เบญจลักษ์ กล่าวว่า ฝนได้ตกหนักติดต่อกันมา 2 วันแล้ว และเมื่อช่วงเวลาประมาณ 03.30 น. ของวันนี้ (23 ก.ค.) น้ำได้ไหลทะลักเข้ามาท่วมบ้านเรือนเร็วมาก ตนและเพื่อนบ้านต้องพากันปลุกลูกหลานและญาติพี่น้องลุกขึ้นมาช่วยกันขนทรัพย์สินไปไว้ที่สูง แต่เนื่องจากน้ำไหลเข้ามาเร็วมากทำให้ทรัพย์สินของตนและญาติพี่น้องถูกน้ำท่วมได้รับความเสียหายเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าวเปลือกที่กองเอาไว้ในบ้านถูกน้ำท่วมเสียหายหมด

ทางด้านเจ้าหน้าที่จากสำนักงานการไฟฟ้า อ.เบญจลักษ์ ได้เข้ามาตัดกระแสไฟฟ้าเพื่อความปลอดภัย ขณะที่ชาวบ้านต้องอาศัยเรือที่ทางราชการส่งมาให้ใช้ในการเดินทางเข้าออกหมู่บ้าน เพื่อเข้าไปดูบ้านเรือนและทรัพย์สินที่ถูกน้ำท่วม และเกรงว่าทรัพย์สินจะได้รับความเสียหายไปมากกว่านี้

ผู้สื่อข่าวรายงานด้วยว่า ขณะเดียวกันถนนสาย อ.เบญจลักษ์ ไป จ.อุบลราชธานี น้ำได้ท่วมถนนที่บริเวณบ้านโนนค้อเป็นระยะทางยาวประมาณ 1 กิโลเมตร (กม.) รถยนต์เล็กไม่สามารถสัญจรไปมาได้สะดวก และล่าสุดเพื่อความปลอดภัยเจ้าหน้าที่ได้ปิดการจราจรแล้ว โดยให้ผู้ใช้รถใช้ถนนเลี่ยงไปใช้เส้นทางจากตัวเมืองศรีสะเกษไปยัง จ.อุบลราชธานี แทน

ขณะที่เมื่อคืนที่ผ่านมา อ.พยุห์ จ.ศรีสะเกษ บริเวณถนนสายพยุห์-ศรีสะเกษ ต.พยุห์ อ.พยุห์ ซึ่งอยู่กลางตัว อ.พยุห์ ฝนที่ตกอย่างหนักได้ทำให้น้ำท่วมถนนเป็นทางยาวกว่า 500 เมตร และตามสองข้างถนนน้ำได้ไหลเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนหลายสิบหลัง รถยนต์ของชาวบ้านที่จอดอยู่บนถนนไม่สามารถนำหนีน้ำได้ทันถูกน้ำท่วมจำนวน 3 คัน ได้รับความเสียหาย

ไม่เคยขับรถไปทางนั้นเลยครับ ไม่ชำนาญทางอย่างมาก(ขับรถออกต่างจังหวัดหลงบ่อย) รบกวนเพื่อนๆชี้แนะด้วยครับผม จะขับรถออกจากกรุงเทพฯช่วงกลางวันครับ ขอบพระคุณล่วงหน้าครับ:)

สมาชิกหมายเลข 759769

แผนที่เดินทาง

จาก กทม. ไป อุบล ทางไหนดี

วิ่งเส้น 24 ไปจนถึง อ.ปราสาท ควรจะเข้าสุรินทร์แล้ววิ่ง226 ถึงอุบล หรือ จะวิ่ง24 ต่อไปดี

สมาชิกหมายเลข 1955314

การจราจร

ขับรถจากกรุงเทพฯ ไปอุบลฯ ควรไปทางไหนที่จะเร็วที่สุดและประหยัดน้ำมันที่สุดครับ

คือ ผมอยากพาแฟนไปเซอร์ไพร์วันครบรอบที่อุบล เพราะเห็นแฟนบ่นว่าอยากไป อิอิ แต่ผมอยากขับรถไปจะได้สร้างความทรงจำด้วย เลยอยากมาปรึกษาเพื่อนๆ ว่าควรไปเส้นทางไหนดีเพราะอยากไปให้ทันพระอาทิตย์ขึ้น ที่แก่งสามพั

สมาชิกหมายเลข 892466

แผนที่เดินทาง

สอบถามเส้นทาง กรุงเทพ ไป อุบลฯ

สมาชิกท่านใดที่เดินทางไปเส้นทาง จากกรุงเทพ ไป อุบลฯ เส้นทางใดควรไประหว่าง 1. กรุงเทพ โคราช มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อุบล 2. กรุงเทพ ประโคนชัย ศรีษะเกษ สุรินทร์ อุบล สภาพของถนนระหว่างสองเส้นทาง และ ระ

โล้น ตลาดเหนือ

บันทึกนักเดินทาง

จากกทม. ขับรถไปอุบลเส้นทางไหนสะดวกที่สุดครับ

จะขับรถ(เก๋ง)ไปเที่ยวอุบลกับครอบครัว ในช่วงปีใหม่นี้ ออกเดินทางคืนวันที่28นี้เลย ควรใช้เส้นทางไหนดีครับ ที่สะดวกที่สุด และสภาพถนนไม่แย่ครับ

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 สายทางต่างระดับสีคิ้ว–อุบลราชธานี ปัจจุบันคือ ถนนสีคิ้ว–วารินชำราบ (เดิมเรียก "ถนนโชคชัย–เดชอุดม"), ถนนสถลมาร์ค (ช่วงเดชอุดม–วารินชำราบ) หรือ ถนนสถิตย์นิมานการ (ช่วงวารินชำราบ–อุบลราชธานี) เป็นทางหลวงสายประธานภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่แยกออกมาจากทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 เดิมกิโลเมตรที่ 0 อยู่ที่ทางแยกโชคชัย ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 224 (ถนนราชสีมา–โชคชัย) ต่อมาได้มีการนับกิโลเมตรที่ 0 ที่ทางแยกต่างระดับสีคิ้ว ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) และต่อขยายจากอำเภอเดชอุดมถึงอำเภอวารินชำราบ เป็นทางหลวงสำคัญที่เชื่อมต่อกลุ่มจังหวัดใน ตัดผ่านเขตจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี ตามลำดับ

โดยถนนสายนี้ส่วนหนึ่งอยู่ใกล้ตัวเมืองใหญ่ และเป็นหนึ่งในเส้นทางสัญจรหลักของประเทศเชื่อมต่อระหว่างภาคกลาง–ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง อีกทั้งเป็นถนนสายหลักที่ใช้เชื่อมต่อไปยังประเทศลาวและประเทศกัมพูชา ในปัจจุบันได้ดำเนินการขยายช่องจราจรเป็น 4 ช่องจราจร เสร็จสิ้นตลอดทั้งสายแล้ว และอนาคตจะขยาย 6 ช่องจราจร (ช่วงสีคิ้ว–โชคชัย) 8 ช่องจราจร (ช่วงโชคชัย–ขุขันธ์) และ 12 ช่องจราจร (ช่วงขุขันธ์–เดชอุดม)

ประวัติ[แก้]

ทางหลวงหมายเลข 24 เป็นหนึ่งในทางหลวงแผ่นดินสำคัญที่ก่อสร้างตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 2 พ.ศ. 2510–2514 ในยุคสมัยของรัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจร โดยก่อสร้างในรูปแบบถนนคอนกรีตและแอสฟัลต์ ใน พ.ศ. 2513 ช่วงอำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา ถึงอำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี รวมระยะทาง 331 กิโลเมตร เป็นทางหลวงสำคัญในการสัญจรของประชาชนในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง โดยนิยมเรียกกันว่า ถนนโชคชัย–เดชอุดม

ต่อมาในปี พ.ศ. 2555–2556 ยุครัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ได้มีการขยายทางหลวงเป็น 4 ช่องจราจร ในช่วงอำเภอสีคิ้ว–อำเภอโชคชัย และได้นับหลักทางหลวงใหม่ที่บริเวณแยกต่างระดับสีคิ้ว เปลี่ยนชื่อเป็น ถนนสีคิ้ว–อุบลราชธานี และได้มีโครงการขยายช่องจราจรต่อไป ในช่วงอำเภอนางรองถึงอำเภอปราสาท และไปแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2560 รวมเส้นทางที่มี 4 ช่องจราจร 190 กิโลเมตร

พ.ศ. 2560–2561 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 ถูกบรรจุอยู่ในแผนงานการก่อสร้างทางสายหลักเป็น 4 ช่องจราจร ระยะที่ 2 ของกรมทางหลวง [โครงข่ายที่ 7 สาย อำเภอสัตหีบ–อำเภอพนมสารคาม–อำเภอกบินทร์บุรี–อำเภอปักธงชัย–อำเภอโชคชัย–อำเภอนางรอง–อำเภอปราสาท–อุบลราชธานี–มุกดาหาร (รวมอำเภอสีคิ้ว–อำเภอโชคชัย)] ได้มีการขยายช่องจราจรต่อไปในเส้นทางที่เหลือช่วงอำเภอปราสาท–อำเภอขุขันธ์-แยกทางหลวง 2085 ระยะทาง 118.542 กิโลเมตร และแล้วเสร็จในปลายปี พ.ศ. 2562 ทำให้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 เป็นทางหลวง 4 ช่องจราจรตลอดทั้งสายนับแต่นั้นมา เป็นการเพิ่มความสะดวกในการสัญจรขนส่ง และรองรับการเชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ไม่ว่าจะเป็นกัมพูชา ลาว และเวียดนาม

เดิมกรมทางหลวงได้นำหมายเลขของทางหลวงสายนี้ไปเรียกทางหลวงสายตาก-ขอนแก่นอีกด้วย (ปัจจุบันคือทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12)

รายละเอียดของเส้นทาง[แก้]

ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 ในอำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์

จังหวัดนครราชสีมา[แก้]

ทางหลวงแผ่นดินสายทางต่างระดับสีคิ้ว–อุบลราชธานี เป็นทางหลวงสายประธานภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่แยกออกมาจากถนนมิตรภาพ (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2) ที่หลักกิโลเมตร 102+078 เริ่มต้นทางหลวงที่บริเวณแยกทางต่างระดับสีคิ้ว อำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา มุ่งหน้าไปทางทิศตะวันออกผ่าน อำเภอสีคิ้ว อำเภอปักธงชัย อำเภอโชคชัย ผ่านแยกโชคชัย ตำบลโชคชัย ซึ่งเป็นหลักกิโลเมตรเริ่มต้นเดิม ผ่านอำเภอหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสีมา รวมระยะทาง 86.14 กม.

จังหวัดบุรีรัมย์-สุรินทร์-ศรีสะเกษ[แก้]

เข้าสู่ จังหวัดบุรีรัมย์ ตัดผ่านพื้นที่ อำเภอหนองกี่ อำเภอนางรอง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ บริเวณแยกบ้านตะโกสามารถเลี้ยวขวาเข้าสู่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2117 เพื่อเดินทางไปยังอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งได้ จากนั้นผ่าน อำเภอประโคนชัย รวมระยะทางในเขตจังหวัดบุรีรัมย์ทั้งสิ้น 85.70 กม.

ช่วง จังหวัดสุรินทร์ ผ่าน อำเภอปราสาท ที่แยกกลางเมืองปราสาท สามารถเลี้ยวขวาไปยังทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214 เพื่อเดินทางเชื่อมต่อไปยังประเทศกัมพูชา ณ ด่านพรมแดนช่องจอม จากนั้นผ่านอำเภอสังขะ รวมระยะทางในเขตจังหวัดสุรินทร์ 90.30 กม.

จากนั้นเข้าสู่เขต จังหวัดศรีสะเกษ ผ่านแยกนาเจริญ ตำบลโสน อำเภอขุขันธ์ ซึ่งสามารถเลี้ยวไปยังทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2201 เพื่อไปยังด่านศุลกากรช่องสะงำ เชื่อมต่อไปยังประเทศกัมพูชา จากนั้นผ่านตัวอำเภอขุขันธ์ อำเภอไพรบึง อำเภอขุนหาญ อำเภอกันทรลักษ์ อำเภอเบญจลักษ์ รวมระยะทาง 85.40 กม.

จังหวัดอุบลราชธานี[แก้]

ทางหลวงหมายแผ่นดินเลข 24 เข้าสู่ จังหวัดอุบลราชธานี เป็นจังหวัดสุดท้าย ตัดผ่านพื้นที่ อำเภอเดชอุดม จากนั้นจะเลี้ยวออกไปทางซ้าย มุ่งหน้าไปขึ้นทางทิศเหนือ โดยในช่วงอำเภอเดชอุดม ไปจนถึงอำเภอวารินชำราบจะเปลี่ยนชื่อเป็น ถนนสถลมาร์ค (ซึ่งเป็นชื่อที่ใช้เรียกถนนที่ตัดจากตัวเมืองวารินชำราบถึงอำเภอเดชอุดมมาแต่เดิม ตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ก่อนจะกลายเป็นทางหลวง) จากนั้นจะเข้าสู่เทศบาลเมืองวารินชำราบ บริเวณแยกตัดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 217 ไปจนถึงบริเวณก่อนขึ้นสะพานเสรีประชาธิปไตย 2497 จะเปลี่ยนชื่อเป็น ถนนสถิตย์นิมานกาล (เป็นชื่อที่ใช้เรียกถนนที่ตัดจากวารินชำราบ-พิบูลมังสาหาร-ช่องเม็ก ซึ่งปัจจุบันคือ ทางหลวงหมายเลข 24 ในช่วงเขตเทศบาลเมืองวารินชำราบ และทางหลวงหมายเลข 217 ในช่วงวารินชำราบ-ช่องเม็ก) ทางหลวงแผ่นดินจะสิ้นสุดบริเวณ ถนนอุปราช ในอำเภอเมือง

ในปัจจุบันทางหลวงหมายเลข 24 เป็นทางหลวง 4 ช่องจราจรตลอดทั้งสาย รวมระยะทางทั้งสิ้น 420.94 กิโลเมตร

พื้นที่ที่ตัดผ่าน[แก้]

ระยะทางแยกตามจังหวัด-อำเภอ พื้นที่ ไมล์ กิโลเมตร จังหวัดนครราชสีมา 53.49 86.14

  • อำเภอสีคิ้ว (ตำบลมิตรภาพ) 1.24
  • อำเภอสูงเนิน (ตำบลมะเกลือใหม่ ตำบลมะเกลือเก่า ตำบลสูงเนิน ตำบลหนองตะไก้) 26.2
  • อำเภอปักธงชัย (ตำบลตะคุ ตำบลธงชัยเหนือ ตำบลโคกไทย) 20.0
  • อำเภอโชคชัย (ตำบลพลับพลา ตำบลโชคชัย ตำบลกระโทก ตำบลท่าเยี่ยม) 18.2
  • อำเภอหนองบุญมาก (ตำบลแหลมทอง ตำบลหนองหัวแรด ตำบลบ้านใหม่ ตำบลหนองบุนนาก ตำบลไทยเจริญ) 20.5 จังหวัดบุรีรัมย์ 53.22 85.7
  • อำเภอหนองกี่ (ตำบลบุกระสัง ตำบลทุ่งกระตาดพัฒนา ตำบลหนองกี่ ตำบลทุ่งกระเต็น) 18.2
  • อำเภอนางรอง (ตำบลหัวถนน ตำบลหนองโบสถ์ ตำบลลำไทรโยง ตำบลนางรอง ตำบลถนนหัก) 26.5
  • อำเภอเฉลิมพระเกียรติ (ตำบลเจริญสุข ตำบลอีสานเขต) 10
  • อำเภอประโคนชัย (ตำบลตะโกตาพิ ตำบลโคกม้า ตำบลประโคนชัย ตำบลโตกมะขาม ตำบลไพศาล) 31 จังหวัดสุรินทร์ 56.08 90.3
  • อำเภอปราสาท (ตำบลตานี ตำบลปรือ ตำบลปราสาทนง ตำบลกังแอน ตำบลตาเบา ตำบลกันตวจระมวล ตำบลบ้านไทร) 44.3
  • อำเภอสังขะ (ตำบลกระเทียม ตำบลสะกาด ตำบลบ้านชบ ตำบลสังขะ ตำบลพระแก้ว ตำบลตาคง) 46 จังหวัดศรีสะเกษ 53.03 85.4
  • อำเภอขุขันธ์ (ตำบลโสน ตำบลห้วยใต้ ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลหนองฉลอง ตำบลตาอุด) 25.7
  • อำเภอไพรบึง (ตำบลสำโรงพลัน) 12
  • อำเภอขุนหาญ (ตำบลกระหวัน ตำบลไพร ตำบลโพธิ์วงศ์ ตำบลภูฝ้าย) 15.6
  • อำเภอกันทรลักษ์ (ตำบลภูเงิน ตำบลกระแชง ตำบลตระกาจ ตำบลจานใหญ่) 16.7
  • อำเภอเบญจลักษ์ (ตำบลหนองหว้า ตำบลท่าคล้อ) 15.4 จังหวัดอุบลราชธานี 45.61 73.4
  • อำเภอเดชอุดม (ตำบลทุ่งเทิง ตำบลนากระแซง ตำบลนาเจริญ ตำบลเมืองเดช ตำบลป่าโมง ตำบลนาส่วง) 49.2
  • อำเภอวารินชำราบ (ตำบลสระสมิง ตำบลเมืองศรีไค ตำบลธาตุ ตำบลแสนสุข ตำบลวารินชำราบ) 24.2 รวม 261.56 420.94

รายชื่อทางแยก[แก้]

รายชื่อทางแยกบน

ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 ทิศทาง: ทางต่างระดับสีคิ้ว–อุบลราชธานี จังหวัด อำเภอ กม.ที่ ชื่อจุดตัด ซ้าย ขวา
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
สีคิ้ว–เดชอุดม นครราชสีมา สีคิ้ว 0.000 ต่างระดับสีคิ้ว เชื่อมต่อจาก:
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 201 ไป อำเภอด่านขุนทด, จังหวัดชัยภูมิ
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ถนนมิตรภาพ ไป จังหวัดนครราชสีมา
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ถนนมิตรภาพ ไป จังหวัดสระบุรี ปักธงชัย 38.841 แยกปักธงชัย
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 ไป จังหวัดนครราชสีมา
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 ไป จังหวัดฉะเชิงเทรา โชคชัย 52.997 แยกโชคชัย
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 224 ไป จังหวัดนครราชสีมา
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 224 ไป อำเภอครบุรี 53.924 ไม่มี
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอโชคชัย หนองบุญมาก 70.200 ไม่มี
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไปบ้านบุกระโทก บุรีรัมย์ หนองกี่ 95.147 แยกหนองกี่
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอหนองหงส์
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอเสิงสาง นางรอง 123.236 แยกนางรอง
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอชำนิ
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 348 ไป อำเภอปะคำ 126.973 แยกถนนหัก
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 218 ไป จังหวัดบุรีรัมย์ ไม่มี เฉลิมพระเกียรติ 137.039 แยกตะโก ไม่มี
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง ประโคนชัย 155.123 แยกประโคนชัย
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป จังหวัดบุรีรัมย์
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอบ้านกรวด สุรินทร์ ปราสาท 178.001 ไม่มี
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอพนมดงรัก 185.291 ไม่มี
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป บ้านแนงมุด 191.746 แยกปราสาท
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214 ไป จังหวัดสุรินทร์
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 214 ไป อำเภอกาบเชิง สังขะ 222.495
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอลำดวน ไม่มี 238.396 ไม่มี
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป ด่านศุลกากรช่องจอม 240.719 แยกสังขะ
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป จังหวัดสุรินทร์
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอบัวเชด ศรีสะเกษ ขุขันธ์ 267.480 แยกนาเจริญ
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอขุขันธ์
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป ช่องสะงำ 279.219 แยกกันแต
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 220 ไป จังหวัดศรีสะเกษ ไม่มี 281.261 แยกโคกตาล
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอขุขันธ์
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป บ้านโคกตาล ไพรบึง 296.264 แยกหัวช้าง
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอไพรบึง
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอขุนหาญ กันทรลักษณ์ 320.436 แยกการช่าง
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 221 ไป จังหวัดศรีสะเกษ
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 221 ไป อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหาร 330.780 แยกบ้านจาน
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอกันทรารมย์ อำเภอวารินชำราบ และจังหวัดอุบลราชธานี
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอกันทรลักษณ์ อุบลราชธานี เดชอุดม 364.318 แยกนากระแซง ไม่มี
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอทุ่งศรีอุดม 378.589
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 ไป จังหวัดอุบลราชธานี
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอเดชอุดม
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
เดชอุดม-วารินชำราบ (ถนนสถลมาร์ค) อุบลราชธานี เดชอุดม 378.589 เชื่อมต่อจาก:
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
จากอำเภอเดชอุดม
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
จากอำเภอปราสาท ไม่มี −
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 ไปบ้านนาส่วง, อุบลราชธานี ไม่มี ตรงไป: 2483 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2483 ไปอำเภอนาเยีย, อุบลราชธานี 396.243 แยกนาส่วง ไม่มี
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ไป อำเภอนาเยีย − ไม่มี2483 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2483 ไปอำเภอนาเยีย, อำเภอเดชอุดม วารินชำราบ − ไม่มี
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ถนนน้ำโขง ไป มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี − ไป ดีจริงแมนชั่น
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ถนนน้ำโขง ไป มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี − ไป ศูนย์อนามัยที่ 10 อุบลราชธานี ไป วัดศรีประดู่วนาราม 415.762 แยกลือคำหาญ
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 231 ไป จังหวัดศรีสะเกษ
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 231 ไป อำเภอสิรินธร แยกยงวิจิตต์
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ถนนเทศบาล ๑๒ ไม่มี แยก ธกส.
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ถนนเทศบาล ๖ ไป ตลาดสดเทศบาล 2 ไม่มี แยกต้นแต้
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ถนนเทศบาล ๒ ไม่มี 417.766
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ถนนสถิตย์นิมานการ ไป จังหวัดอุบลราชธานี
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ถนนสถิตนิมานการ ไป อำเภอสิรินธร ตรงไป:
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ถนนสถลมาร์ค ไป ตลาดสดเทศบาล 1
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
วารินชำราบ-อุบลราชธานี (ถนนสถิตย์นิมานการ) อุบลราชธานี วารินชำราบ − ไม่มี
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ถนนเทศบาล ๗๕ ไป สหกรณ์จังหวัดอุบลราชธานี สะพานเสรีประชาธิปไตย 2497 ข้ามแม่น้ำมูล เมืองอุบลราชธานี − ตรงไป:
ระยะ ทาง จาก อ.วาป ปท ม ไป อ.เบญจล กษ
ถนนอุปราช เข้าเมืองอุบลราชธานี สะพาน กำลังก่อสร้างหรือโครงการในอนาคต

เขตควบคุมของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24[แก้]

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 แบ่งเขตการควบคุมออกเป็น 17 ตอน ได้แก่

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 สายทางต่างระดับสีคิ้ว–อุบลราชธานี ช่วงที่ ตอน ชื่อตอน หลัก กม. รวมระยะทาง (กม.) หมวดทางหลวง แขวงทางหลวง จังหวัด 1 0100 ทางต่างระดับสีคิ้ว - ซับประดู่ 0+000 - 1+000 1.000 หมวดทางหลวงสีคิ้ว นครราชสีมาที่ 2 นครราชสีมา 2 0201 ซับประดู่ - สี่แยกปักธงชัย 1+000 - 39+200 38.200 หมวดทางหลวงธงชัยเหนือ นครราชสีมาที่ 3 3 0202 สี่แยกปักธงชัย - สี่แยกโชคชัย 39+200 - 53+517 14.317 หมวดทางหลวงโชคชัย 4 0203 สี่แยกโชคชัย - หนองมัน 53+517 - 86+431 32.914 หมวดทางหลวงหนองบุญมาก 5 0301 หนองมัน - หนองกี่ 86+431 - 95+147 8.716 หมวดทางหลวงหนองกี่ บุรีรัมย์ บุรีรัมย์ 6 0302 หนองกี่ - นางรอง 95+147 - 120+997 25.850 7 0303 นางรอง - โคกตะแบก 120+997 - 131+111 10.114 หมวดทางหลวงนางรอง 8 0304 โคกตะแบก - ประโคนชัย 131+111 - 155+123 24.012 หมวดทางหลวงประโคนชัย 9 0305 ประโคนชัย - จรอกใหญ่ 155+123 - 171+872 16.749 10 0401 จรอกใหญ่ - กระเทียม 171+872 - 216+062 44.190 หมวดทางหลวงปราสาท สุรินทร์ สุรินทร์ 11 0402 กระเทียม - ห้วยสำราญ 216+062 - 262+609 46.547 หมวดทางหลวงสังขะ 12 0501 ห้วยสำราญ - แยกโคกตาล 262+609 - 281+260 18.651 หมวดทางหลวงภูสิงห์ ศรีสะเกษที่ 1 ศรีสะเกษ 13 0502 แยกโคกตาล - หัวช้าง 281+260 - 296+264 15.004 หมวดทางหลวงขุขันธ์ 14 0601 หังช้าง - แยกการช่าง 296+264 - 320+436 24.172 หมวดทางหลวงไพรบึง ศรีสะเกษที่ 2 15 0602 แยกการช่าง - นากระแซง 320+436 - 364+498 44.062 หมวดทางหลวงภูเงิน ศรีสะเกษ,

อุบลราชธานี

16 0701 นากระแซง - เดชอุดม 364+498 - 396+794 32.296 หมวดทางหลวงเดชอุดม อุบลราชธานีที่ 2 อุบลราชธานี 17 0702 เดชอุดม - อุบลราชธานี 396+794 - 419+879 23.085 หมวดทางหลวงวารินชำราบ รวม 17 ตอนควบคุม รวมระยะทาง 419.879 กม.

ทางหลวงที่เกี่ยวข้อง[แก้]

ถนนเข้าบ้านนาส่วง (ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2483)[แก้]

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2483ที่ตั้งอ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานีความยาว5.485 กิโลเมตร (3.408 ไมล์)

ทางหลวงหมายเลข 24 ตอนมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี - อ.เดชอุดม เดิมมีเส้นทางที่ตัดผ่านกลางหมู่บ้านนาส่วง ตำบลนาส่วง ทำให้ยากต่อการขยายพื้นที่จราจร ต่อมาในปี พ.ศ. 2559 จึงได้มีตัดถนนเลี่ยงเมืองนาส่วงใหม่แล้วตั้งเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 24 เพิ่มเติมจากเส้นทางเดิม ช่วงระหว่าง กม.19+300 ถึง กม.27+300 รวมระยะทาง 8.6 กม. เพื่อเลี่ยงบริเวณพื้นที่หมู่บ้านนาส่วง ขยายพื้นผิวจราจร ช่วยรองรับปริมาณการจราจร และเพิ่มศักยภาพสายทางเชื่อมโยงโครงข่ายสู่ประเทศเพื่อนบ้าน ต่อมา ได้มีการเปลี่ยนแปลงหมายเลขทางหลวงเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2483 สายทางเข้านาส่วง

เขตควบคุมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2483[แก้]

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2483 ช่วงที่ ตอน ชื่อตอน หลัก กม. ระยะทาง (กม.) หมวดทางหลวง แขวงทางหลวง จังหวัด 1 0100 ทางเข้านาส่วง 0+000 - 5+485 5.485 หมวดทางหลวงเดชอุดม อุบลราชธานีที่ 2 อุบลราชธานี รวม 1 ตอนควบคุม รวมระยะทาง 5.485 กม.

อ้างอิง[แก้]

  • ↑ กรมทางหลวง, ประวัติความเป็นมาของโครงการก่อสร้าง ทางหลวงหมายเลข 24 ตอน โชคชัย-เดชอุดม 2562, วิดีโอ
  • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สอง (พ.ศ. 2510 -2514), 2510, หน้า 12
  • สำนักแผนงาน กรมทางหลวง, การประเมินผลโครงการที่แล้วเสร็จ. 31 ส.ค. 2564
  • ไม่ทราบผู้แต่ง, ผลการดำเนินงานรอบ ของ คค. รอบ 9 เดือน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 เก็บถาวร 2021-08-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (ม.ป.ป). หน้า 31
  • กรมทางหลวง, โครงการก่อสร้างทางสายหลักเป็น 4 ช่องจราจร เก็บถาวร 2015-10-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. ม.ป.ป., ไม่ทราบวันที่สืบค้น ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ตั้งชื่อทางหลวงแผ่นดินและสะพานขนาดใหญ่ - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม พ.ศ. 2493