รห สไปรษณ ย ต.ป งขาม อ.หว านใหญ จ.ม กดาหาร

NASOK M Uมุ Kก ดD าAห Hา รA N เพลดิ เพลนิ วถิ ภี ูไท งามฝา้ ยตะหลุง เรียนรู้เกษตรอินทรยี ์วถิ ีชาวนา ชุมชนนาโสก มุกดาหาร Enclehdanbteydthbey oPrhguanTiaci awgaryicuolftulrifee,, hdeereligahtteNdabySoTka, MLuunkgdachoattnon,

ยินดีตอ้ นรบั สู่บา้ นนาโสก Welcome to Baan Na Sok

สวสั ดี...ทีน่ ี่นาโสก ผเู้ ฒ่าผ้แู ก่ชาวนาโสกเลา่ ต่อ ๆ กันมาว่า ปยู่ า่ ตาทวดบรรพบุรุษชาวภูไทไดพ้ ากนั อพยพ ย้ายถิ่นฐานกันมาจากประเทศลาวมาอยู่บริเวณบา้ นหนองสงู ต่อมาแยกตวั ออกค้นหา ทำ�เลท่ีเหมาะสมสำ�หรับประกอบสมั มาอาชพี เนือ่ งจากในอดตี ชาวภูไทนิยมปลูกขา้ วไร่ ได้พบพื้นที่ชัยภูมทิ ีด่ ีอยู่ระหวา่ งหบุ เขาภยู งู ภหู ินสิ่ว และภถู ้ำ�พระ จึงลงหลกั ปกั ฐาน ต้ังหมู่บา้ นในบรเิ วณนีร้ าวปพี ุทธศกั ราช 2378 แตก่ ็มีการอพยพย้ายทต่ี ง้ั หมูบ่ า้ นอยู่ใน บรเิ วณนห้ี ลายครั้ง จากเหตผุ ลของความสงบสุขการหาอยู่หากนิ และโรคภยั ไข้เจบ็ จนลงตัวอย่เู ป็นเป็นสุขในพนื้ ท่ีทอี่ าศัยอยใู่ นปัจจุบันน้ี ท่มี าของช่ือหมูบ่ ้าน “นาโสก” นนั้ มาจากท่ีว่าในสมัยทีย่ ้ายถิ่นฐานมาตัง้ หมู่บ้านอยู่ บรเิ วณนี้ พื้นท่มี สี ภาพเปน็ ป่าดงดิบหนาทบึ มีป่าไม้อดุ มสมบูรณ์ มลี ำ�หว้ ยไหลผา่ น จากลกั ษณะธรรมชาตทิ ม่ี ีนำ้ �ไหลตกจากทสี่ ูงลงสเู่ บ้ืองล่าง ทำ�ให้เกดิ หลมุ ลกึ นอ้ ยใหญ่ เปน็ จำ�นวนมาก ภาษาภูไทเรียกวา่ เป็น “โสก” ตามแนวเนินทล่ี ดหลน่ั กนั ลงมา สลบั กบั มีท่รี าบระหวา่ งหบุ เขาก็เปน็ พน้ื ทน่ี าปลกู ข้าว ชาวบ้านจงึ ต้งั ช่ือหมู่บ้านแหง่ นว้ี ่า “บา้ นนาโสก” และยงั ถอื เอาชอ่ื หม่บู ้านมาต้ังเปน็ ชอื่ นามสกลุ ของคนในชมุ ชนอกี ดว้ ย 02

Sawasdee…Welcome to Na Sok. The story from our grandparents has it that our forefathers of Phu Tai migrated from the remote area in Laos to Nong Soong village, later then spread to search for the suitable location for farming. In the past, Phu Tai preferred to grow dried rice in the valley. Dated back in 2378 BE, they found valley of Phu Yoong, Phu Hin Siew, and Phu Tam Pra suitable for their rice cultivation. Generally speaking, the Phu Tai might move around the area due to resource scarcity, epidemic, they finally settled and start their livelihood here. The name of the village ‘Na Sok’ came from an interesting geography where the stream flowing past the large green jungle from higher elevation formed the terrace in various sizes. The local language ‘Sok’ means ‘terrace’ alternating with valley for rice cultivation. The term ‘Na Sok’ (terrace rice field) has been applied afterwards. The locals also applied the term for their family name as well. การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนตำ�บลนาโสก มกุ ดาหาร 03

รจู้ ักภูไท...นาโสก เผ่าภูไท หรือ ผู้ไท (Phutai) เป็นคนเผ่าไทกลุ่มหน่ึงทม่ี ีถ่นิ ฐานเดมิ อยู่ในแควน้ สบิ สอง- จไุ ทยและอาณาจกั รลา้ นชา้ ง การเคลื่อนยา้ ยของชาวภูไทเขา้ สู่ภาคอีสานมีหลายครง้ั และมาจากทตี่ ่าง ๆ จงึ มชี ื่อเรยี กแต่ละกลุม่ แตกตา่ งกนั ไปตามเมอื งเดมิ ทีไ่ ด้อพยพกนั มา ในภาคอีสานชาวภไู ทเปน็ กลุ่มชาตพิ นั ธุท์ ีใ่ หญ่ทสี่ ุดรองลงมาจากกลุ่มไทลาว มถี ิน่ ฐาน อย่ใู นเขตจังหวดั นครพนม กาฬสินธ์ุ มกุ ดาหาร สกลนคร และบางส่วนกระจายอยู่ ในเขตจังหวัดหนองคาย อำ�นาจเจริญ อบุ ลราชธานี อดุ รธานี ร้อยเอ็ด และยโสธร เป็นอกี กลุม่ หนึ่งทร่ี กั ษาวัฒนธรรมของตนไว้ได้อย่างดี ชนเผา่ ภูไทเปน็ อีกชนเผา่ หน่งึ ทีม่ อี ารยะธรรมของตนเองมาช้านาน มภี าษาพดู เป็นของ ตนเอง มีศิลปวฒั นธรรม การแต่งกาย ขนบธรรมเนยี มประเพณที เ่ี ป็นเอกลักษณ์ เคร่งครดั ในหลกั ธรรมคำ�สอนพระพทุ ธศาสนาและจารีตประเพณี วถิ ีชีวติ ความเปน็ อยู่ เรียบง่าย ในอดีตอยูก่ ันแบบครอบครวั ใหญ่ในบ้านหลังเดียวกนั เปน็ กลมุ่ คนท่ีมีความ ขยนั ขันแข็ง มัธยสั ถ์ ทำ�งานไดห้ ลากหลายอาชพี เชน่ ทำ�นาทำ�ไร่ ค้าววั คา้ ควาย นำ�กองเกวยี นบรรทกุ สินค้าไปขายต่างถิน่ เรียกวา่ ‘นายฮอ้ ย’ เผ่าภไู ทเป็นกลมุ่ ท่ีปรับตัว และพฒั นาไดเ้ ร็ว มีความรคู้ วามเขา้ ใจและมคี วามเข้มแข็งในการปกครอง มีรปู ร่างหนา้ ตา ทส่ี ะสวย ผวิ พรรณดี กริยามารยาทแช่มช้อย มอี ัธยาศัยไมตรีในการตอ้ นรับแขกแปลกถ่นิ จนเปน็ ที่กลา่ วขวัญถึง 04

Getting to know Phutai…Na Sok Second to Lao ethnic group in terms of the population, these Phutai originally migrated from Xishuangjutai Prefecture, Lanxang State. Their migrations to the northeast of Thailand took places in several occasions to Nakhon Phanom, Kalasin, Mukdahan, Sakon Nakhon and some migrated to Nong Khai, Amnat Charoen, Ubon Ratchathani, Udon Thani, Roi Et, and Yasothon. Best known for their cultural preservation. Phutai developed its own civilization, language, arts and cultures, dress. Based on agrarian cultural value, the Phutai are committed Buddhist and have a simple livelihood. They usually lived in an extended family and are hard-working people. Their men are versatile, can both work in the rice field and led the trade caravan to other regions called ‘Nai Hoi’. The Phutai is adaptable and resilient to the new cultures and able to adjust well in the political governance. Their women have beautiful face and fair complexion, well-mannered, and are known for their best hospitality. การทอ่ งเทยี่ วโดยชมุ ชนตำ�บลนาโสก มกุ ดาหาร 05

ทอ่ งเที่ยวโดยชมุ ชน บ้านนาโสก เมอ่ื ราวปี พ.ศ.2550 ได้มกี ารจดั ตงั้ “ศูนย์ถา่ ยทอดเทคโนโลยีเกษตรอินทรยี ์อะตอมมิก- นาโน จังหวัดมกุ ดาหาร” ขน้ึ ในพ้นื ทบ่ี ้านนาโสก มีกลุ่มเกษตรกรเขา้ มาศึกษาดูงาน ทศ่ี ูนย์เรยี นรู้แห่งน้ีมากมายหลายกล่มุ แตม่ ีการพักค้างคนื ในชุมชนนอ้ ย ทำ�ให้ไม่เกิด การกระจายรายได้เข้าสู่ท้องถิ่น ชุมชนจึงมีแนวคดิ ทจ่ี ะทำ�ใหเ้ กิดการท่องเท่ยี วทำ�กิจกรรม อืน่ ๆ เชอ่ื มโยงจากศูนยเ์ รียนรมู้ าส่พู น้ื ท่ชี ุมชนมากข้นึ ให้มกี ารพักโฮมสเตย์ และใช้เวลา ในชุมชนนานขึ้น ซง่ึ นอกจากจะช่วยสรา้ งเศรษฐกิจและกระจายรายไดใ้ ห้กับคนในชุมชนแล้ว ชาวบ้านนาโสกยงั มคี วามภาคภมู ิใจท่จี ะนำ�เสนอวิถีชีวติ แบบชาวภไู ทอันงดงามให้กบั ผูม้ าเยือนได้รู้จกั เพอ่ื ให้เกดิ การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ รวมถงึ ไดส้ บื สานศิลปวฒั นธรรม แขนงตา่ ง ๆ ของชาวภูไทสูค่ นรุ่นหลังผ่านการท่องเทีย่ วโดยชมุ ชน โดยกจิ กรรมท่องเท่ยี ว นอกจากวถิ ที างดา้ นการเกษตรแลว้ ชาวบา้ นนาโสกได้จัดกจิ กรรม นำ�เสนอวิธีการผลิตผ้าอาภรณ์แบบภไู ท ดนตรแี ละการแสดง การจักสาน อาหารภูไท เลศิ รส รวมไปถึงเสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาตบิ นภูหินสว่ิ ฯลฯ 06

Community Based Tourism at Baan Na Sok In 2007, “Mukdahan Organic Agriculture and Atomic Nanotechnology Transfer Center” has been established in Baan Na Sok. Several groups of tourists visited the center for their educational purpose but none of these groups had an overnight at the village. Without any benefits from tourist arrival, the community began to form tourism groups with the vision to earn the income and benefits from tourism. The tourism group designed tourism activities to showcase their cultures, organize the cultural exchange as well as open the homestay for tourist to overnight. To enhance cultural exchange and preserve the traditions of Phutai, the community based tourism has been formulated. Na Sok villagers proudly present their agricultural way of life, Phutai fabric production, music, weaving techniques, local foods as well as natural trails on Phu Hin Siew, etc. การทอ่ งเท่ยี วโดยชุมชนตำ�บลนาโสก มุกดาหาร 07

นุ่งห่มงาม ตามสไตล์ภไู ทนาโสก ชาวภไู ทมวี ัฒนธรรมในเร่อื งการถกั ทอทโี่ ดดเดน่ ยงั มกี ารผลิตผ้าทอครบวงจร ต้งั แต่ การปลกู ฝา้ ย เขน็ ฝ้าย ยอ้ ม ถกั ทอ จนเป็นผนื ผ้าเพอื่ ใชส้ อยและตัดเยบ็ เป็นเส้ือผา้ เพอ่ื สวมใส่ ปจั จุบนั คนที่บ้านนาโสกยังมกี ารแตง่ กายด้วยผ้าทอแบบชาวภูไท ทง้ั ที่ สวมใส่ในชวี ติ ประจำ�วัน และในวาระพเิ ศษตา่ ง ๆ ผู้ชายนยิ มนุ่งโสรง่ ตาหมากรุก หรอื สวมกางเกงขาก๊วย/กางเกงขายาวสีเข้ม สวมเส้อื คอจีน ตัวเสอ้ื ผ่าอกตลอด ชายเสือ้ ผ่าข้าง จะเป็นแขนยาวหรอื แขนสนั้ ก็ได้ มีผา้ คาดเอว ผหู้ ญิงนยิ มนงุ่ ผา้ ซิน่ มัดหม่ี ต่อดว้ ยหัวซิน่ และตีนซนิ่ ท้งั ขิดและจก สวมเส้อื แขนกระบอก คอตงั้ แบบเส้อื คอจีน พาดผา้ สะไบ บางครั้งคาดเอวดว้ ยเขม็ ขดั เงินหรือนาก หญิงภไู ท นิยมไว้ผมยาวเกลา้ มวยสูง ประดับดอกไม้หรอื ดอกฝา้ ยท่ีมวยผม ประดับสรอ้ ยคอ สรอ้ ยข้อมอื ขอ้ เท้าดว้ ยเงิน ทอง หรอื นาก ปัจจุบันสีสันเสอ้ื ผ้าของชาวนาโสกมี 3 สีหลกั คือ สดี ำ� สคี ราม และสีฝ้ายตะหลงุ ถ้าสวมเสือ้ นงุ่ ซน่ิ ดำ�หรอื ครามจะใช้ผ้าสไบและผ้าคาดเอวสแี ดง แตถ่ ้าสวมเสอ้ื สีตะหลุง จะนุ่งผา้ สีคราม พาดผ้าสไบและผา้ คาดเอวสีคราม 08

Dress in Phutai style of Na Sok Phutai developed its unique weaving techniques. From cotton spinning, dye-ing, and weaving, the cotton fabric is finished in piece ready for making cloth or any purpose. Nowadays local people in Na Sok still dress from their handmade fabric on their daily life and in special occasion. Man prefers to wear checked cotton sarong or shorts in Chinese style, Chinese neck shirts, untucked hem, can be a short or long sleeve and with waist sash. Women prefers to wear Mudmee (ikat) sarong, cylinder long sleeve and Chinese neck shirts and sash over shoulder, at times they might have silver or Nak belt (Pink Gold). Fully dressed with necklace, bracelets, and angle lace, women usually wear an updo hair with flowers or cotton flower in particular. Three colors of shirts (or clothes) can be identified in Na Sok are black, indigo, and Talung cotton color (greyish brown color similar to the color of the langur’s tail). Black or indigo shirts go together with red sash or belt, cotton color shirts are well matched with indigo sarong, and indigo sash. การทอ่ งเที่ยวโดยชุมชนตำ�บลนาโสก มกุ ดาหาร 09

(Whiฝteา้ ยCขาoวtton) (Oฝn้าsยoสnีออCนoซttอoนn) (Talฝu้าnยgตะCหoลtุงton) ปลกู ทอ สวมใส่ วถิ ีฝา้ ยตะหลงุ ความโดดเด่นของสิ่งทอบา้ นนาโสก คือ การผลิตผ้าทอจากฝ้ายธรรมชาติ ทีน่ ีจ่ ะทำ�ท้ัง ฝ้ายสีขาว ฝา้ ยสีออนซอน และท่เี ดด็ กค็ อื ฝา้ ยตะหลงุ ฝ้ายสีน้ำ�ตาลตนุ่ ๆ คำ�ว่า “ตะหลงุ ” ในภาษาภไู ทหมายถึง ค่าง ซึ่งเป็นสตั วต์ ระกูลเดียวกับลิง คา่ งมีขนสนี ้ำ�ตาล แกมเทาเหมือนสีฝา้ ยชนิดนี้ ชาวภูไทจึงเรียกว่าฝา้ ยตะหลุง ชาวนาโสกปลูกฝา้ ยไว้ตามหวั ไรป่ ลายนา รวมไปถึงทว่ี า่ งรอบ ๆ บ้าน เมือ่ ดอกฝ้ายบาน แม่บ้านจะเก็บปยุ ฝ้ายมาตากแดดให้แหง้ และขึ้นฟู จากน้นั นำ�มา “อ้วิ ฝา้ ย” เพือ่ แยกเอา เมลด็ ออก แลว้ นำ�มา “ดีด” ให้ขนึ้ ฟู จากน้ันก็ “ล้อฝา้ ย” เปน็ ม้วนยาว ๆ เพอ่ื นำ�ไปเขน็ เป็นเสน้ ดา้ ย จากนั้นจงึ “เปยี ฝา้ ย” เก็บเป็นไจ ๆ ไว้ กอ่ นท่ีจะนำ�ไปมัดหมี่ ย้อมสี แลว้ ถักทอตอ่ ไป ในทุกขน้ั ตอนของการผลิตผ้าทอนี้ นักท่องเทีย่ วสามารถมปี ระสบการณ์ ลงมอื เรยี นรไู้ ด้ทุกข้นึ ตอน ง่ายบ้าง ยากบา้ ง ก็ว่ากนั ไป แตถ่ า้ อยากจจะมาเก็บฝ้าย แนะนำ�วา่ ให้มาในชว่ งเดอื นตุลาคม-มกราคม ซึ่งเป็นฤดเู ก็บฝา้ ย จะไดส้ นุกในทกุ ขนั้ ตอน 10

Glowing, weaving, wearing our Talung cotton The unique identity of Na Sok is the production of fabric from natural cotton. Here at Na Sok the fabric production is from white cotton, Onson, and Talung cotton. Talung is the Phutai language means langur who shares the same family of monkey. Langur has greyish brown hair similar to this kind of cotton referred to Talung cotton by Phutai. Na Sok grow their cotton in the rice fields or any empty spaces around the house. When the cotton bloom is in full bloom, Na Sok farmers will pick the cotton and dry them in the sun till its opening, then apply the carding process to remove seed, drawing, combing and roving in yam for spinning, or dyeing in Mudmee and weaving. Every process of this production allows tourists to have hands on experience. Some processes can be difficult for tourists but it gives them a good experience. Cotton picking season is October – January and tourists are invited to join the festival. การทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนตำ�บลนาโสก มกุ ดาหาร 11

วิถเี กษตร ฉบับนาโสก นาโสกเป็นชุมชนเกษตรกรรม ทำ�นาทำ�ไร่ ในอดีตสมยั ท่ียา้ ยมา อย่ทู ่นี ่ีมกี ารทำ�ขา้ วไร่ ต่อมากม็ ีการขุดนาปลกู ข้าวนาตามพืน้ ทร่ี าบ ต่าง ๆ คนท่ีนีก่ นิ ขา้ วเหนยี ว จึงปลูกขา้ วเหนยี วไว้บริโภค อดตี กป็ ลูก ข้าวพันธ์พุ นื้ เมืองต่าง ๆ ต่อมากม็ กี ารสง่ เสริมใหป้ ลูกขา้ วพันธใ์ุ หม่ ๆ เพอื่ ขายสร้างรายได้ ความท่ีเป็นชุมชนชาวนา ชาวนาโสกจึงกำ�หนด ให้วันขนึ้ 3 ค่ำ� เดอื น 3 เปน็ ประเพณีวันไขประตเู ลา้ ชาวบ้าน จะแต่งกายดว้ ยชุดภูไทท้ังหมู่บ้านร่วมขบวนแหพ่ ระแม่โพสพ เป็นภาพทง่ี ดงามสะทอ้ นความเชอ่ื ในวิถีการเกษตรของคนที่นี่ ไมใ่ ช่แค่เพยี งแหล่งผลิต แต่ท่ีนี่ยงั เปน็ แหลง่ ความรู้ ทนี่ าโสก มี ศนู ย์เรียนรู้การเพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลติ สินค้าเกษตร (ศพก.) มีการถ่ายทอดองค์ความรดู้ ้านการทำ�เกษตรอินทรีย์ใหก้ บั เครือข่าย และเกษตรกรทวั่ ไปได้มาศึกษาเรยี นรู้ นักท่องเทย่ี วที่สนใจ เรอ่ื งการเกษตร ก็สามารถเข้าไปหาความรู้ได้ Agriculture of Na Sok Na Sok is the agricultural community, growing rice and orchards. In the past local dried rice was firstly practiced and then irrigated rice was later introduced. Farmers here grows sticky rice of local variety for consumption before being encouraged to grow other new variety of rice for income generation. Based on their agrarian tradition, Phutai set the 3rd night on waning moon in the 3rd Lunar month as the opening night for celebration. The ceremony involves the participants dress up in traditional Phutai clothes to join the Mother of Earth parade (Mae Posob). The beautiful parade reflected the agriculture based belief of the local people. Not only the production house of rice but also the source of knowledge related to rice production. Na Sok village also erected Agricultural Learning Center (ALC) to share knowledge on organic agriculture for the network and interested individual farmers. Tourists interested in organic farming can also access to the center. 12

ภหู นิ ส่ิว นอกจากบนภหู ินสวิ่ จะมคี วามสวยงามตามธรรมชาติ มกี ายภาพทต่ี ื่นตาต่นื ใจ ไม่วา่ จะเป็น หินต่าง ถำ้ �ฆอ้ งล่ัน ผาคอย และอ่ืน ๆ อกี มากมายแลว้ บนภูหินสว่ิ ยังเปน็ แหล่งอาหาร แหลง่ หาอยู่หากนิ ของชาวนาโสกมาเนิ่นนานตงั้ แต่เรม่ิ อพยพมาอยบู่ รเิ วณน้ี เห็ดนานาชนดิ ผลัดเปลี่ยนกันผดุ โผลอ่ อกมาจากดนิ จากขอนไมใ้ นฤดูชน่ื ฉ่ำ� หนอ่ ไม้ ผกั ใบผักดอก มีให้ ชาวบา้ นขึ้นมาเกบ็ หาไปหล่อเลย้ี งชวี ิตมากมาย รวมไปถึงพชื พรรณสมุนไพรทั้งรกั ษาโรค และบำ�รงุ กำ�ลงั คนเฒา่ คนแกบ่ ้านนาโสกยงั พานักทอ่ งเท่ียวเดินขน้ึ ภหู ินสิ่วกันตัวปลิว หยูกยาสมุนไพรแถวนี้คงไม่ใชธ่ รรมดา! Phu Hin Siew : In addition to the spectacular view of natural beauty on Hin Siew Mountain, cliff, cave, etc., the area also provides a source of food for the local people from their first migration into this land. A variety of mushroom take turns popping out from the soil or logs in the rainy season. Moreover, bamboo, leafy or floral vegetables are sufficiently sustainable for for the locals. Herbal plants must also be widely available for the locals, judging from the hike up to the Hin Siew Mountain led by the senior Na Sok people who show no sign of tiredness. การทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชนตำ�บลนาโสก มกุ ดาหาร 13

เมนูพื้นบา้ น อาหารนาโสก “ไดเ้ หด็ ได้หน่อลงมาจากภูหินสว่ิ แล้ว กเ็ อามาทำ�ของอร่อย ๆ กนิ กัน” วิถกี ารกินของชาวภูไทละม้ายคลา้ ยชาวไทอีสานทั่วไป คือ กินง่ายอยงู่ ่าย แต่ตอ้ งแซ่บไว้ก่อน ของท่ีชาวนาโสกนำ�มาทำ�อาหาร มี 2 อยา่ ง คอื ของท่ีปลูกท่ีเลยี้ งเอง เชน่ พวกฟักแฟงแตงต่าง ๆ กับของที่หาจากป่า ไม่วา่ จะเป็นหน่อไม้ หวาย เห็ด ผักหวาน มัน ไขม่ ดแดง ฯลฯ ซึ่งออกสลับ สบั เปลย่ี นกันไปในแตล่ ะฤดู เมนแู นะนำ�ของชาวนาโสกกค็ อื แกงออ่ มหวาย แกงควั่ หนอ่ ไม้ ซว่ั ไกบ่ ้าน ก้อยไขม่ ดแดง แจว่ คยุ้ ภไู ทรสเข้มขน้ กนิ กบั หนอ่ ข่าตม้ ทอี่ ยากแนะนำ�ไมใ่ ห้พลาดเลยกค็ อื เมย่ี งคำ�ภไู ท ที่หอมตะไคร้ซอยและงาขาว ตบท้ายด้วยของหวานแสนอร่อยอย่าง ‘โจ้หมะอูบ’ มันคอื อะไร? ลองถาม คนภไู ทดนู ะ -- อาหารจะอรอ่ ยขึน้ อีกหลายเทา่ หากเราไดล้ งมือปรุงเอง หากมีเวลาลองเขา้ ครวั กบั แม่บา้ นชาวนาโสกดนู ะ Local food of Na Sok : “Mushroom and bamboos are from Hin Siew Mountain – these are menus for our meals.” Phutai shares similar cuisine to Thai Esarn people, simple living and eating, yet the taste has to be first priority. Materials for food are usually from two sources; one is from their own farming such as cucumber, sukhini, gourd, beans, etc; and the others are from forest products such as bamboo, rattan, mushroom, pakwan (Melientha suavis Pierre), ant eggs, etc. depending on the seasonal availability. Recommended dish in Na Sok include rattan soup (Kaeng Om Wai), fried bamboo curry, chicken soup (Sua Kai Baan), red ant eggs salad (Koi Khai Mod Daeng), Phutai chili dip with boiled galangal shoots. Also Miang Kham Phutai (leafy wraps appetizer or snack) served with chopped lemongrass and white sesame cannot be missed. To complete this meal, it must end with the dessert ‘Jo Mah Oop’ which you have to inquire further form local Phutai as to what it is? The meal will be more meaningful once you fully participated in cooking in the kitchen. 14

จกั สาน...สานสืบ ชาวภูไทบ้านนาโสกกนิ ข้าวเหนยี วเป็นหลกั ฉะนั้นทกุ เชา้ ทุกเย็น จงึ ยงั น่ึงข้าวเหนียวนง่ึ ผักดว้ ยหวดด้วยมวยทสี่ านด้วยไมไ้ ผก่ ันอยเู่ สมอ นึ่งเสรจ็ ก็เอาใส่กระตบิ๊ ข้าวเหนียววางไว้ข้างสำ�รบั อาหาร เข้าปา่ ไปนาไปสวนก็ห้วิ ตดิ ไหล่ ไปดว้ ย เครอ่ื งใช้ไมส้ อยเหล่าน้จี งึ ยังมใี ห้เห็นกนั อย่ทู กุ ครวั เรือน ปจั จุบนั มคี ณุ ลุงคุณตา บางทา่ นยังสานมวย สานหวด สานกระต๊ิบขา้ วรูปทรงต่าง ๆ ไว้ขายให้คนในหมบู่ ้านไว้ใช้อยู่ หากนักทอ่ งเท่ียวสนใจเรยี นรู้ กใ็ หค้ ณุ ลงุ สอนทำ�กไ็ ด้ หรือสนใจจะซือ้ ที่คุณลุงสานเสรจ็ แลว้ เอากลบั ไปประยุกต์ใชท้ ่ีบ้านกถ็ ือว่าไดส้ นบั สนุนผ้สู ูงวยั ใหม้ ชี วี ติ ชีวา ได้พดู คยุ กบั นกั ทอ่ งเท่ยี ว ได้นำ�เสนอทกั ษะงานฝมี ือของตัวเองทที่ กุ วันนี้หาคนทำ�ได้น้อยมาก ๆ แลว้ Wicker…weaving the tradition : Phutai at Na Sok have sticky rice as their main crops. Therefore the picture of farmers cooking their sticky rice with rice cooker made of bamboo is taken place every morning. Then the farmer put their cooked sticky rice in the bamboo container and carry it everywhere they go either to rice field, to forest. This utensil can be seen in every household. Currently the elderly grandpas in the village may be still find their free time weaving this container for sales. With their creativity, they design many different forms of containers. Tourists can also approach our elderly artisans to teach or learn how to weave, also can buy the finished products to use at home. As this is a dying thread, this shopping or simply showing an interest in the products is considered supporting the artisan and preserving the cultural heritage indirectly. Only a few older generations still have time to do this. การทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนตำ�บลนาโสก มกุ ดาหาร 15

ท่วงท�ำ นองของกลองกิ่ง “ถ้าหากวา่ ไดย้ นิ เสยี งกลองกิง่ ดงั รวั ขนึ้ เม่ือใด แสดงวา่ มงี านรน่ื เริงหรอื งานบุญงานมงคลเกดิ ขนึ้ ” กลองกง่ิ เปน็ กลองในวฒั นธรรมภไู ททีท่ ำ�ขนึ้ จากไม้ยาวท่อนเดยี วเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางราว 30 ซ.ม. ยาวประมาณ 1 ม. เจาะเป็นโพรงยาวตลอดทอ่ นไม้ ขึงหนงั ปิดปากกลองทง้ั ดา้ นกว้างและดา้ นแคบ มกี ารเจาะรไู ว้ด้านข้างกลอง เพือ่ ให้กลองได้กนิ น้ำ�ก่อนนำ�มาตี กลองจงึ จะใหเ้ สียงทก่ี ้องกังวาน ไพเราะ -- การแหก่ ลองก่งิ เคยหายไปจากชมุ ชนบา้ นนาโสกมาเกือบ 50 ปี จนราวปี 2549 มีการรื้อฟืน้ การผลติ และแหก่ ลองกงิ่ ขนึ้ มาอีกครั้งโดยกลุ่มผู้อาวโุ สของชุมชน และมแี นวคิดวา่ จะถา่ ยทอดศลิ ปะการตกี ลองหรอื การเสง็ กลองกง่ิ ให้กับเยาวชนรนุ่ หลังเพอ่ื ให้สืบทอดประเพณี ของชาวภไู ทนาโสก รวมถงึ นำ�เสนอวถิ ีแห่งกลองกิง่ นีใ้ หน้ ักท่องเทย่ี วไดเ้ รียนร้อู กี ด้วย The rhythm of the King drum : “If you hear the sound of the drum repetitively, the entertainment of ‘Boon’ or auspicious ceremony is there”. King drum is a ceremonial drum in Phutai Culture made of one big log, 30 cm in diameter and 1 meter in length. Use the chisel and mallet to hollow the log out, cover with cow hide on both sides. Make a small hole on the side of the drum so that water can be filled before the performance. This will make drum sounds more resonant. King drum parade disappeared from Na Sok community for nearly fifty years and was reintroduced again in 2006. The King Drum ceremony has been restored by the senior members of the community with the goal to revitalize the art of Phutai King drum to younger generations and to preserve this heritage as well as to present to outsiders. 16

เรงิ ระบำ�ร�ำ ฟ้อน ชาวภไู ทเป็นอกี หนง่ึ กล่มุ ทมี่ คี วามโดดเด่นในเรือ่ งของการแสดงฟอ้ นรำ� ท่มี ีชื่อเสยี งมากกค็ อื “ฟอ้ นภูไท” ทบ่ี า้ นนาโสกกม็ ีคณะสาวภไู ทเป็นกลุ่มการแสดงฟอ้ นรำ�ของชุมชนคอยเปน็ ตวั แทน ออกไปเผยแพรว่ ัฒนธรรม รวมถึงให้ความบันเทงิ กบั คนในชุมชนเมื่อมีงานร่นื เรงิ หรอื งานมงคล ตา่ ง ๆ หากนกั ทอ่ งเที่ยวมาพักคา้ งแรมในชมุ ชน จะมีโอกาสไดส้ มั ผัสพาแลงดนิ เนอรแ์ บบภูไท มีบายศรสี ขู่ วัญ ไดร้ ่วมสนกุ สนานไปกับการแสดงฟ้อนรำ�ผไู้ ท การเสง็ กลองก่งิ ที่ทัง้ โดยคณะ ผ้อู าวุโส กลุม่ สตรี และเยาวชนจากโรงเรยี นชุมชนนาโสก รว่ มกันนำ�เสนอวัฒนธรรมอนั แสน งดงามของชาวภูไทให้นกั ทอ่ งเท่ียวไดป้ ระทบั ใจ The dance of Na Sok : Phutai is also known for their dancing skill. Fon Phutai or Phutai Dance is highly praised as one of the most beautiful performances. A group of dancers from Na Sok usually performs and presents their cultural heritage either at any cultural show or inside their community for outsiders. As part of the tourism promotion, Na Sok tourism committee also put up this cultural show for tourists. The show comes with dinner, Bai-See ceremony, drum show, etc. Tourists are invited to learn Phutai dance. The dancers consist of group from senior members, women’s group, and youth group in Na Sok who are proud to present their cultural heritage. การท่องเท่ยี วโดยชมุ ชนตำ�บลนาโสก มุกดาหาร 17

กิจกรรมน่าสนใจ ในแต่ฤดูกาล เดอื น ประเพณ ี กจิ กรรมการเกษตร/วิถชี ีวิต 01 บุญกองข้าว เก็บฝ้าย ตัดอ้อย กรีดยาง 02 บุญไขประตเู ลา้ ทอผา้ ไข่มดแดง เกบ็ ผกั หวาน 03 บุญผะเหวด ทอผา้ ขุดกุด๊ จ่ี ขดุ หอย ขุดปู ขุดกบเขยี ด 04 บญุ สงกรานต ์ ขุดกบเขยี ด สบู ปลา ชอ้ นกุ้ง ดอกกระเจียว ทอผา้ 05 บญุ บั้งไฟ ไถฮุด (ไถดะ เตรียมนา) หาเห็ด หาหน่อไม้ ทอผ้า 06 บญุ เล้ยี งปู่ตา ปลกู ฝ้าย ตกกล้า หาหน่อไม้ 07 บญุ เขา้ พรรษา ถอนกล้า ดำ�นา หาหน่อไม้ กรดี ยาง 08 บุญขา้ วประดบั ดิน ดำ�นา ใส่เบ็ด ส่องกบเขียด 09 บุญข้าวสาก เกย่ี วขา้ วดอ (ขา้ วเบา) เก็บแมงมนั ขดุ มนั อ้อน 10 บุญออกพรรษา เก่ยี วขา้ ว ฟาดขา้ ว เสง็ กลองกิ่ง กนิ ข้าวเม่า เกบ็ ฝา้ ย 11 บุญกฐนิ เก่ียวข้าว มัดขา้ ว ฟาดข้าว เกบ็ ฝา้ ย 12 บญุ เขา้ กรรม เกบ็ ฝา้ ย ตดั ออ้ ย กรดี ยาง Interesting activities of each season Month Traditional Ceremony Activities 01 Boon Kong Khao Picking cotton, tapping rubber 02 Boon Kai Pratu Lao Fabric weaving, collecting ant eggs, (Opening Gate) picking pak-wan 03 Boon Pha Wet Weaving, collecting dung beetle, shell, crab, frog 04 Songkran Festival Frog, shrimp, fishing, siam tulip flower, weaving 05 Rocket Festival 1st ploughing, mushroom, bamboo shoot, weaving 06 Ancestral Worshipping Cotton growing, seedling, bamboo shoot 07 Entering Buddhist Lent Planting rice, bamboo, rubber tapping 08 Boon Kao Pradap Din Planting rice, fishing, frog 09 Boon Kao Sak Harvesting of 1st yielded crops, subterranean ants 10 End of Buddhist Lent Rice harvesting, milling, drum, young rice snack (Kao Mao), cotton picking 11 Kathina Ceremony Rice harvesting, rice folding, milling, cotton picking 12 Boon Kao Kam Cottong Picking, sugarcane, rubber tapping 18

โปรแกรมทอ่ งเทยี่ ว Tourism Program โปรแกรม เพลินวิถภี ไู ท งามฝา้ ยตะหลงุ Enchanted by Phutai way of life, เรยี นร้เู กษตรอินทรยี ตามวิถีชาวนาโสก delighted by Ta Lung cotton, วนั ที่ 1 led by the organic agriculture, 09.00 ตอ้ นรบั สชู่ ุมชนภูไทนาโสก here at Na Sok Muddaharn Pronvince 09.30 เรยี นรวู้ ถิ เี กษตรอนิ ทรีย์ Date 1 12.00 รบั ประทานอาหารเท่ียง 09.00 Welcome to Phutai Na Sok village 13.00 เรยี นรวู้ ถิ ีฝ้ายตะหลงุ บา้ นนาโสก 09.30 Organic agriculture – orientation จากดอกฝ้ายสูผ่ นื ผา้ 12.00 Lunch เรยี นรเู้ ร่ืองงานจกั สาน 13.00 Talung cotton of Na Sok เรยี นรู้วถิ กี ลองก่งิ from cotton to fabric, then we 17.00 เข้าบ้านพัก พักผอ่ นตามอธั ยาศัย go to weaving issue and drum 18.00 บายศรีสู่ขวญั รบั ประทานอาหารเย็น 17.00 Check-in at homestay, ชมและร่วมกิจกรรมการแสดงพ้ืนบ้าน at leisure time 20.30 พกั ผ่อนนอนโฮมสเตย์ 18.00 Bai-see ceremony (traditional welcoming ceremony), dinner, วันที่ 2 cultural performances 07.00 กิจกรรมใส่ชดุ ผไู้ ทใสบ่ าตรตอนเช้า 20.30 End of today activity & Rest เดินชมหมบู่ า้ นยามเช้า 08.00 รับประทานอาหารเช้า Date 2 09.00 เทีย่ วชมธรรมชาตภิ หู นิ สิ่ว 07.00 Alms offering (participants 11.00 เรียนรู้การทำ�อาหารภูไท dressed in Phutai tradition), 12.00 รบั ประทานอาหารกลางวัน village visit จบั จา่ ยของทร่ี ะลกึ 08.00 Breakfast 13.00 เดนิ ทางกลบั โดยสวสั ดิภาพ 09.00 Hike up to Phu Hin Siew 11.00 Cooking Phutai cuisine (hands on experience) 12.00 Lunch & shopping local souvenirs 13.00 Depart the village end of the trip (โปรแกรมอาจเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม) (Program is subject to change) การท่องเท่ียวโดยชมุ ชนตำ�บลนาโสก มกุ ดาหาร 19

NแaผSนoทk่ีทTอ่ouงเrทism่ยี วMชมุapชนนาโสก ศูนยเ์ รียนร้กู ารเพมิ่ ประสิทธภิ าพการผลติ สCALeนิ egaคnrir้าtcnเeuกirnlษtgu(ตArรaL(Clศ)พก.) tไoป AศLพCก. เKรinยี นgรdู้วถิ ruกี mลองกงิ่ จPุดhuเรียTนaรi ูว้ Tิถeผี x้าtiภleูไทstation Wจุดiเcรkยี eนrwรู้งoาrนkจกั stสaาtนion 20

ถVนillนaสgาeยวcฒั uนltธuรraรมl street Vหลillกั aบgา้ eน totem pole tไoปภPหู hนิuสHิ่วin Siew Pภhหู uนิ สHิว่ in Siew Wวดั aโพt ธPศิ์ hรoีแกS้วri Keaw การทอ่ งเทีย่ วโดยชุมชนตำ�บลนาโสก มกุ ดาหาร 21

ของฝาก...จากนาโสก กอ่ นโบกมืออำ�ลาจากนาโสก หาของฝากติดไมต้ ิดมือไปฝากคนรักคนคดิ ถึงทีร่ ออยู่ ทบ่ี ้านหรอื ที่ทำ�งานกันสักหน่อยนะ ของเด็ดของดงั กค็ ือผลิตภณั ฑ์ผ้าทอจากกลุ่มวิสาหกจิ ชุมชนกลุ่มรวมใจทอผ้าฝา้ ยตะหลุง ไมว่ า่ จะเป็นผา้ ซน่ิ มดั หมย่ี อ้ มคราม เสือ้ ภไู ท ผ้าสไบ ผ้าคาดเอว ผ้าพันคอ ผ้าหม่ ผ้าคลุมไหล่ ฯลฯ ไม่ควรพลาดจะหาผา้ สตี ะหลุง สำ�หรบั ใครที่รกั งานจกั สาน กย็ ังมกี ระตบ๊ิ ข้าวเหนยี วแบบตา่ ง ๆ อีกทัง้ มวยสำ�หรบั น่งึ ข้าวเหนียว ท่ีมีรปู ทรงสวยงามนำ�ไปประยุกต์ใชไ้ ด้อย่างหลากหลาย เม่ือได้มวย ไดห้ วด ไดก้ ระต๊บิ กลบั ไปแล้ว อย่าลืมซอื้ ข้าวจากกล่มุ เกษตรกรเครือขา่ ยเกษตรอนิ ทรีย์ของศนู ย์เรียนรู้ การเพ่ิมประสิทธภิ าพการผลติ สินคา้ เกษตร (ศพก) กลับไปหงุ ไปน่งึ กนิ ให้อิ่มอรอ่ ยดว้ ยนะ “ไดอ้ ดุ หนุนคนทอ้ งถิน่ แถมยงั ได้ของดขี องงามไปใชไ้ ด้อกี ด้วย” 22

Souvenirs from Na Sok Before bidding farewell to Na Sok, tourists are encouraged to shop the local souvenirs for their loved ones. The products locally made by the community enterprise are fabric made of cotton, indigo Mudmee sarong, Phutai shirts, sash, belt, scarf, blanket, shoulder scarf, etc. these items should not be missed. As for those who love bamboo or rattan weaving, bamboo container or rice cooker made of bamboo in many different styles. Organic rice from Agricultural Learning Center (ALC) cannot be missed as well. “This purchase is not only to enjoy organic rice but also to support the local business.” การทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชนตำ�บลนาโสก มกุ ดาหาร 23

แหลง่ ทอ่ งเทีย่ วใกล้เคียง Nearby tourism attractions วัดภมู โนรมย์ หรือ วดั รอยพระพทุ ธบาทภมู โนรมย์ อยู่ห่างจากตัวเมืองมกุ ดาหารประมาณ 5 กม. ภายใน บรเิ วณวดั มรี อยพระพทุ ธบาทจำ�ลอง สรา้ งขนึ้ จากหนิ ทราย กว้าง 80 ซ.ม. ยาว 1.8 ม. มอี งคพ์ ระพุทธรปู เฉลมิ พระเกยี รติ “พระเจา้ ใหญแ่ ก้วมุกดาศรไี ตรรัตน”์ ขนาดหน้าตัก 39.99 ม. สงู 59.99 ม. นอกจากนี้ยงั มีจดุ ชมววิ แม่นำ้ �โขงท่สี วยงาม และแลนดม์ ารค์ “องค์พญาศรมี ุกดา มหามนุ ีนลี ปาลนาคราช” Wat Phu Manorom or the Temple of Buddha Footprint at Phu Manorom – located 5 km from Mukdahan city center. The temple houses a replica of Buddha footprint made of sandstone. The size is 80 cm in width and 1.8 meter in length. In the same compound, visitors can also worship the “Pra Chao Yai Kaew Mukdha Sri Trairat”. Built to honor the King, the big Buddha of 39.99 meters wide and 59.99 meters high. In addition, visitors can also enjoy spectacular viewpoint of Mekong river and the landmark of giant mythical snake called “Ong Phaya Sri Mukdha Mahamunee Nilapala Nakraja” วดั มโนภริ มย์ ตง้ั อยทู่ ่ี ต.ชะโนด อ.หวา้ นใหญ่ จ. มุกดาหาร เปน็ วัดเก่าแก่ ริมแม่น้ำ�โขง ท่มี อี ายกุ วา่ 300 ปี สรา้ งขนึ้ ราว ปี 2230 สมยั อยุธยา ตอนปลาย ความโดดเด่นคือวหิ ารเก่า ที่เปน็ ศิลปะลาวเวียงจันทน์ (ลา้ นช้าง) ผสมผสานศลิ ปกรรมทอ้ งถิ่นอยา่ งงดงาม โดยได้รบั ประกาศข้นึ ทะเบยี นโบราณสถาน จากกรมศิลปากร ใกล้ ๆ กันตดิ กบั หาดมโนภิรมย์ หรือหาดชะโนด เป็นสถานที่ พกั ผ่อนหยอ่ นใจของชาวมุกดาหาร Wat Manopirom : Located in Tambon Kamchanot, Ampoe Wanyai, Mukdahan Province. The temple dates back to over 300 years, found in late 17th century (1687 AD) of Ayuthaya period. The unique attraction includes the Wihara - hall made in Lao style (Lanxang civilization) well blended with local school of arts. The hall has been registered by the Fine Arts Department of Thailand. Other attractions include Manopirom beach or Chanot beach – recreational area of the local Mukdahan. 24

สกั การสถานพระมารดาแหง่ มรณสักขี วดั สองคอน ตง้ั อยทู่ บี่ ้านสองคอน ต.ป่งขาม อ.หวา้ นใหญ่ จ.มุกดาหารเป็นโบสถค์ รสิ ตน์ ิกายโรมนั คาทอลิก สร้างแบบสถาปัตยกรรมสมยั ใหม่ทม่ี ีความสวยงามและใหญ่ทสี่ ดุ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ สร้างข้ึน เพ่อื รำ�ลกึ ถงึ นกั บุญราศที ง้ั เจด็ ทอี่ ทุ ิศชีวติ ในป่าศักดิ์สิทธเิ์ พ่ือพสิ ูจน์ศรัทธาท่มี ตี อ่ พระเจ้า เมอ่ื ครง้ั เกดิ กรณพี พิ าทระหวา่ งไทยกับฝรง่ั เศสในช่วงสงครามโลกคร้ังที่ 2 The Martyrs of Songkhon Located in Ban Songkhon, Tambon Pongkham, Ampoe Wanyai, Mukdahan Province. With a new modern design and is considered the largest in Southeast Asia, the church was found to commemorate the seven saints who dedicated their lives in the holy forest to challenge their faith in God during the conflict between France and Siam in 2nd World War. สะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งท่ี 2 เปน็ สะพานขา้ มแมน่ ้ำ�โขง เช่อื มตอ่ จังหวดั มุกดาหารของประเทศไทย เข้ากับแขวงสะหวันนะเขต ของประเทศลาว ซึ่งมคี วามยาวทง้ั หมด 1,600 ม. บรรยากาศยามเย็นรมิ ฝงั่ แมน่ ำ้ �โขง เหมาะสำ�หรับ การน่งั พักผ่อนหยอ่ นใจ The 2nd Thai-Lao Friendship Bridge : 1600 meters of its full length over the Mekong river from Mukdahan of Thailand to Suwannakhet State of Lao PDR creating an excellent view for watching sunset, or jogging or simply sitting by the bridge. การทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนตำ�บลนาโสก มุกดาหาร 25

การเดนิ ทาง การเดนิ ทางสจู่ งั หวัดมกุ ดาหาร รถยนต์ : จากกรุงเทพฯ ใช้เสน้ ทางกรงุ เทพฯ-นครราชสีมา-บา้ นไผ่-มหาสารคาม-รอ้ ยเอ็ด-โพนทอง- คำ�ชะอี-มุกดาหาร (642 ก.ม.) รถโดยสารประจำ�ทาง : บริษัทขนสง่ จำ�กดั มบี รกิ ารเดินรถทกุ วันจากสถานขี นส่งสายตะวันออกเฉียง เหนือ ถนนกำ�แพงเพชร 2 สู่จงั หวัดมกุ ดาหาร กำ�หนดเวลาและรายละเอยี ดสอบถามไดท้ ี่ สถานขี นส่ง จงั หวดั มุกดาหาร โทร. (042) 611421, 611478, 613025-9 (https://ticket.transport.co.th) นอกจากนี้ยังมีรถโดยสารของบริษัทนครชัยแอร์จำ�กัด บรษิ ัทสมบัติทวั ร์ ฯลฯ รถไฟ : มรี ถดว่ น รถเรว็ และรถดว่ นพเิ ศษสปรนิ เตอร์ กรงุ เทพฯ-อบุ ลราชธานี ทุกวัน จากน้นั ตอ่ รถโดยสารไปยงั จ.มุกดาหาร รายละเอียดเพ่ิมเตมิ สอบถามได้ที่หนว่ ยบรกิ ารเดินทางการรถไฟแห่ง ประเทศไทย เครือ่ งบนิ : ยังไม่มีบรกิ ารเทีย่ วบินไปจงั หวัดมุกดาหารโดยตรง มเี ฉพาะจังหวดั ใกลเ้ คยี ง เช่น อุบลราชธานี อุดรธานี นครพนม ขอนแกน่ สกลนคร จากน้นั ต่อรถโดยสารไปยัง จ.มุกดาหาร การเดนิ ทางจากตวั เมืองมกุ ดาหาร สู่ชุมชนนาโสก อ.เมอื ง จ.มกุ ดาหาร จากตัวเมอื งมกุ ดาหาร ใช้ทางหลวงแผ่นดนิ หมายเลข 12 (สมเดจ็ -มกุ ดาหาร) ประมาณ 20 กม. เมื่อ ถึงแยก หนองแวง-นาโสก เลยี้ วซา้ ย ตรงไปอีกประมาณ 10 กม. หรือระบุพกิ ดั GPS ไปที่ ศนู ยเ์ รียน รกู้ ารเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการผลิตสินคา้ เกษตร (ศพก.) (16.519558, 104.515006) หรอื กลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชนกลุม่ รวมใจทอผ้าฝ้ายตะหลงุ (16.509422, 104.516909) How to get there? Traveling to Mukdhaharn Province : By car : from Bangkok (via Bangkok - Nakhon Ratchasima - Ban Pai - Maha Sarakam – Roi Et – Phon Tong – Kamchaee – Mukdahan, total 642 km) By public bus : Public bus has its daily departure from Mo Chit Bus Station, Kampaeng Phet 2 Road to Mukdahan. Further information can be inquired at Mukdahan Bus Station. Tel. (042) 611421, 611478, 613025-9 (https://ticket.transport.co.th) Bus from Nakhon Chai Air, Sombat Tour, etc. also has daily schedule for Mukdahan Province. (Please see further information from the private companies) Train : Express train, Rapid train and Sprinter from Bangkok – Ubon Ratchathani. Then bus to Mukdahan Province. Further information can be inquired from railway station. (tel.1690; 02224-4272; or www.railway.co.th) By Plane : Not in service at the moment. Visitor can fly to other nearby destinations such as Ubon Ratchathani, UDon Thani, Nakhon Phanom, Khon kaen and Sakon Nakhon and then take public bus to Mukdahan. Na Sok village is on Highway No 12 (Somdet-Mukdahan). Please search location on GPS to 16.519558, 104.515006 – Agricultural Learning Center (ALC) ; or 16.509422, 104.516909 - Na Sok Talung Weaving Community Enterprise. 26

วัดสองคอน อ.ดงหลวง อ.หว้านใหญ่ อ.ค�ำ ชะอี วดั มโนภริ มย์ อ.หนองสงู อ.เมือง สะพานมติ รภาพฯ แห่งที่ 2 มุกดาหาร อ.นคิ มค�ำ สรอ้ ย วดั ภูมโนรมย์ บา้ นนาโสก อ.ดอนตาล ต(G.นPาSโส: ก16อ..5เม09อื 4ง2อ2ย,1ทู่ 0่ีน4่ีค.5ะ่ 16909) สถานขี นสง่ ผูโ้ ดยสาร จงั หวัดมุกดาหาร การทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนตำ�บลนาโสก มกุ ดาหาร 27

บริการจากชมุ ชน Service from Community : กลุ่มท่องเทยี่ วโดยชุมชนบา้ นนาโสก Community Based Tourism at Na Sok ยนิ ดีต้อนรบั นกั ทอ่ งเท่ยี วทุกท่าน warmly welcomes tourists with a range เรามีบรกิ ารให้ท่านทม่ี าเยอื น ดงั นี้ of activities; • ผู้นำ�เท่ียวทอ้ งถิน่ • local guides • บา้ นพกั โฮมสเตย์ • homestay • อาหาร • local food • กิจกรรมท่องเท่ียว/ฐานเรียนรู้ • various learning stations • การแสดง • cultural performances • ของฝากของท่ีระลึก • souvenirs Preparation เตรยี มตวั กอ่ นเดนิ ทาง Tourist is recommended to • Contact the community a week ติดต่อชุมชนลว่ งหน้า อยา่ งนอ้ ย 1 อาทิตย์ in advance เสอ้ื แขนยาว หมวกกันแดด • Long sleeve shirts, hat, good learn รองเท้าผ้าใบ หรือเหมาะสำ�หรบั เดนิ ป่า walking canvas shoes ผา้ ขนหนู อุปกรณ์อาบน้ำ� ยาประจำ�ตัว • (trekking also in the forest) เปิดใจ เปดิ ประสบการณ์ ลงมือเรียนรู้วิถที อ้ งถ่ิน • Towels, Personal shower kits, และปฏบิ ตั ิตามกฎระเบียบของชุมชน Personal medicine Open your heart and ready to • Observe the community’s rule การตดิ ตอ่ and regulations สนใจทอ่ งเท่ยี วเรียนร้วู ิถภี ไู ทนาโสก ตดิ ตอ่ Contact • อดุ ม นาโสก โทร. 089 569 2896 • ละมลุ กงิ่ โรชา โทร. 087 829 6922 Na Sok Tourism Group • มฑุ ิตา นาโสก โทร. 092 982 5371 • Udom Nasok Tel. 089 569 2896 • Lamoon Kingrocha Tel. 087 829 6922 • Mutita Nasok Tel. 092 982 5371 Facebook : การทอ่ งเท่ยี วโดยชุมชนตำ�บลนาโสก มุกดาหาร Facebook : www.facebook.com/nasoktourism 28

ขอบคุณ 1. งบประมาณตามแผนงานบรู ณาการพฒั นาพ้ืนที่ระดบั ภาค โครงการยกระดับการท่องเทยี่ วเชิงประเพณี วัฒนธรรม กจิ กรรมการพฒั นาระบบเศรษฐกิจฐานรากด้วยระบบการท่องเท่ยี ววิถีชาวนาไทยผสานวฒั นธรรม ชมุ ชนในเขตพ้นื ทีภ่ าคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 2. สถาบันวจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร 3. สำ�นกั งานท่องเที่ยวและกฬี า จงั หวัดมกุ ดาหาร 4. สำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม (สกสว.) 5. สมาคมไทยท่องเที่ยวอย่างรับผดิ ชอบ 6. DoiSter / PaKim Note Book / Localism Thailand Contributions 1. Regional Integrative Planning Budget – the project promoting cultural tourism to support grassroots economy and Thai farmers in northeast Thailand. 2. Research and Development Institute, Sakon Nakhon Rajabhat University 3. Mukdahan Provincial office of Tourism and Sport 4. Thailand Science Research and Innovation (TSRI) 5. Thai Responsible Tourism Association (TRTA) 6. DoiSter / PaKim Note Book / Localism Thailand ลิขสิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร | Copyright © 2019 Sakon Nakhon Rajabhat University การทอ่ งเท่ยี วโดยชุมชนตำ�บลนาโสก มกุ ดาหาร 13

การเดินทาง สร้างมติ รภาพ “รู้จักกนั ไว้ แล้วไปด้วยกัน” Traveling bring friendship “Knowing each other, walk together”